ผู้ลี้ภัยชาวปาเลสไตน์ ถูกปฏิเสธว่าเป็นทรัพยากรบุคคลของประเทศอาหรับต่างๆ ขณะที่ชาวอาเลส
ไตน์เหล่านี้ต้องขึ้ต่อรัฐบาลอาหรับของวประเทศต่างๆ ที่พวกตนไปอาศัย ซึ่งรัฐบาลอาหรับแต่ละรัฐบาลมีความแตกต่างกัน ในระยะแรกเร่ิมชาวปาเลสไตน์ก็ไม่เคยสนใจการเมือง แต่ด้วยสภานะความเป็นอยู่ ความคุ้นชินกับการปฏิบัติการของหน่วยคอมมานโดประเทศต่างๆ ซึ่งกลุ่มจู่โจมเหล่านี้ไม่ได้รวมกันอย่างเห็นได้ชัด แตะมีเป้าหมายเดียวกัน กลุ่มที่ทำงานจากฉนวนกาซาถุกบรรยายโดยองการค์ปลดปลอยปาเลสไตน์ว่า ได้รับการฝึกฝนและนำโดยข้าราชากรประจำกองทัพอียิปต์และทำงานกระจัดกระจายไม่เป็นระเบียบ การเร่ิมต้นขององค์การกองโจรอาหรับไม่มีบันทึกที่เป็นเอสาร เป็นเพียงการเปลี่ยนแปลงที่ค่อยเป็นค่อยไปก นำไปสู่องค์ การทางการเมืองของพวกอาหรับปาเลสไตน์ การที่พวเขาได้อ่านวรรณคดีอารบิก โคลงกลอนและนิยาย ซึ่ทำให้ได้เข้าใจถึงสาเหตุของการเกิดการเคลื่อนไหวแบบกองโจร สิ่งที่ปรากฎชัดคือ คนหนถ่มสาวซึ่งเติบโตมาจากความทรงจำอันขมขื่้นในวัยเด็ก การบอกเล่าของผุ้อาวุโส ความเสียใจ และความต่ำต้อยของชีวิตผุ้ลี้ภัย คนเหล่านีจึงเร่ิมมีความรู้สึุกใหม่เกิดขึ้น คือความรู้สึกชาตินิยมที่เริ่มด้วยการรวมตัวกันป็นองค์การที่มีความเคลื่อนไหว คล้ายกองโจร
องค์กรในยุคแรกๆ ที่ปรากฎที่สำคัญมี 2 องค์กร คือ ฮารากัท อัลดาห์รีร์ อัลฟลัสตินี่ Harakut al Tahir al- Flastini หรือ ฟาตาห์ Fatah และองค์การปลดปล่อยปลาเลสไตน์ Palestine Liberation Organization หรือ PLO องค์กรทั้ง 2 นี้ได้กลายเป็นตัวแทนกึค่งทางการของประชาชนชาวอาหรับปาเลสไตน์ แต่ทั้ง 2 องค์กรมีลักษณะที่แตกต่างกัน
พี แอล โอ เป็นองค์การที่เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป เร่ิมด้วยการที่ชาวอาหรับปาเลสไตน์ประมาณ 400 คน ได้ร่วมกันจัดให้มีการประชุม ปาเลสไตน์ เนชั่นแนล คองเกรส ที่กรุงเยรูซาเลม ในปี 1963 โดยได้รับการสนับสนุนจากพรเจ้าฮุสเซนแห่งจอร์แน พ้อมกับการปชะมครั้งได้มีการจัดตั้งองค์การ พี แอล โอ ขึ้นดดยได้รับเงินสนับสนุนจากสันิบาตอาหรับ และมีการเปิดค่ายเพื่อฝึกฝนให้สมาชิกทำงานในลักษณะอกงโจรด้วย การจัดการประชุมหลายครั้งในมืองต่างๆ ทำให้องค์การ พีแอลโอ เป็นที่สนใจของรัฐบาลอาหรับ ในสายตาชาวอาหรับถูกมองว่า พี แอล โอ เป็นเพียงเครื่องมือของรัฐบาลอาหรับทั้งหลายที่่ใช้ต่อสู้กับอิสราเอลฟาตาห์ เป็นองค์การลับ การเร่ิมตนนี้ไม่แน่ชัด กระทั้งปี 1965 เริ่มปรากฎให้เห็น ผุ้นำคนสำคัญที่สุด
ของอค์การ คือ ยัสเซอร์ อาระฟัด (อาราฟัดเกิด เมือ 4 สิงหาคม 1929 ในครบครัวชาวปาเลสไตน์เช้อสายิียิปต์ ที่อยู่ในฉนวนกาซา ได้ไปใช้ชีวิตวัยเด็ก และวัยรุ่นที่กรุงไคโร กับพี่น้องชายหญิงอีกหกคน ทำหให้สามารถเชื่อความสัมพันธ์ทางสายเลือดกับครอบครัวที่อาศัยในอียิปต์ไว้ได้ เขาเข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนมัธยมฟารุก ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นโรงเรียนที่ดีที่สุดแห่งหนึ่ง) อาราฟัด ได้รับความเคารพนับถือจากชาวอหาีับจำนวนมาก" และชาวปาเลสไตน์ส่วนใหญ่จะมองเขาเป็นนักสู้เพื่อเสรีภาพ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แห่งความปรารถนาชาติของพวกเขา แต่กลับกันกับชาวอิสราเอล
สงครามอาหรับ-อิสราเอล ปี 1967 ทำให้มีผู้ลี้ภัยอาหรับ 175,000 คน ุต้องถูกเคลื่อนย้ายอีกครั้งนหึ่ง ชาวปาเลสไตน์อีกกว่า 350,000 คน ถูส่งมาเป็นผู้ลี้ภัย และในการดูและของ UNRWA ของสหประชาชาติ ดว่า 1,375,915 คน และสิ่งที่สำคัญคือไม่มีรัฐบาลอาหรับของประเทศใดมีความเข้มแข็งพอจะสู้กับอิสราเอล ซึ่งเปิดโอกาศแก่อาระฟัด กองโจรอาหรับปาเลสไตน์ได้ทำงานด้วยการต่อสู้บริเวณพรมแดน เพื่อความปลอดภัยของประชาชน กองโจรเข้ามาแทนที่หน่วยคอมมานโด และทหารของรับบาลประเทศอาหรับซึ่งในความเป็นจริงการต่อสู้ของกองโจรต้องต่อสู้ด้วยอาวุธที่ไม่มีประสิทธิภาพ ความไม่มีศีลธรรมและกองทัพที่กระจัดกระจาย วิลเลี่ยม ควอท ได้เขียนไว้ว่่า
"คำขวัญเก่า ที่ว่า ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของอาหรับจะเป็นการสิ้นสุดความมีอิสระภาพของปาเลสไตน์....หรือจะกล่าวอีกอย่างว่า อิสราภาพของปาเลสไตน์จะเป็หนทางของความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของอาหรับ ความรู้สึกใหม่ของความเคารพตัวเองของชาวปาเลสไตน์ และกิจกรรมที่มีจุดมุ่งหมาย กลุ่มกองดจรมิได้หมดหวังในความต้องการของการเป็นผุ้นำชุมชนปาเลสไตน์ คำว่าชุมชน Community ยังคงเป็นคำที่มีความหมายเข้มแข็ง แต่การแ่งแยกในวันเก่าๆ ที่ยังคงอยุ่ ชนรุ่นเก่ายังคงอ้างงถึงผุ้นำที่มีลัษณะเป็นจารีตประเพณี ขณะที่ชุมชนอมุ่บ้านยังคงรักษาความจงรักภักดีระดับหมู่บ้าน...ปัจจัยต่างๆ ทำให้การพัฒนาที่จะนำไปสู่การสร้างประเทศต้องล้าหลัง อำนาจอยู่ในมือของกองโจรซึ่งสามารถเคลื่อนย้ายจากหมู่บ้านแห่งหนึ่งมาสู่อีกแห่งหนึ่งและจากคายแห่งหนึ่งไปยังค่ายอีกแห่งหนึ่งได้ ดดยที่พวกเขาสามารถเดินทางข้ามพรมแดนได้ อย่างไรก็ตาม พวกกองโจรไม่เพียงแตกแยกกันเอง แต่ยังเป็นศัตรูกันด้วย
การก่อตั้งกลุ่มผุ้ลี้ภัยใหม่ซึ่งมีลักษณผสมกันระหว่างการเมืองและทหาร การรวมกันของวกลี้ภัยเก่าและการต่อสู้เพื้ออิทธิพลได้เกิดขึ้นอย่างลับๆ การต่อสู้ของกองดจรจะสำเร็จได้ก็จะต้องทำให้เกิดการปฏิวัติ เกิดความวุ่นวายและความตาย มิเชล ฮัดสัน ได้สรุปว่า
"ขณะที่ประเทศอาหรับกำลังอ่อนกำลังจากการพ่ายแพ้อิสราเอล ในปี 1967 องคการฟาร์ตาก็กำลังแผ่ขยายใหญ่ขึ้น กลุ่มอื่นๆ ก็กำลังเร่ิมปรากฎขึ้น
อาราฟัดเล็งเห็นความไม่มีความสามารถของผู้นำ PLO เข้าจึงตัดสินใจเข้าเป็นผู้นำโดยการเจรากับองค์การกองโจรต่างและจัดให้มีการออกเสียง อาราฟัด ได้รับเลือกใหเป็นประธานองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ PLO และคณะกรรมการพิเศษอีก 11คน อยุ่ภายใต้การควบคุมของสมาชิก "ฟาตาห์"เมื่อกกลุ่มกองโจรรวมกันได้ แต่ยังคงมีอุปสรรคที่สำคัญคือ กษัตริย์จอร์แดน การสู้รบจึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึงเกิดเหตุการสู้รบในเวลาต่อมา ที่ชาวปาเลสไตน์เรียกว่า "กรีน จูน" และ "แบล็ก เซฟเทมเบอร์"
กองโจรในจอร์แดนถูกขับไล่ไปสู่ความสิ้นหวังในจุดยืนสำคัญทางการเมือง แต่ก็มีกลุ่มใหม่ลักลอบดำเนินการต่อไป มีการโจมตีคังน้ำมันของอิสราเอล และท่าลำเลียงน้ำมันของอเมริกาซึ่งส่งน้ำมันจากท่อน้ำมันของอาหรับถูกทำลาย ต่อมา นายกรัฐมนตรีจอร์แดนถูกฆาตกรรม กองโจรยังคงดจมตีต่อไป มีการโจมตีสนามบินลอดของอิสราเอล และลักพาตัวและฆาตกรรมสมาชิกของทีมโอลิมปิกอิสราเอลจำนวน 11 คน การกระทำดังกล่าวถูกมองว่าเป็นการกระทำของกลุ่มคนที่สิ้นหวังล้มเหลวในจุดหมายทางการเมืองกองโจรถูกขับไล่ออกจากจอร์แดน พวกเขามุ่งไปยังเลบานอนแต่ถูกอิสราเอลขัดขวาง เพื่อป้องกันการร่วมมือกันระหวางกองโจรและเลบานอน ทั้งนี้เพราะอิสราเอลเคยดจมตีสรามบินนานาชาติที่เบรุต ในปี 1968 และมีการปฏิบัติการโจมตีอีกสองครั้งในเวลาถัดมา ซึ่งในเหตุการณ์ครั้งหลังสุดอิสราเอลได้ดินแดนมากมาย อิสราเอลจึงเตือนเลบานอนให้ระวังจะถูกโจมตี หากให้ความร่วมมือกัยกองโจร
เลบานอนจึงบังคับกองโจรฟาตาห์ให้ตกลงที่จะไม่โจมตีเบรุตและได้ฆ่าผุ้นำ 3 คน เกิดการจลาจลนอง
เลือด กองโจรตำหนิชาวเลบานอนวาขี้ขลาดและได้ลักพาตัวทหารเลบานอนไป 2 คน รัฐบาลตอบโต้อยางรุนแรงทำลายค่ายที่พักของกองโจร
นับจากมิุถุนายน 1970 กองโจรพบว่าตนเองอยุ่ในฐานะที่ต่ำต้อยในเลบานอน พวกกองโจรไม่สามารถยืนยัดถึงความเป็นผู้นำด้านการเมืองและการปกครองเนหือพื้นที่ส่วนต่างที่ยึคดรองได้ พวกเขาได้รับการขัดขวางอย่างรุนแรงในประเทศอาหรับทั้ง 2 ทั้งเลบานอนและจอร์แดน ขณะที่ในประเทศอาหรับอื่นๆ ก็อยุ่อย่างอดทนและขุ่นแค้น เช่นใน อิรัก ซีเรียและอิยิปต์ ซึ่งต่อมาชาวปาเลสไตน์เหล่านี้จึงมีชีวิตอยุ่อยางสิ้นหวังอย่างแท้จริง
ที่มา : chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/http://old-book.ru.ac.th/e-book/h/HI390/hi390-part2-7.pdf