สมุททานุภาพ Sea Power เกิดจากแนวคิดของ พลเรือตรี อัลเฟรด เธเยอร์ มาฮาน นำเสนอผ่านหนังสือ "The influence of Sea Power upon History 1660-1973" ซึ่งมาฮาน เป็นนักยุทธศาสตร์ทางเรือผู้มีชื่อเสียง ดดยเขาศึกษาและวิเคราะห์ประวัติศาสตร์การก้าวขึ้นมาเป็นมหาอำนาจทางทะเลของประเทศอังกฤษ สรุปเป็นทฤษำีสทุททานุภาพ แล้วเปรียบเทียบกับขีดความสามารถของสหรัฐฯ
ในการเป็นชาติมาหอำนาจทางทะเล ด้วยปัจจัยสทุทานุภาพหลายๆ ปัจจัยซึ่งมีส่วนคล้ายคลึงกับประเทศอังกฤษ ทั้งนี้ความสำคัญของสมุททานุภาพ ถือหลักสำคัญว่า มหาอำนาจทางทะเลจะเหนือกว่ามหาอำนาจทางบกในเชิงภูมิรัฐศาสตร์ ซึ่งในทฤษฎีนี้ได้รับการพิศุจนื แล้วจากสงครามโลกทั้งสองครั้งว่าเป็นความจริง
หากพิจารณความหมายของสมุททานุภาพ อันเป็นผลจาการปสมคำระหวาง สมุทร(ทะเล) กับ อานุภาพ (กำลังอำนาจ) ความหมายดดยรวมของสมุททานุภาพ มีบริบทเช่นเดียวกับที่มาฮานได้กล่าวำว้คือ "อำนาจ กำลังอำนาจ หรือ ศักยภาพของชาติ จาการใช้ทะเลให้เกิดประโยชน์ตามที่ต้องการ" จากผลของสงครามโลกทั้งสองครั้ง จึงพิสูจน์ได้ว่า ทฤษฎีสมุททานุภาพกำเนิดมากว่า 100 ปีแล้ว และยังสามารถนำมาปรับใช้ได้จนถึงปัจจุบัน (ที่มา : https://thaiseafarer.com/naval-cencept/sea-power/)
ภฺมิรัฐศาสตร์ คือ วิชา สาขาวิชา ที่เป็นการพรรณนา อธิบาย วิเคราะห์ และสังเคราะห์ ผ่านการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่่างภูมิศาสตร์กับรัฐศาตร์ หรือความสัมพันธ์ระหวางภูมิประเทศและสภาพทางกายภาพกับการเมืองการปคกรอง ขอบเขตการศึกษาภูมิรัฐศาสตร์ครอบคลุม (ณรงค สินสวัสดิ์, 2524 : 20 อัางใน สมบัติ จันทรวงศ์, 2541 : 632-634. ; สมชาย เดชะพรหมพันธุ์, 2535 : 21- 104.) (1) ทีตั้งของประเทศหรือรัฐ ที่สำคัญ คือ การเป็นประเทศภาคพื้นทวีป หรื อภาคพื้นสมุทร การเป็นประเทศที่มีอาณาเขตไม่ติดต่อทางทะเล หรือติดต่อทางทะเลการเป็นประเทศที่มีพรมแดนประชิดมหาอำนาจหรือประเทศที่มีอำนาจที่เนหือว่าหรือห่างไกลจากประเทศมหาอำนาจหรือประเทศที่มีอำนาจเหนือกว่า และการมีที่ตั้งที่มีพรมแดนประชิดกับเพื่อบ้านที่มีความเมหือนกันหรือแตกต่างกันทางด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม ขนาดของประเทศหรือรัฐ ตัวอย่างที่สำคัญ คือ รัฐที่มีพื้นที่ อาณาเขต พรมแดน ดินแดน นาดกว้างใวหญ่ไพศาล ย่อมมีความได้เรียบจาการมีทรัพยากรจำนวนมาก ทำให้รับผิดชอบต่อสาธารณชนหรือประชากรได้มาก สร้างปัจจัยแห่งอำนาจและขีดความสามารถของประเทศได้มากความเได้เปรียบด้านการสงครามจากการมีพื้นที่ให้เลือกสรรหรือใช้ประโยชน์ได้เป็นจำนวนมาก มีจุดยุทธศาสตร์ที่เป็นประโยชน์ด้านการสงครามเป็นจำนวนมาก...ส่วนแนวคิดสมุททานุภาพ นับเป็นส่วนหนึ่งของแนวคิดอำนาจของชาติที่คาบเกี่ยวเฉพาะส่วนที่เป็นภาคพื้นสมุทรหรือทะเลเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของรัฐจากปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ที่เกื้อหนุนจนก่อให้เกิดปัจจัยแห่งอำนาจทางทะเล (นรพัชร เสาธงทอง อภิญญา ฉัตรช้อฟัา และสุรพล สุยะพรหม, 2564) สภาพที่ตั้งของพื้นที เมือง หรือประเทศ จึงนับเป็นรากฐานที่สำคัญของปัจจัยแห่งอำนาจตามแนวคิดสมุททานุภาพเพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์ฺทางรัฐศาสตร์
รัสเซ๊ย การแสวงหาทางออกทะเลมีความต่อเนืองจาประวัติศาสตร์บนเงื่อนไขทางภูมิรัฐศาสตร์ ด้วยลักษณะที่ตั้งที่รัสเซียเป็นที่มีพื้นที่ขนาดกว้างใหญ่ไพศาล แต่มีข้อจำกัดกับทางออกทะเลที่ติดต่อกบภาพยนอก สภาชายฝังทางทะเลด้านเหนือมีอากาศหนาวจัด ซึ่่งเป็น้อจำกัด ที่ทำให้ไม่สามารถสร้างเมืองท่าได้ และความห่างไกลจากศุนย์กลางของตะวันตกส่งผลให้รัสเซียอยุ่อย่างโดดเดี่ยว นับเป็นปัญหาอุปสรรคที่ขวางกั้นความเจริญของรัสเซีย และกีดกันรัสเซียออกจากเวทีการเมืองของยุโรปช่วงเวลานั้นเกรือบจะโดยสิ้นเชิง การแสวงหาทางออกทางทะเลนับเป็นหนทางที่สำคัญหนทางหนึ่งที่จะทำให้รัสเวียติดต่อค้าขายและรับวิทยาการ เทคโนโลยี นวัตกรรม และศิลปวิทยาการ จากตะวันตก ซึ่งเป็นปัจจัยและเงื่อนไขพื้นฐานสำหรับการสภาปนาตัวตนเพื่อากรเป็นประเทศมหาอำนาจของรัสเซียตามที่คาดหวัง ...(Langer, 1975 : 24 อ้างใน จันทร์ฉาย ภัคอธิคม, 2540 : 22) จุดยุทธศาสตร์ที่เป็นจุดอ่อนที่สำคัญมาจากภูมิรัฐศาสตร์ภาคพื้นสมุทรหรือพื้นน้ำซึ่งรัสเซียมีความเสียเปรียบอยางมาก เพราะแม้ว่ารัสเซียจะมีพรมแดนติดต่อกับพื้นน้ำจากมหาสุมทรจำนวน สามแห่ง ประกอบด้วย มหาสมุทร แปซิฟิก มหาสุมทรอาร์กติก และมหาสมุทรแอตแลนติก ทำให้เสมือนหนึ่งได้เปรียบเชิงปริมาณ แต่กลับมีปัญหาในเชิงคุณภาพเพราะพื้นน้ำหรือภาคพื้นสมุทรของรัสเซียกลายเป็นพื้นที่ที่เป็นจุดอ่อนหรือพื้นที่อ่อนไหวของรัสเซียอย่างมาก ดังนั้น เป้าหมายทางภูมิรัฐศาสตร์ของรัสเซีย ประการแรก การสถาปนารัฐกันชนเพื่อป้องกันประเทศจาการรุกรานจากภายนอก ประการที่สอง การแสวงหาทางออกทางทะเลด้วยเลืื่อนไขและข้อจำกัดที่รัสเซียเผชิญกับปัญหาทะเลภายในที่มีทาสงออกสู่ภายนอกจำกัด ปัญหาทะเลปิดที่ไม่มีทางออกสุ่พื้นน้ำภายนอก ตัวอย่างที่สำคัญ คือ ทะเลสาบแคสเปียน และทะเลสาบไบคาล และปัญหาทะเลที่เป็นน้ำแข็ง.. จากแนวคิดภูมิรัฐศาสตร์สุ่แนวีคิดสมุททานุภาพที่แสดงถึงความสำคัญของภาคพื้นสมุทรองรัสเซีย ด้านความมั่นคงที่เป็นที่ตั้งทางยุทธศาสตร์ และด้านเศรษบกิจที่เป็นผลประโยชน์จาการค้าภายนอก ทำให้รัสเวียมุ่งเน้นการแสวงหาทางออกทะเลมานับตั้งแต่อดีต พื้นที่ตอนล่างหรือด้านความมั่นคงที่เป็นที่ตังทาง
ยุทธศาสตร์ และด้านเศรษบกิจที่เป็นผลประโยชน์จาการคี้าภายนอก ทำให้รัสเวียมุ่งเน้นการแสวงหา
ทางออกทางทะเลมานับตั้งแต่อดีต พื้นที่ตอนล่างหรือด้านใต้ของรัสเซียนับเป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญสำหรับความสัมพันะ์กับภายนอกประเทศ ส่งผลให้รัสเซียนับตั้งแต่อดีตที่ผ่านมาพยายามแสวงหาทางออกลงสู่ทะเลดำ จาการขยายอาณาจักรรัสเซียภาคพื้นทวีปเป็นหลักภายหลังการสภาปนาอาณาจักรมัสโควี อาณาจักรที่สำคัญของรัสเซียช่วงแรก ต่อนเื่องจนถึงการสภาปนาจักรวรรดิรัสเวียของราชวงศ์โรมานอฟ นำไปสู่การขยายอำนาจสู่ด้านล่างจนถึงทะเลดำเสมัยพรเจ้าซาร์ปีเตอร์มหาราชและพระนางแคทเอทลีนมหาราชินี แต่การเผลิญกับปัญหาทางการเมืองภายในทำให้การแสวงหาพื้นที่เพิ่มเติมสำคัญลำดับรอง และรัสเซียพยายามรักษาอำนาจที่มีเหนือายฝั่งและทะเลดำอย่างต่อเนื่องจนสหภาพโซเวียล่มสลาย
ไครเมียนับเป็นพื้นที่ตัวอย่างสำคัญจาการขยายอำนาจของรัสเซียสุ่พื้ที่อนล่างหรือทะเลอาวอฟ และทะเลดำ กลายเป็นพื้นที่ที่มีความอ่อนไหวที่สำคํญจากความพยายามขยายอำนาจของมหาอำนาจนับตั้งแต่อดีต ที่สำคัญ คือมองโกล และ ออตโตมาน การช่วงชิงการขยายอำนาจของรัสเซียในไครเมียก่อให้เกิดสงครามไครเมียกับจักรวรรดิออตโตมาน ทำให้ไครเมียเป็นเอกราชและกลายเป้นส่วนหนึ่งของรัสเซียและต่อมา หลังสงครามไึเทันีะหส่วีะาเศันกะยออคโตมานทำให้อังกฤษกับฝรั่งเศสเข้ามาเกี่ยวข้อง การปราชัยของรัสเซียส่งผลให้ผุ้ปกครองต้องปฏิรูปประเทศอย่างรอบด้าน การเปลี่ยนแปลงการปกครองของสหภาพโซเวียตใน ปี 1917 ทำให้ไครเมียแยกตัวเป็นเอกราชและภายหลังได้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต จนถึงสมัยนาย นิกิต้า ครุสซอฟ ที่มีการมอบไครเมียให้เป็นของขวัญแก่ยูเครนใน ปี 1954 และกลายเป็นส่วนหนึ่งของยู่เครนต่อเนื่องแม้ภายหลังสหภาพโซเวียตล่มสลายใน ปี 1991 แล้วก็ตาม การที่ยูเครนเป็นประเทสที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดหรือมากที่สุดเป็นอันดับ2 รองจากรัสเซีย และเป็นประเทศที่มีพื้นที่ติดต่อกับทะเลดำ ทำให้เสมอนหนึ่งปิดกั้นจนทำให้เป็นปัญหากับรัสเซียในการผ่านทะเลดำ นำไปสู่ความพยายามยึดครองไครเมียซึ่งประชาชนส่วนใหญ่สืบเชื้อสายรัสเซียและเคยอยู่ในการปกครองของรัสเซียมาก่อน จนประสบความสำเร็จใน ปี 2014 นับเป็นจุดเร่ิมต้นอย่างมีนัยสำคัญสำหรับยการรุกคืบจนกลายเป็นสงครามระหว่างรัสเซียกับยู่เครนใน ปี 2022 (ที่มา : TRDM_4_1_5_ธโสธร+ตู้ทองคำ.pdf )