ชุมชนที่เป็นคนผิวขาวและมีฐานะยากจนในเขตอุตสาหกรรมของอเมริกา ซึ่งผุ้อยุ่อาศัยมักไม่ค่อยมีวุฒิการศึกษาระดับวิทยาลัย ยังคงจงรักภักดีต่อโดนัลด์ ทรัมป์ แม้จะผ่านมาเจ็ดปีแล้วก็ตาม ชุมชนเหล่านี้หลายแห่งตั้งอยู่ในรัฐสำคัญไม่กี่รัฐ ที่จะกำหนดผลการเลือกตั้งในปี 2024 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มิชิแกน เพนซิลเวเนีย และวิสคอนซิน การทำความเข้าใจประวัติศาสตร์ของชุมชนเหล่านี้ไม่เพียงแต่จะอธิบายได้ว่า
พวกเขาได้กลายเป็นเมืองของทรัปม์ได้อย่างไร แต่ยังอธิบายได้ด้วยว่าการเมืองของพยวกเขราอาจเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า
ประวัติศาสตร์แสดงให้เห็นว่าความแข้.แกร่งของการเคลื่อนไหวด้านแรงงานในชุมชนมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการสนับสนุนพรรคเดโมแครตในช่วงเวลาหนึ่ง การจัดระเบียบแรงงานทำให้สารของพรรคเดโมแครตไปถึงคนงนในเมืองต่างๆ ใจกลางประเทศในช่วงทศวรรษปี 1930-1940 และการเสื่อมถอยอของแรงงานเป็นเหตุผลว่าทำไมเมืองต่างๆ จำนวนมากจึงหันเข้าหาลัทธิทรัมป์ แม้บางเมืองจะต้านสารก็ตาม
ปธน. แฟรงคลิน ดี. โรสเวลต์ พยายามโน้มน้าวคนงานอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ด้วยคามสำเร็จอย่างล้นหลาม แขาสนับสนุนให้คนงานเหล่านี้มองว่าพรรคเดโมแครตเป็นเครื่องมือทางการเมืองในการแก้ปัญหาและผลการสำรวจคือได้รับการตอบรับที่ดีจากเมืองอุตสาหกรรม
พรบ.วากเนอร์ซึ่งผ่านเมือ ปี 1935 เป็นหัวใจสำคัญของแนวคิดของ รูสเวลต์ พรบ.ดังกล่าวให้สิทธิแก่คนงานในภาคอุตสหกรรมในการรวมตัว กำหนดให้นายจ้างไม่สามารถปกิเสธการต่อรองร่วมกันได้ และจัดตั้งคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์แห่งชาติ ขึ้นเพื่อตัดสินข้อพิพาทระหว่างคนงานและฝ่ายบริหาร พรบ.วากเนอร์ ช่วยฟื้นฟูขบวนการแรงงานที่ซบเซาในข่วงทศวรรษ 1920 เพื่อเป็นการตอบสนอง สหภาพแรงงาน ดดยเฉพาะสหภาพที่สังกัดกับรัฐสภาขององค์กรอุตสาหกรรม ที่เพิ่งจัดตั้งขึ้น ได้สนับสนุนรูสเวลต์ และช่วยเผยแพร่ข้อความว่าพรรคเดโมแครตเป็นเพื่อนของคนงานความสัมพันธ์แบบพึงพาอาศัยกันระหว่างแรงงานที่จัดตั้งและการบริหารภายใต้นดยายนิวดีล ที่เบ่งบานขึ้นนั้นเห้ฯได้ชัดจากประวัติศาสตร์ของเมืองทางตะวันตกกลาง 3 แห่ง เมืองหนึ่งในวิสคอนซิน เมืองหนึ่งในมินนิโซตา และอีกเมืองในอินเดียนา
เมืองในวิสคอนซิน ประวัติศาสตร์อันยาวนานหลายทศวรรษของการจัดตั้งแรงงานและสังคมนิยมได้จาหายไปในช่วงทศวรรษที 1920 แต่คนงานสามารถฟื้นคือนองค์กรเหล่านี้ขึ้นมารได้ในช่วงนโยบายนิวดีล และในเมืองอื่นๆ ขบวนการแรงงานที่กระตือรือร้นได้เกิดขึ้นและรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในช่วงทศวรรษ 1930 โดยได้รับความชข่วยเหลือบางส่นโดยตรงจากรพะราชบัญญัติวากเนอร์
อิทธิพลของสหรภาพแรงงานและการสนับสนุนพรรคเดโมแครตเป็นคำอะิบาย่าเหตุใดเมืองทั้งสามแห่งนี้ และเมืองอื่นๆ ที่คล้ายกันในพื้นที่อุตสาหกรรมมิดเวสต์ ยังคงเป็นส่วนสำคัญของแนวร่วมนิวดีลจนถึงช่วงทศวรรษ 1950แต่สิ่งนั้นเร่ิมเปลี่ยนแปลงไปในช่วงทศวรรษ 1960 และ 1970 เมื่อเชื้อชาติและศาสนากลายเป็นศูนย์กลางทางการเมืองอเมริกันในรุปแบบใหม่
ประการแรก สิทะิพลเมือง ดดยเฉพาะ พรบ. สิทธิพลเมือง และพระราชบัญญัติสิทธิในการลงคะแนนเสียง ได้เร่งให้เกิดการปรับแวทางพรรคการเมืองตามแนวทางเชื้่อชาติ ซึ่งย้อนไปถึงช่วงทศวรรษ 1940 เมื่อผุ้มีสิทธิเลือกตั้งผิวดำในภาคเหนือเร่ิมเปลี่ยนไปเลือกพรรคเดโมแครต ในช่วงทศวรรษ 1960 แม้ว่าผุ้มีสิทธิเลือกตั้งผิวดำจะยังคงย้ายฐานไปอยุ่พรรคเดโมแครต แต่ผุ้มีสิทิเลือกตัึ้งผิวขาวโดยเฉพาะในภาคใต้ กลับหันไปเลือกพรรครัพับลิกัน ซึ่งเป็นเรื่องจริง โดยเฉพาะหลังจากการเลือกตั้งในปี 1964 ซึ่งประธานาธิบดี ลินดอน บี. จอห์สัน จากเดโมแครต ผุ้ลงนาม ในพรบ.สิทธิพลเมือง ต้องแข่งขันกับ วุฒิสมาชิกแบร์รี โกลต์วอเตอร์ จากพรรครัพัลลิกัน ซึ่งลงคะแนนเสียงคัดค้าน
จากนั้นในช่วงทศวรรษ 1970 ชาวคริสเตรียนผิวขาวเร่ิมเคลื่นไหวเพื่อรณรงค์เรื่องการศึกษาเรื่องเพศ การสวดมนต์ในโรงเรียน การต่อต้านการแก้ไขรัฐะรรมนูญว่าด้วยความเท่าเทียมกัน การทำแท้ง และการยกเว้นภาษีสำหรับโรงเรียน คริสเตียน ในที่สุด พรรครัพัลิกันก็เห็นชอบการแก้ไขรัฐะรรมนูญเพื่อห้ามการทำแท้งในปี 1976 ระหว่างนั้น ตั้งแต่ปี 1972 เป็นต้นมา พรรคเดโมแครตก็เร่ิมสนับสนุนเป้าหมายของสตรีนิยมอย่างช้าๆ รวมถึงการสนับนุการทำแท้งอย่างถูกกฎหมายในปี 1976 การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ทำให้ชาวคริสเตียนนิกาย โรมันคาทอลิก และอีแวนเจลิคัลจำนวนมากไม่พอใจ และก่อตั้งพรรครัพัยลิกันให้เป็นบ้านทางการเมืองของคริสเตียนผิวขาวที่เป็นอนุรักษ์นิยม
ภายในปี 1980 พรรครีพับลิกัน ได้เคลื่นไหวเพื่อยอมรับอนุรักษนิยมทางสังคมอย่างเต็มที่ เพื่อพยายามดึงดูดผุ้มีสิทธิเลือกตั้งผิวขาวทีเคร่งศาสนาจากทุกนิกาย โรนัลด์ เรแกน ผุ้สมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในขณะนั้นกล่าวในงานที่มไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดอย่างเป็นทางการซึ่งเต็มไปด้วยผุ้เคร่งศาสนาหัวอนุรักษ์นิยมในปี 1980 ว่า "คุณไม่สามารถสนับสนุนฉันได้(ตามกฎหมาย) แต่ฉันอยากให้คุณรุ้ว่าฉันสนับสนุนคุณ"
ในขณะเดียวกัน เศรษฐกิจอเมริกาก็เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เร่ิมตั้แต่ช่วงทศวรรษ่ 1970 บริษัทต่างๆ เร่ิมจ้างงานห่วงโซ่อุปทานภายนอก เนือ่งจากการเติบโตทางเศราฐกิจของสหรัฐฯ หยุดชะงักและอัตราเงินเฟ้อสุงขึ้น ส่งผลให้จำนวนงานด้านการผลิตลดลง พนักงานในภาคการผลติตลดลงจาก 26% ของพนักงานนอกภาคเกษตรในช่วงหลังสงครามโลกครั้งท่ 2 ในปี 1970 เป็น 13% ในปี 2000
โรงงานปิดตัวลงประกอบกับการโจมตีสหภาพแรงงานของกลุ่มอนุรักษืนิยมอย่างไม่ลดละมหาหลายทศวรรษ ทำให้จำนวนสมาชิกสหภาพลดลงอย่างรวดเร็ว จำนวนสมาชิก สหภาพสูงสุดที่ 25% ในปี 1954 และลดลงเหนือ 20.9% ในปี 1980
บทบาทที่เพ่ิมมากขึ้นของศาสนาและเชื้อชาติในทางการเมือง ประกอบกับการเสือมถอยของสหภาพแรงงาน ก่อนให้เกิดแรงกดดันใหม่ๆ ต่อผุ้มีสิทธิเลือกตั้งที่เป็นคนผิวขาวและชนชั้นแรงงาน โดยเฉพาะคริสเตียนการลงคะแนนให้พรรคเดโมแครตเป็นทางเลือกที่ง่ายในสมัยที่การเมืองเป็นเรื่องของอัตลักษณ์ของชนชั้น แต่ในตอนนี้ พรรคการเมืองต่างๆ กำลังแข่งขันกั้นใประเด็เรื่องเชื้อชาติ ศาสนา เพศ และรศนิยมทางเพศเช่นกัน ซึ่งในชณะเดียวกัน ความผูกพันที่ยิ่งใหญ่ที่สุดระหว่างพรรคเดโมแครตและชนชั้นแรงงานผิวขาว หรือที่เรียกว่า สหภาพแรงงานก็เร่ิมลดน้อยลง
ผลที่ตามมาในช่วงต้นทศวรรษที่ 2000 คือ 79% ของเขต นิวดีล ดั้งเดิมที่มีคนผิวขาวเป็นชนชั้นแรงงานได้แยกตัวออกจากกลุ่มพันะมิตรเมื่อถึงปี 2016 มีเพียง 4% เท่านั้นที่ดหวตให้พรรคเดโมแครต
เมืองวิสคอนซินเป็นหนึ่งใน 4% นั้น เมืองใอินเดียนาและมินนิโซตาเป็นส่วนหนึ่งของ 96% เมืองในอินเดียนาเร่ิมลงคะแนนให้กับผุ้สมัครจากพรรครัพับลีกัน ในปี 1968 และเมือเวลาผ่านไป พรรครัพัลลิกันก็เขาครอบงำทุกระดับตำแหน่ง ขาวเมืองในมินนิโซดาแตกแยกกันระหว่างเดโมแครตและรีพับลิกันเป็นเวลาหลายทศวรรษ แต่เปลี่ยนมาสนับสนุนฝ่ายขวาในปี 2016
ลักษณะเฉพาะของท้องถ่ินอธิบายเส้นทางที่แตกต่างกันของพวกเขาเมืองอินเดียนานั้นอ่อนไหวต่อแรงดึงดูดการปรับโครงสร้างเชือชาติและการเมืองของคริสต์สาสนาอย่างชัดเจน เมืองที่มีประวัติของการปฏิบัติที่แบ่งแยกเชื้อชาติที่คงอยุ่จนถึงช่วงทศวรรษ 1960 และเมือถึงช่วงทศวรรษ 1980 ขบวนการแรงงานของเมืองก็แทบจะหายไปทั้งหมด ในขณะเดียวกัน โบสถ์ใน้องถ่ิน ซึ่งเดิมที่เป็นนิกายโรมันคาธอลิกและต่อมาเป็นนิกายอีแวนเจลิคัล ได้เริ่มประสานงานกับขบวนการต่อต้านการทำแท้ง ย้อนกลับไปในช่วงทศวรรษ 1900 เมืองอินเดียนามีโบสถ์อีแวนเจลิคัลมากว่าเมืองต่างๆ ในมินนิโซตาหรือวิสคอนซิน แต่เมืองนี้เร่ิมีความสำคัญหลังจากศาสนาอนุรักษ์นิยมเข้ามามีบทบาทางการเมืองในข่วงทศวรรษ 1870 ประสบการณ์นี้เป็นตัวอย่างที่ดีของเรื่องรวของเขตนิวดีลที่ย้ายเ้าไปอยู่ในรัฐบาลผสมของพรรครีพับลิกันในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ทั้งเมือในวิสคอนซินและมินนิโซตาต่างต่อต้านจนถึงช่วงปี 2000 ต่างจากเมืองในอินเดียนา ทั้งสองเมืองไ่มีคริสตจักรนิกายอีแวนเจลิดัลและยังคงมีขบวนการแรงงานที่จัดต้งขึ้นอย่างเป็ระบบตลอดช่วงปี 1990 หนังสือพิมพ์ท้องถ่ินบันทึกการหยุดงาน 56 ครั้งในเมืองวิสคอนซินระหว่างปี 1940-1990 และ 11 ครั้ง ในเมืองมินนิโซตา รวมทั้ง 2 ครั้งที่ทำให้ทั้งเมืองหยุดชะงัก
อย่างไรก็ตาม ในปี 2016 การเมืองของมินนิโซตาก็เปลียนไป เนืองจากเป็นเมืองของบริษัท การล้มละลายของนายจ้างรายใหญ่สุดของเมืองในช่วงทศวรรษ 1970 ตามมาด้วยการล่มสลายในที่สุดจาเหตุเพลิงไหม้ในช่วงปลายทศวรรษ 1990 ส่งผลให้ขบวนการแรงงานของเมพืงอพังทลาบลง การตำต่ำของอุตสาหกรรมในื้องถ่ินควบคุู่ไปกับการขาดแคลนแรงงนเป็นปราการ ทำให้ผุ้มีสิทธิเลือกตึ้งมีแนวโน้มที่จะรับคำเตือนของทรัมปืเกี่ยวกับลัทะิสังคมนิยมและการอพยพระหว่างประเทศซึ่งเป็นภัยคุกคามต่อการดำรงอยุ่ของเมืองประเภทนี้
เส้นทางของเมืองในรัฐอินเดียนาและมินนโซตาช่วยอธิบายว่าทำไมการสนับสนุนพรรคเดโมแครตของเมืองวิสคอนซินจึงเกิดขึ้นน้อยมากในหมู่คนผิวชาวชนชั้นแรงงานในเขตนิวดีล แม้ว่าการจัดต้ั้งแรงงานจะเร่ิมลดลงในเขตอุตสาหกรรมอาร์ตแลนด์ แต่สหภาพแรงงานของเมืองก็ยังคงวมีส่วนร่วมในกิจกรรมั้งในที่ทำงานและทางการเมือง ไมเ่พียงแต่ประท้วงเท่านั้น แต่ยังสนับสนุนผุ้สมัตรรับตำแหน่งในทื้องถ่ินที่ลงสมัครโดยใช้นโยบายแรงงานอีกด้วย ต่างจากมเืองในรัฐมินนิโซตา มเืองนี้ไม่เคยพึงพาผุ้จ้างรายเดียวมากนัก และร้านค้าสหภาพแรงงานหลายแห่งจากช่วงทศวรรษ 1950 ยังคงดำเนินกิจการอยุ่จนถึงปัจจุบันสหภาพแรงงานภาคเอกชนหลักซึ่งต่อมามีการเคลื่ีอนไหวที่เพ่ิมขึ้นในสสหภาพสาธารณะในท้องถ่ิน ได้ช่วยรักษาขบวนการแรงงานของเมืองไว้ได้ ซึ่งการรวมตัวนี้ได้สร้างชุมชน "ฮาร์ตแลนด์" ที่หายากซึ่งต่อต้านการโน้มน้าวไปทางฝ่ายขวาที่ล่อลวงผุ้อยู่อาศัยในเมืองชนชั้นแรงงานผิวขาวซึ่งเคยป็นรากฐานของกลุ่มพันธมิต นิวดีล
https://time.com/6958635/trump-biden-midwest-history/