วันศุกร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2567

Middle East and Imperialism

            หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 อาณาจักรออตโตมันล่มสลายจาการแพ้สงคราม ดินแดนต่าง๐ ถูกแบ่งออกโดยชาติมหาอำนาจ และปกครงในฐานะดิแดนภายใต้อาณัติ ซึ่งออตโตมันกินพื้นที่ทั้งทวีปแอฟริการและตะวันออกกลาง ในปี  1955 มีประชากกรกว่า 300 ล้านคน และที่นาสนใจคือความขัดแย้งระหว่างตะวันออกกลางและยุโรป มีมานากว่าศตวรรษ นับแต่สงครามครูเสด จนถึงการก่อตัวของอิสลาม ยุโรปได้เข้าไปข้องเกี่ยวอย่าต่อเนหื่อง โดยส่วนใหญ่ความสนใจของยุโรปต่อภฺูมิภาคนี้เป็นเรื่องยุทธศาสตร์ แต่หลังจารกการค้นพบน้ำมันดินแดนนี้ ตะวันออกกลางจึงกลายเป็นดินแดนที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นอยางมาก 

            กลังการพ่ายแพ้สงครามขงออตโตมัน ใจกลางของดินแดนกลายมาเป็นตุรกี ดินแดนอาหรับทีเคยถูกปกครองแบ่งออกเป็น 6 รัฐภายใต้การตกเป็นอาณานิคม 



            

                   เลบานอนและซีเรียตกอยู่ภายใต้การครอบครองของสหรัชอาณาจักรใน๘ระที่รัฐอาหรับสุองรัฐคือ ซาอุดิอาระเบีย เยเมนเหนือ และอกีสองประเทศที่มิใช่อาหรับคือ ตุรกีและอิหร่านได้รับเอกราช..(รูปภาพแลข้อมูลจาก : https://www.matichonweekly.com/column/article_1964)

             สงครามโลกครั้งที่ 1 คือเหตุการที่มีความสำคัญมากต่อดินแดนตะวันออกกลางเนื่องจากผลกระทบของสงครามนำไปสู่การก่อตั้งระบบรัฐสมัยใหม่ modren stase system ในภูมิภาคและเป็นรากฐราานของระบบการเมืองและความสัมพันธ์ระหวางประเทศในโลกอาหรับ หนึ่งในความสำคัญในการจัดตั้งรัฐสมัยใหม่ในตะวันออกกลาง คือ การจัดตั้งดินแดนำต้อาณัติ mandate state ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญที่จะทำให้เข้าใจระบบการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคมในรัฐตะวันออกกลางยุคต่อมา

              การปกครองของฝรั่งเศสในซีเรียและเลบานอน ผรังเศสพบกัยคามเป็นศัตรูอยางรุนแรงจากชาวซีเรียมุสลิม ฝรั่งเศสตระหนักดีว่าไม่สามารถจะได้รับควาามเป็นมิตรจากประชาชน ฝรั่งเศสจึงหันความสนใจไปสู่เลบานอน พยายามสร้ัางครามเป็นมิตรกับประชาชนเลบานอน เพื่อความมั่นคงของฝรั่งเศสในตะวันออกกลางฝรั่งเศสประการแผนการณ์ขยายเลบานอนให้กว้างใหญ่กว่าขึ้น คือแปน เกรทเตอร์ เลยานอน เป็นการรวมดินแดนส่วนหนึ่งองซีเรียภาคมต้เจ้าำว้ในเลยบานอน อย่างไรก็ตาม แม้แผนการณ์ดังกลาวจะทำให้ชาวเลบานอนบางกลุ่มพอใจฝรั่งเศสมากกว่าเดิม แต่แผนดังกลาวก็ทำให้เกิดการแบ่งแยกระหว่างกลุ่มทางศาสนาในเลบานอนเอง และระหว่างคริสเตียนเลบานอนกับซีเรียมุสลิมมากย่ิง้ั้น การแบ่งแยกที่เกิดขึ้นเป้นสาเหตุทำให้เกิดสงครามกลางเมืองเลบานอนใน ปี 1958 กระทั่งปัจจุบันการแบ่งแยกดังกล่าวยังคงเป็นสาเหตุแห่งความปวดร้าวของประชาชน แม้แผนจะประสบผลสำเร็จ แต่ไม่เป็นที่น่าพอใจ เพราะการรวมดินแดนที่ใหญ่กว่าเข้ามาั้นประชาชซึ่งเป็นชาวมุสลิมจำนวนมาก ทำให้ชวเลบานอนแท้ๆ ซึ่งเป็นรัฐคริสเตียนตกอยุ่ในฐานะที่ไม่ปลอดภัยนัก

            ซีเรีย ก็ถูกแบ่งเป็นส่วนๆด้วยเช่นกัน  ซึ่งจากการปกครองและควาามพยายามในการแบ่งตลอดจน


การควบคุมท้องถ่ิน ฝรั่งเศสต้องสิ้นปลืองค่าใช่้จ่ายเป้นจำนวนมาก ภายในเวลา 1 ปี ฝรั่งเศสจึงรวมดินแดนทั้งสามแห่งเหล่านี้เป็นสหพันธรัฐอยางไรก็ตามฝรั่งเศสก็พบกับการข่มขู่ที่รุนแรงจากประชาชนเกือบตลอเวลาในปี 1920 ดามัสกัสถูกบุกรุก และถูกวางระเบิด ใน ปี 1925,1926,และ 1945 จนกระทั่งฝรั่งเศสออกกฎอัยการศึกเกือบตลอดเวลา ตั้งแต่เร่ิมต้นการปคกรองจนกระทั่งใกล้ๆ จะสิ้นสุดระบบอาณัติ นดยบายเกี่ยวกับการแบ่งระหว่างกลุ่มศาสนาและระหว่างท้องถ่ินไม่มีการกำหนดอยาแนนอนและจริงจังความำม่พอใจในกลุ่มศาสนาแต่ละกลุ่มจึงเกิดขึ้น

            การปกครองของอังกฤษในอิรัก  ข้าราชการชาวอังกฤษ เซอร์ อาร์โนลด์ วิลสัน เป็นบุคคลมีความ
สามารถ มีการศึกษาดิี ได้เขียนบันทึกความทรงจำสองฉบับ เกี่ยวดกับปีแห่งความยากลำบากในอิรัก วิลสันมีอำนาจเหนือดินแดนบริเวณอ่าวเปอร์เซีย เขามีจุดมุ่งหมายแบ่งประเทศออกไปตามกลุ่มชนต่างๆ คือ กลุ่มแรกได้แก่ พวกเบดูอินและเคิร์ดส พวกแรกนี้เป็นพวกเร่ร่อนที่ค่อนข้ามมีศีลธรรมสูง กลุ่มที่สอง ได้แก่ พวกชาวนาซึ่งน่าสงสาร และสิ้นกวังเนื่องจากไม่ได้รับความช่วยเหลือ กลุ่มที่สามได้แก่ ชาวเมืองซึ่งเป็นนักษรศาสตร์ ชอบความหรุหราฟุ่มเฟือย เป็นพวกหลอกลวงและเป็นอันตราย วิลสันเห็นว่าถ้าปล่อยพวกชาวเมืองบริหารงานรัฐบาล พวกนี้จะปล้นความเป้นผุ้ดีของพวกเบดูอินไป ดังนั้นในความคิดของวิลสันพวกที่เหาะสมเข้าร่วมรัฐบาลควรเป้นชาวชนบทหรือเบดุอินมากกว่าชาวเมือง

            อังกฤษขาดกำลังสำหรับเสริมสร้างกองทหารในอิรักที่จะใช้ในการต่อสู้กับพวกเติร์ก องกฤษจึงพยายามสร้าางความเป้นระเบียบภายในอิรักด้วยการเลื่อนฐานนะของเชคหรือหวหนาเผ่า ให้อยู่ในสถานะ่สูงส่ง เพื่อว่าหัวหน้าเผ่าหล่านี้นจะมีความรับผิดชอบโดยตรงต่อรัฐบาล และตั้งข้าราชากรการเมืองตลอดทั่วเประทศให้มีหน้าที่ตรวจตราดุแลการทำงานของ "เชค" และลุกเผ่าด้วย ข้าราชการเหล่านใช้อำนาจในทางไม่ถูกับหัวหน้าเผ่า และตบตารัฐบาลกลางซึ่งจะทำให้พวกเขารักาาอำนาจไว้ได้นาน

             คำประกาศของอังกฤษในตอนสิ้นสงครามทำให้อิรักเป้นดินแกดนในอากณัติสร้างคามไมพอใจในหมู่ประชาชนอย่างกว้างขวาง ขณะเดียวกันความรุ้สกของประชาชนยังพอใจออตโตมันอยู่ และรัฐบาลซีเรียก็ได้ส่งนักชาตินิยมกลุ่มเล็กๆ  เขามาพยายามจะยูดโมซุลในอิรักในปี 1920 ปรพชาชนก่อความไม่สงบ เืพ่อต่อต้านรัฐบาลอังกฤษซึ่งมีสาเหตุจาการเก็บภาษีน้ำมัน ด้วยความไม่พอใจอยย่างแรงในเดือนมิถุนนายน 1920 จึงเกิดการจลาจลของชลเผ่าใหญ่ชาวอิรักซึ่งแผ่กระจายไปทั่วอิรักภาคใต้ ทางรถไฟถูกตัดขาด รถไฟตกราง กองกำลังของอังกฤษไม่สามารถระงับเหตุได้ มีชาวอังกฤษสุญหายกว่าพันหกร้อยคน อังกฤษต้องใช้จายเงินกว่า 40 ล้านปอนด์ ในการยุติจลาจล ภายหลังเหตุการจลาจล  เซอร์ อาร์โนลด์ วิลสัน ตกใจและกตะหนักว่า องกฤษไม่มีเงินมากพอที่ใช้จายในการปกครองออิรัก วิลสัน จึง ถอนตัวออกจากอิรักทันที

            ตุลาคม 1920 เซอร์ เพอร์ซี่ คอกซ์ เดินทางมาถึงอิรักพร้อมกับคณะกรรมพลเรือนชุดใหม่ และประการการจัดตั้งรัฐบาลชั่วคราวภายใตคณะรัฐมนตรีชาวอาหรับและที่ปรคกษาชาวอังกฤษ ขณะเดียวกันอังกฤษก้จะเป็นหัวหน้ารัฐบาลในฐานะที่อังกฤษเป็นประธานชี่วคราวของสภาบริหาร จจึงได้คัดเลือกผุ้นำทางศสนาที่มีอาวุโส และเป็นที่เคารพของประชาชนทั่วไปให้เป็นรัฐมนตรีจัดตั้งเป็นคณะรัฐาลปกครองประเทศ 

             อย่างไรก็ตาม อังกฤษตระหนักถึงความจำเป็นในการลดค่าใช้จ่ายและตระหนักดีว่ากการปกครองในระบอบอาณัติในอิรักนั้นไม่เป็นที่นิยม ดังนั้น เซอร์ซิลล์ จึงตัดสินใจทำสัญญากับอิรัก(เหมือนสัญญาที่อังกฤษทำกับอียิปต์) นั้นคือ แผนการยุติระบอบอาณัติซึ่งจะให้เอกราชแต่เพียงในนามแก่อิรัก ซึงวิธีนี้จะช่วยลดสงครามกลางเมืองและขจัดอันตรายที่เกิดจากความพม่พอใจของชาวอิรัก 

              อังกฤษปกครองอิรักในลักาณะากรปกครองทางอ้อม ขณที่ฝรั่งเสสช้นดยบายการปกครองทางตรง วิธีการปกครองของอังกฤษและฝรั่งเสสจึงแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดตลอดเวลาท ี่อังกฤษอยู่ในดอนแดนอาหรับตภาคตะวันออก อังกฤษพยายามแสวงหาวิธีที่จะทำให้ค่าใช้จ่ายในการปกครองลดน้อยลง พยายามใช้ความจำเป็นและใช้ให้คู่แข่งขันเป็นประโยชน์ต่ออังกฤษขณะที่ฝรั่งเสสใช้วิธีที่ "แพงกว่า" และมีเรืองขัดแย้งกับขบวนการชาตินิยมอาหรับฐานของฝรั่งเศสไม่เคยเข้มแข็งแลยในดินแดนอาหรับ ขณะที่อังกฤษประสบความสำเร็จอย่างน่าทึ่งแม้จะถูกต่อต้านก็ตาม อังกฤษสามารถลดจำนวนบุคลากชาวอังกฤษในรัฐบาลอิรัก กระทั่งปี 1927 อังกฤษสามารถควบคุมปรเทศด้วยข้าราชการพลเรือนจำนวนเล็กน้อยเท่านั้นและอังกฤษก็ไม่จำเป็นต้องใช้กองทัพอากาศที่ใหญ่โตเลย

                   ทรานจอร์แดน เป็นดินแดนอีกแห่งหนึ่งที่อังกฤษปกครองโดยปราศจากากรวชัดชวางอย่างรุแแรงจากประชาชนท้องถ่ิน เดิมที่เคยเป็นดินแดนหนึ่งของปาเลศไตน์ แต่อยู่ภายใต้รัฐบาลที่ปกครองแยกต่างหาก และกระทั่งปี 1923 ทรานส์จอร์แดนก็ถูกแยกออกจากปากเลสไตน์อย่างเป็นทางการ  อังกฤษประกาศว่า ทรานจอร์แดนไม่อยู่ภายใต้ประกาศบัลฟอร์ และชาวยิวไม่สิทธิที่จะซื้อที่ดินในทรานส์จอร์แดน ดังนั้นอังกฤษจึงได้รับการยกย่องจากประชาชนและไม่มีความรุนแรงเกิดขึ้น


                              แหล่งที่มา : http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-2.pdf

                                                 https://deepsouthwatch.org/th/node/11711

            

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

“rural resentment.”

         บางส่วนจากบทสัมภาษณ์  Jon K. Lauck  ศาสตราจารย์ด้านประวัติศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งมหา วิทยาลัยเซาท์ดาโกตา ซึ่งได้คิดค้นสาขาการศึกษาเก...