ทศวรรษ 1970 และเป็นส่วนหนึ่งของสงครามเย็น เป็นที่ยอมรับกันว่าโดยทัั่วไปว่าจุดเริ่มต้นของสงครามเย็นอาหรับเกิดขึ้นจากการปฏิวัติของอิยิปต์ในปี 1952 ซึ่งทำ กามาด อันเดล นัสนเซอร์ เป็นประธานาธิบดีของอียิป หลังจากนั้น สาธารณรัฐอาหรับ อาตกล่าวได้ว่าเป็นผลจากการปฏิวัติอีิยปต์และลัทธิชาตินิยม ซึ่งมีส่วนรวมในการแข่งขันทางการเมือง ระหว่างสถบันกษัตริยอาหรับอนุรักษ์นิยมแบบอนุรักษ์นิยม((แนวคิดเกี่ยวกับชาติวัฒนธรรมประเพณีอนุสัญญาและประเพณีไ้รัการเน้นย้ำอย่างมากในลัทธิอนุรักษ์นิยมแบบอนุรักษ์นิยม เหตุผลทางทฤษฎีถือได้ว่ามีความสำคัญรองจากหตุผลเชิงปฏิบัติ รัฐบังถูกมองว่าเป็นความพยายามทางสังคมที่มีลักาณะทาง จิต วิญญาณและอินทรีย์ นักอนุรักษนิยมคิดว่าการเลี่ยนแปลงใดๆ เกิดขึ้นเองตามะรรมชาติจากประเพณีของชุมชนมากกวาเป็นผลมาจากการไตร่ตรองอยบ่างรอคอบและมีเหตุผลความเป็นผู้นำ อำนาจและลำดับชั้น ถูกมองว่าเป็นเรื่องปกติสำหรับมนุษย์ เกิดขึ้นในยุโรปตลอดศตวรรษที่ 18) ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก ซาอุดิอราเบียและการปฏิวัติอิหร่ารนในปี 1979 และการขึ้นครองราชของ อยาดุลลอย รูฮฺฺลลอฮ์ โคไมนี ในฐานะปู้นำของอิหร่าน ถูกมองเป็นจุดส้ินสุดของความขัดแย้งภายใน ความตึงเครียดระหว่างอาหรัับ-อิหร่านยุคใหม่ตามมา บดบังความขมขื่นจากความขัดแย้งภายในอาหรัีบ
อิยิปต์กลายเป็นสาธารณรับ เมื่อปรากฎแน่ชัดว่าการปครองแบบมีกษัตริย์และรัฐสภาที่ล้มเลหวลงในอิยิปต์ สาเหตุจากสถานการณ์ยุื่งเหยิงมากจึง เปิดทางในแก่อกงทัพที่จะเข้ามาควบคุม ในวันที 23 กรกฆาคม 1952 พระเจ้าฟารุคถูกบังคับให้สละราชสมบัติและในปีต่อมาอียิปต์ก็ถูกปรกาศให้เป็นสาธารณรัฐ
กามาล อับเดล นัสเซอร์ เกิที่อเลกซานเดรีย ปี 1918 เข้ารับศึกษาในวิทยาลัยทหาร ปี 1943 ได้รับยศร้อยเอก เข้าร่วมในสงครามปาเสลไตน์กละได้รับบาดเจ็บ ปลายปี 1949 นัสเซร์และข้าราชการอีก 11 คน อังคงการลับชื่อ Free Office เป็นองค์การที่ทำรัฐประการในเดือนกรกฎาคม ปี 1952 ภายมต้การนำของนายพล เนกิบ
นัสเซอร์ มีความเกลียดชังลัทธิจักรวรรดินิยมและลัทธิฟิวดัลอย่างรุนแรง ใปนปี 1943 เขาได้ก่อตั้งองค์การลับซึ่งมีกองทัพหนุนหลังอยุ่ดโดยมีจุดมุ่งหมายในการยึดรัฐบาล เมือ่การปกครองในระบอบทหารเร่ิมต้นก็เร่งรีบปฏิรูปเศรษฐกิจและสังคม ผลจากการปฏิรูปที่ดินของรัฐบาลทหารทำให้อัตรการผลิตสูงขึ้น การผลิตทางเกษตรกรรมสูงขึ้น หกเปอร์เซ็นทุกๆ 4 ปี ซึ่งยังไม่เพียงพอต่อประทเศ นัสเซอร์พยายามฟื้นฟูงานด้านอุตสาหรรมในปี 1960 มีการวางแผนการผลิตหลักและเหล็กกล้า และสำเร็จใจปี 19568 นอกจากนั้นรัฐบาลยังสนับสนุนอุตสาหกรรมน้ำมัน และเครื่องทำกระแสไฟฟ้าที่ใช้กำลังน้ำที่เขื่นอัสวันและที่เชื่อมต่อ นับเป็นก้าวสำคัญของอิยิปต์ที่จะนำประเทศให้เป็นประเทศอุตสาหกรรม นอกจากนั้ นรัฐบรลยังมีส่วนร่วมในกิจการสำคัญ เช่น ธนาคาร บริษัทประกันภัยและการค้า
การทำคลองสุเอซให้เป็นของประเทศในปี 1952 เกิเหตุการที่สำคัญขึ้นเมือนัสเซอร์บังคับบริษัทคลองสุเอซให้ป็นของประชาติในผี 1958 เพื่อการกำจัดรูปแบบทุกชนิดของลัทธิจรวรรดินิยมออกจากประเทศ และการหาเงินทุนให้ได้มากเพื่อพัฒนาเศรษกิจของอิยิปต์ การกระทำดังกล่าวทำให้นายทุนชาวตะวันตกโกรธเคืองเป็นอย่างมาก ถึงขั้น ฝรั่งเศสและอังกฤษทำสงครามกับอิยิปต์ หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า "วิกฤตการคลองสุเอซ"
การกระทำให้เกิจการคลองสุเซเป็นของประเทศ และสงครามซึ่งอิยปต์ต่อสู้กับพวกบุกรุกขาวอังกฤษ ฝรั่งเศสและอิสราเอล เหนือประเ็นลัทธิชาตินิยม ได้ช่วยส่งเสริมความยิ่งใหญ่ของนัสเซอร์ทั้งในอียิปต์และโลกอาหรับ นับจากนั้น นัสเซอร์ กลายเป็นผุ้ป้องกันผลประโยจ์ของโลกอาหรับ ต่อต้านการข่มขุ่จากลัทธิจักรวรรดินิยมของมหาอำนาจตะวันตก
ในกิจกรรมต่างผระเทศ นัสเซอร์ใช้นดยบายเป็นกลาง อิยิปต์จะไม่ผุ้มัดตัวเองกับยทั้งอำนาจตะวันตกและสหภาพโซเวียต ประเทศเหล่านี้ให้ความช่วยเหลือทั้งด้านการเงินและเทคนิคแต่อิยิปต์จะม่ยอมอยู่ภายไต้อิทธิพลของประเทศเหล่าั้น ถึงมแ้ว่าสหภาพโซเวียตให้ควมอุปถัมภ์โครงการสร้างเชื่อนแต่นัสเซอร์ก็ไม่ยอมให้พรรคคอมมิวนิสต์คงอยุ่ในอิยิต์ อิยิปต์เป็นผุ้อทนของสันนิบาติอาหรับซึ่งเองค์การของปทศอาหรับเป็นองค์การของประเทศอาหรับทั้งหลาย ก่อตั้งขึ้นใน ปี 1944 เพื่อส่งเสริมผลประโยชร์ของประชอาหรับ แต่สำหรับประชาธิไตยแบบตะวันตกมองเว่า"นัสเซอร์เป็นเผด็จการที่มีอำนาจเด็ดขาด แต่ชาวอียิปต์มิได้มองเขาแบบนั้น นัสเซอร์จัดให้มีการเลื้อกตั้งเข้ามาแทนการแต่งตั้งในสภาแห่งชาติ ชาวอิยิปต์ชื่นชมในตัว"นัสเซอร์"มาก เป็นบุคคลที่ทำให้พวกเขามีความภูมิใจในความเป็นชาวอิยิปต์ และเป็นผุ้นำอิยิปต์ที่ยิ่งใหญ๋
สงครามเอิราเลล-อาหรับ ครั้งที่ 2 ส่วนหย๋เข้าใจว่าเกิดเพราะปัญหาคลองสุเอซ ซึ่งอังกฤษและฝรั่งเศสม่ส่วนได้ส่วนเสียกับคลองสุเอชดดยตรง เข้าร่วมรุกรานอิยิปต์ กองทัพอักงฤษและฝรั่งเศเข้าโจมตีบริวเณคลองสุเอซภายหลังกองทัพอิสราเอลได้ 3 วัน แต่แท้จริงแล้วสงครามครั้งนี้มีสาเหตุสำคัญมาจากทางอื่่นซึ่งอิสราเอลถือว่าสำคัญกว่าเรื่องคลองสุเอซ นั้นคือชนวนปัญหาเรืองดินแดนฉนวนกาซา และสิทธิการใช่น่านน้ำอ่าวอะกาบา
"ฉนวนกาซา"เป้นดินแดนแคบๆ ที่ทอดไปตามฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเยียนทางภาคมต้ของประทเศอิสราเอล เป็นดิแนแดนที่พวกลี้ภัยอาหรับหนีจากสงครามครั้งที่ 1 กว่าสองแสนคน เข้าไแอาศัยอยู่ และตามข้อตกลงหยุดยิงในปี 1949 อิยิปต์มีสิทธิในการปกครองดินแดนนี้ แต่ไม่มีสิทธิที่จะผนวกเขั้าเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของตน และสำหรับฝ่ายอิสราเอลนั้น ฉนวนกาซาเป็นจุดอันตรายสำหรับชาวอิสราเอลเรพาะพวกหน่วนคอมมานโดของอาหรับพลัดถ่ินมักจะยกข้ามพรมแดนเข้ารบกวน ปล้นสดมภ์หสามู่บ้า ตามบริวเณชายแดนอันเป็นขนวนของการปะทะกันเสมอๆ
"อ่าวอะกาบ" เป็นพื้นน้ำที่อยุ่ทางภาคใต้ของอิสราเอล ติกดับช่องแคบติราน ซึ่งเป็นช่องแคบอยุ่เหนือสุดของทะเลแดงอันเป็นช่องทางเดียวที่อิสราเอลจะออกสู่ทะเลแดงเพื่อติอต่อค้าขายกับกับทางเอเซียและแอฟริกา ตามข้อตกลง ปี 1949 อิสราเอลมีสิทธิผ่านเข้าออกบริเวณนี้ได้โดยเสรี แต่อียิปต์ละเมิดข้อตกลงโดยการส่งทหารเข้าไปตั้งป้อมคุมทางเข้าออกอ่าวอะกาบา นายเดวิด เบน กูเรียน นายรรัฐมนตรีอิสราเอลขณะนั้นได้กล่าวว่่า
"ช่องคแบติราน และทะเลแดงสำคัญยิ่งสำหรับเรา เรามีความเห็นว่าสำคัญยิ่งกว่าทะเลเมดิเตอร์เรเนียนเสียอีก จริงอยุ่เรามีความสัมพันธ์ทางวัฒนะรรมกับโลกตะวันตกมากกว่าตะวันออก แต่สำหรับเรื่องการค้าขายแล้วเเซียและแอฟริกามีความหมายสำหรับเรามากว่าเมืองอิลาะก็คือประตูสูตะวันออกแห่งเดียวของเรา ใครก็ตามย่อมไม่มีสิทธิที่จะปิดชข่องทางนี้ เช่นเดียวกับคลองสุเอซซึ่งเปน่นน้ำสากล แต่อียิปต์ก็ไม่ยินยอมให้เราใช้คลองสุเอซและอ่าวอะกาบา"
"คลองสุเอซ" นับตั้งแต่อิสราเอลเริ่มรบกับบรรดาประเทศอาหรับอียิปต์ก็เร่ิมเข้างวดกับเรือที่ผ่านคลองสุเอซ โดยเฉพาะเรือที่สงสัยว่าจะบรรทุกสินค้าแลอาวุธไปให้อิสราเอล มีการจับกุมเรืออิสราเอล ริบสินค้าที่บรรทุกทากับเรือ อิสราเอลเคยนำเรื่องขึ้นร้องเรียนต่อคณะมนตรีความมั่นคง สหประชาชาติ แตุ่่฿กรัสเซียยับยั้นญัตติ กระทั้งเกิดการรบครั้งที่ 2 ปี 1956 ซึ่งในต้นปี นั้น อียิปต์ประกาศโอนคลองสุเอซป็นของชาติ ท่ามกล่างเสียงคัดค้านของบรรดาประทเศผุ้ใช้คลองและบริษัทคลองสุเอซซึ่งอังกฤษและฝรั่งเศสเป็นหุ้นส่วนใหญ่ อังกฤษและฝรั่งเศสไม่พอใจการกระทำของอิยิปต์ 29 ตุลา ปีเดียวกัน กองทัพอิสราเอลเปิดฉากทำสงครามบุกอิยิปต์ภายใน 4 วัน สามาราถบุกเกือบถึงคลองสุเอซ และจากนั้นนหนึ่งเดือนอังกฤษและฝรั่งเศสส่งทหารพลร่มลงยึดเมืองสไคัญๆ บริเวณคลองสุเอซไว้ เช่น เมืองท่า ซาอิด และฟูอัด ดดยอังกฤษและฝรั่งเศสอ้างว่่าเพื่อรักษาความสงบและความปลอดภัยในการเดินเรือ
ต่อมาในวันที่ 6 พฤศจิการยน 1956 ดดยมติของสมัชชาใหญ่องค์การสหประชาชาติสั่งให้หยุดการรบ ดดยเฉพาะให้ผปุ้รุกรานซึ่งในกรณีนี้คือ อิสราเอล อังกฤษ และฝรั่งเศ อถอนทหารออกจากอิยิปต์ทันทีตั้งแต่วันที่ 6 ะันวา 1956 แต่ฝ่ายอิสราเอลเพิ่งจะถอนทหารและยอมปฏิบัติตามมติขององค์การสหประชาชาติวในวันที่ 3 มีนา 1957 ซึ่งรวมเวลาทั้งหมดที่ทหารอิสราเอลเข้ายึดครองอดินแดนอีิยิปต์ไว้ตั้งนี้ถึง 3 เดือน 8วัน อิานราเอลยอมปฏิบัติตามมติสหประชาชาติ เพราะได้รับประกันเสรภาพในการใช้น่านน้ำอ่าวอะกาบาและความปลอดภัยในแนวนกาซา ดดยสหประชาชาติส่งกำลงังทหาร 6,000 รคน เขาตระเวนรักษาความสงบตลอดแนวพรมแดนส่วนนี้ ซึ่งยาวกว่า 170 ไมล์
จากสงครามคร้งนี้อิสราเลอได้ชัยชนะทั้งในและนอกสนามรบกล่าวคือ ในอิสราเอลได้สิทธิในการใช้อ่าวอะกาบาและได้คามปลดภัยในบริวเวณฉนวนกาฤาตามคำรับรองขององค์การสหประชาชาติ อิสราเอลยังได้เสียสนับสนุนจากมหาอไนาจ คือ อเมริกาและฝรั่งเศส ส่วนฝั่งอิยิปต์ ได้ครองสสุเอซและกำจัดจัวรรดิ์นิยมดังได้กล่าวมาแล้วแม้จะพ่ายแพ้ในสงครามนี้
อเมริกา ในครั้งแรกไม่แสดงท่าทีอย่างชัดเจนในการณีอิสราเอล ภต่ภายหลังภารเจรจาที่สหประชาชาติ สหรัฐอเมริกามีความเห็นใจอิสรารเอล รับบาลจึงมีบันทึกพิเศษไปถึงอิสราเอล โดยมีความสำคํญว่า สหรัฐพร้อมที่จะลงมือปฏิบัติการเพื่อคงไว้ซึงเสรีภาพในการใช้น่านน้ำบริเวณอ่าวอะกาบา
มหาอำนาจตะวันตกอีประเทศทีีสนับสนุนอิสราเอลอย่างเปิดเผยคือ "ฝรั่งเศส" ซึ่งไม่พอใจอาหรับโดยเฉพาะอิยิปต์ในเรื่องคอลงสุเอซ นอกจากนั้นดินแดนอาหรับที่ฝรัเศสปกครองในแอฟริกาเหนือ คือ แอจีเรียและโมร็อกโก ก็กำลังแข็งข้อก ฝรั่งเศสประกาศว่า ฝรั่งเศษจะสนับสนุนในการป้องกันตนเองของอิสราเอล ถ้าหากถูกอิยิปต์ใช้กำลังในกรณีอ่าวอะกาบา หรือฉนวนกาซา
ที่มา : http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI491/hi491-2.pdf
http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390(47)/hi390(47)-2-6.pdf
วิกิพีเดีย