วันอาทิตย์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Viêt

          คำว่า เหวียด เคยใช้ครั้งแรกในศตวรรษที่ 11 เพื่อเรียกดินแดนที่อยุ่ทางใต้ของจีนบนชายฝั่ง
มหาสมุทรแปซิผิกซึ่งถือว่าเป้นอาณาจักรแห่งแรกของเหวียดทางชายฝั่งภาคใต้ของจีนก่อนคริสต์ศักราช 1042 หรือประมาณ 3 พันปีมาแล้ว เหวยด มาจากคำว่า เยวะ เป็นคำที่ชาวจีนใช้เรียกชนกลุ่มต่างๆ ที่อยู่ชายแดนอาณาจักฮั่นและสามเหลี่ยมแม่น้ำแดง
          ชาวเวียดนามมักจะเปรียบรูปร่างประเทศของตนว่าเหมือนตะกร้าใส่ข้าวสองใบแขวนอยุ่ปลายสุดของไม้คาน คือ รูปตัว เอส มีความยาวกว่าว 1,200 ไมล์ มี่พื้นที่ทั้งหมดประมาณ 127,241 ตารางไมล์ พื้นที่ส่วนที่กว้างที่สุดประมาณ 300 ไมลและส่วนที่แคบที่สุดประมาณ 45 ไมล์ ตะกร้าใส่ข้าวทั้งสองคือบริเวณแม่นำ้แดงทางภาคเหนือและบริเวณแม่น้ำโขงทางภาคใต้ ไม่คานที่ใช้หาบตะกร้าคือแนวเทือกเขาซึ่งกันพรมแดนเวียดนาม-ลาว และเวียดนาม-กัมพูชา ประชากรส่วนใหญอยู่กันหนาแน่นตามที่ราบลุ่ม ส่วนบริเวณพื้นที่สูงจะเป้ฯที่อยุ่ของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ 
         ตำนานการเกิดประเทศเวียดนาม กล่าวว่า มีกษัตริย์องค์หนึ่งชื่อ หลาก ลอง เกวิน แห่งประเทศ ซิจ กวี๋ ซึ่งอยุ่ทางภาคกลางของจีนเป้ฯทายาทเทพเจ้าแห่งทะเล อภิเษกสมรสกับเทพธิดา เอิว เกอ อยู่ด้วยกันอย่างมีความสุขและมีบุตร 100 คน แต่เป็นเพราะทั้งสองมีกำเนิดที่แตกต่างและความไม่มั่นคงของชีวิตบนโลก ทั้งสองจึงตัดสินใจแยกกันอยู่โดยแบ่งลูกไปฝ่ายละ 50 คน กษัตริย์พาลูก 50 คนไปอยู่ในที่ราบและบริเวณฝั่งแม่น้ำ ส่วนเอิว เกอ พาลูก 50 คนไปอยู่ที่ภูเขามีป่าทึบ ดังนั่นจึงมีรัฐเกิดขึ้น 100 รัฐ เมื่อแยกตัวออกจาประเทศ ซิจ กวิ๋
           กษัตริย์ได้มอบอำนาจการปกครองให้กับลูกชายคนโต คือ หุ่ง เวือง ซึ่งเป้นผุ้สถาปนาราชวงศ์ ห่ง บ่าง ประเทศวัน ลาง หมายถึง ประเทศที่มีวัฒนธรรม ก็คือ ปฐมามของประเทศเวียดนามนั่นเอง
       
  ตามตำนาน ลูกๆ ทั้ง 100 คนนี้มีความสามัคคีกันรักใคร่กันเป็นอย่างดี อีกทั้งมีความกล้าหาญ ถือว่ารับส่วนนี้มาจากบิดา ในขณะเดียวกันก็รับเอาความสวยงาน ความมีเสน่ห์จากมารดาซึ่งสืบทอดมาให้เห็นในคนเวียดนามปัจจุบันว่า เป็นผู้ที่กลบ้าหาญ เป็นนักต่อสู้อดทนอย่างยิ่งยวด ในขณะเดียวกันก็เป็นผุ้มีเสน่ห์ สง่างามmodernpublishing.co.th/กำเนิดเวียดนาม
          ความเป็นมาของเวียดนามสามารถสืบย้อยกลับไปได้มากกว่า 4,000 ปีก่อน การค้นบพทางโบารณคดีจากปี พ.ศ. 2508 ได้ค้นพบซากของสองมนุษย์ดบราณสายพันธุ์ของมนุษย์ลิงชิมแปนซีได้แยกออกไปแล้ว ดดยมีความเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับ โฮโม อีเรทตัส ทใไ้สามารถย้อนไกลไปยุค สมัยไพลสโตซีนตอนกลาง อายุประมาณ 730,000-125,000 ปี เวียดนามโบราณจึงเป็นที่ตั้งของหนึ่งในอารยธรรมและสังคมที่เก่าแก่ที่สุดในโลกแห่งหนึ่ง ทำให้ชาวเวียดนามโบราณเป็นหนึ่งในคนกลุ่มแรกของโลกที่ทำการเกษตร...
        จากการวิจัยของโรงพยาบาลแซ็ง-ลุยในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศ ในการเปรียบเทียบชาวเวียดนามกับชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพันธุกรรมของประชากรอันใกล้ชิดด้วยวิธีการต่างๆ โดยมีตัวแสดเอกลักษณ์เจ็ดประการที่ไม่ซ้ำกัน ผลลัพธ์บ่งชี้ว่าเวียดนามเป็นชาติพันธุ์สืบมาจากการผสมของชาวจีนและไทย-ลาว
             ชนเผ่าตระกูลไท-ลาว เป็นชนเป่าที่ถือเป็นเครืองญาติกับชนเผ่าเวียดนามโบราณ นักมานุษยวิทยาที่สถาบันวิจัยชนเผ่าที่ฮานอย ถือว่า ไทย-ลาว เป็นชนเผ่าไทเผ่าหนึ่งที่นับได้ว่าเป็นเผ่าเดียวกันกับชนเผ่าเวียดโบราณ  โดยมีการสันนิษฐานว่าชาวเวียดดบราณอาจจะมีการที่ใช้ภาษาตระกุลภาษาไท-กะได ที่ใกล้เคียงกัน อาจมีการแต่างการ ความเชื่อ ที่คล้ายคลึงกัน ชาวเวียดโบราณนั้นเกิดจากการผสมผสานของหลายชนเผ่ามี ชาวจิง จากบริเวณตอนใต้ของมณฑลกวางสีของจีน และชาวไท-ลาว
            ก่อนที่ชาวเวียดจะถูกจีนยึดครองซึงทำให้ชาวเวียดะสูญเสียวัฒนธรรมอันเป็นเอำลักาณ์ของตนไป ชาวจีนที่เข้ามาปกครองเวียดนามใช้นโยบายกลืนชาติ บังคับให้ชาวเวียดนามแต่งกายแบบจีน ใช้ภาษาจีนเป็นภาษาราชการ เขียนตัวอักษรจีน ซึ่งเวียดนามได้พัฒนาอักษรเป็นของตัวเองหรือ จื้อโนม แต่ก็ยังปรากฎคำศัพท์บางคำที่ใกล้เคียงภาษาไทยและภาษาลาวอยุ่บ้าง..
           ในช่วงที่เป็นเอกราชปกครองตนเองภายหลังการกำจัดผู้รุกรานชาวจีนลงได้  แล้วจึงก่อตั้งราชวงศ์ของเวียดนาม ราชวงศ์แรกขึ้นมาในปี ค.ศ. 939 และขนาดนามประเทศว่าไดเวียด จากนั้น และมีราชวงศ์ปกครองต่อมาอีก ได้แก่ ราชวงศ์ดิญ ราชวงศ์เลยุคก่อน ราชวงศ์ลี้ ราชวงศ์เจิ่น ราชวงศ์โห๋ ราชวงศ์เล ราชวงศ์เต็ยเซิน ราชวงศ์เหงียน
           
ข้าราชการยุคราชวงศ์เหงียน
 ในยุคราชวงศ์เหงียน สัยพระเจ้ามินหมาง ซึ่งตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเหล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3 แห่งรชวงศ์จักรีป ในแง่นี้สำหรับราชวงศ์เหงียนย่อมถือว่า พระนั่งเกล้าฯ ไม่ได้มีบุญคุณฯต่อราชวงศ์เหงียนและต่อพระเจ้ามินหม่าง บุญคุณนั้นเป็นเรืองระหว่างพระพุทธยอดฟ้ารัชกาลที่ 1 กับพรเจ้ายาลองต้นวงศ์เหงียนเท่านั้น ซึ่งทั้งสองพระเงค์ก็วรรคตไปแล้ว ดังนั้น ราชวงศ์เหงียนจึงไม่อ้ยกว่าสยามในขณะนั้นนัก (เพราะกองทัพราชวงศ์เหงียนยุคนั้นมีพื้นฐานผสมผสามนระหว่างกองทัพดบราณแบบจีน และความเป้นกองทัพสมัยใหม่้เเบบฝรั้่งเศส เพราะได้อาวุธและครูฝึกมาจากฝรั่งเศส) ดังนั้น นี่จึงจะเป็นเหตุผลที่ราชสำนักเหงียนตัดสินใจขยายอิทธิพลเข้าไปในลาวและกัมพูชา ดดยฉวยโอกาสจากการที่กลุ่มของเจ้าอนุ(เจ้าอนุวงศ์)แห่งเวียงจันทน์ของลาว และพวกเจ้ากัมพุชาที่ต่อต้านสยามหนีมาขอความช่วยเหลือกับตนเป็น "ข้ออ้าง" อันชอบธรรมในการที่จะส่งทหารเข้าไปแทรกแซงในลาวและกัมพุชา นำมาสู่สงคราม "อานามสยามยุทธ" ซึ่งถือเป้นความขัดแย้งทางการทางการทหารอย่างเปิดเผยครั้งแรกในประวัติศาสตร์ระหวางสองรัฐจากสองอารยธรนรมคือ สยามแห่งลุ่มน้ำเจ้าพระยาแห่งอารยธรรมผสมอินเดีย-มอญ-เขมร กับไดเหวียด หรือเวียดนามแห่งลุ่มน้ำแดง-ภลุ่มน้ำดำ แห่งอารยธรรมขงจื่อ ซึ่งกินเวลายาวนานกว่า 14 ปี 
            ต่อมาเวียดนามตกเป็นอาณานิคมฝรั่งเศส และถูกปบ่งประเทศออกเป็นเวียดนามเหนือและเวียดนามใต้ กระทั่งเวียดนามใต้พ่ายแพ้ต่อฝ่ายคอมมิวนิสต์ เวียดนามจึงปกครองภายใต้ระบอบคอมมิวนิสต์ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา..  th.wikipedia.org/wiki/ประวัติศาสตร์เวียดนาม
             ติช นัท ฮันห์ กับหมุ่บ้านพลัม 
              ติช นัท ฮันท์ เป็นพระภิกษุชาวเวียดนาม ผุ้นำเสอนความคิด พุทธศาสนาต้องเป้นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน และพุทธธรรมเป็นสิ่งที่สามารถประยุกต์ใช้ให้เข้ากับวิธีชีวิตยุคปัจจุบันได้ ท่านเป็นที่รู้จักในฐาน พระเถระชั้นผุ้ใหญ พระอาจารย์เซน พระมหาเถระในพุทธศาสนามหายานผุ้สนการฝึกสมาธิภาวนา เป็นกวี นักเขียน นักต่อสู้เพื่อสันติภาพ
              ติช นัท ฮันห์ กำเนิเมือปี พงศ. 2469( ค.ศ.1926)  ในจังหวัดกวางสี ภาคกลางของเวียดนาม มีนาเดิมว่าเหงียน ซวน เป๋า ส่วน ติช นัท ฮันห์" ที่ถูกต้องออกเสียวกว่า ทิจ ญัด หัญ ซึ่งเป็นนามทางธรรมที่ได้รับหลังการบวช
              ใน พงศ. 2505 ได้รับทุนจากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตันเพื่อศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ จึงเดินทงไปศึกษายังประเทศสหรัฐอเมริกา หลังจากนั้น 1 ปี ก็ได้รับทุนอีกจากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย แต่ท่านตัดสินใจกลับเวียดนาม เพื่อสานต่อแนวคิดพุทธศาสนาที่รับใช้สังคม ดดยก่อตั้งดรงเรียนยุวชนรับใช้สังคม เยียวยาความเสียหายจากสงคราม และพัฒนาวงการสงฆ์ด้วยการสอน และนำเสอน้อเขียต่อสภาบันพุทธชั้นสูงด้วยคติว่า การกระทำและปัญญา ต้องไปด้วยกัน หรือ คณะดั่งกันและกัน โดยปฎิบัติตามสิกขาบท 14 ประการ ซึ่งเลือกเฟ้นมาจากแก่นคำสอนในพระพุทธศาสนา
             ในช่วงนั้นเป็นช่วงที่คุกรุ่นด้วยไฟสงครา และท่านตระหนักถึงการต่อสุ้เพื่อสันติภาพโดยรณรงค์ให้แก้ปัญหาที่ต้นเหตุคือรณรงค์ให้หยุดการสนับสนุสงครามโดยเฉพาะการแทรกแซงของสหรัฐฯ มุ่งเน้นสันติภาพ โดยปลูกจิตสำนึกผุ้คนทั่งดลกจนมารืติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ เสนอชื่อ ติช นัท ฮันห์ เข้ารับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ด้วยเหตุนี้รัฐบาลเวียดนามจึงปฏิเสธการกลับประเทศของท่าน แม้ว่าภายหลังจะมีัการรวมประเทศก็ตาม
            เมื่อเวียดนามปฏิเสธการกลับเข้าประเทศ ท่านจึงต้องลีภัยอย่งเป็นทางการไปพำนักที่ประเทศฝรั่งเศส โดยเป็นอาจารย์สอนประวัติสาสตร์ในมหาวิยาลัยและสร้างอาศรมนอกเมืองปารีสเพื่อเขียหนังสือและปลูกพืชสมุนไพร ระหว่งนั้นท่านยังคงทำงานเื่อสันติภาพ และเพื่อผู้ลี้ภัยอย่างสม่ำเสมอ การได้ร่วมทุกข์กับเพื่อนผุ้ลี้ภัีย ทำให้ท่านพบเห็นชะตากรรมของผุ้ตกทุกข์ได้ยากมากมายและมีวิธีการช่วยเหลือได้หลายช่องทาง หลายวิธีการ
             หมู่บ้านพลัม ติช นัท อัฯห์ ได้สร้าง "สังฆะ" ชุมชนแห่งการฝึกปฏิบัตเพื่อำเะนินชีวิตอย่างมีสติของพุทะบริษัท 4 ด้วยความตั้งใจที่จะแลกเปลี่ยนพระพุทะศาสนาในดินแดนตะวันตก สังหะ แห่งแรกตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2518  ชื่อว่า อาศรมมันเทศ ตั้งอบู่ทาตอนเหนือของประเทศฝรังเศส จากนั้นได้ย้ยลงไปทางตอนใต้และตั้งชื่อสังฆะแห่งใหม่นี้ว่า หมูบ้านพลัม ตามชื่อต้นพลัมที่ปลูกอยุ่ทั่วผืนดินแก่งนี้ 
         
  ปัจจุบัน มีชุมชนการปฏิบัติธรรมแห่งหมู่บ้านพลัมกระจายอยู่ในหลายประเทศ อาทิประเทศฝรัี่งเปสศ อเมิริการเอยรมัน ฮ่องกง และล่าสุดที่ประทเศไทย ดดยมีนักบวชกว่า 500 รุป จาก 20 ประเทศทั่วดลก และมีกลุ่มปฏิบัติธรรมตามแนวทางปมุ่บ้านพลัมหรือ "สังฆะ" เกือบหนึ่งพันกลุ่ม กระจายอยุ่ใน 31 ประเทศโลก2thaiplumvillage.org/index.php?option=com_content&view=category&layout=blog&id=32&Itemid=2
              ภาษาเวียดนาม เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์และเป็นภาษาทางการของประเทศเวียดนาม เป้นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึงร้อยละ 87 รวมถึงผุ้อพยพจาเหวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนามอเมริกัน เป็นจำนวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาาาจีนและเดิมใช้อักษรจีนเชียน แต่นักภาษาศาสตร์บยังคงภาษาเวียดนามให้เป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก ซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผุ้พุดมากที่สุด ( 10 เท่าของภาษาที่มีจำนวนคนพุดเป็นอันดับรองลงมา คือ ภาษาเขมร) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้น แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื้อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนาม เรียกว่า "จื้อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรดรมันที่พัฒนาขึ้นโดยมิชชันนารี ชาวฝรั่งเศส โดยเครืองหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต์th.wikipedia.org/wiki/ภาษาเวียดนาม

วันเสาร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Khmer

      อาณาจักรขอมโบราณ ก่อนยุคอาณาจักรขอมโบรารณ (ราวพุทธศักราชที่ 10-19) ซึงกินเพื่อที่ส่วน
ใหญ่ของดินแดนสุวรรณภูมินั้น เคยเป็นดินแดนที่อาณาจักรฟูนัน (ราวพุทธศักราชที่ 5/6-10) มาก่อน ทฤษฎีทางปะวัติศาสตร์โบราณสวนใหญ่เห็นวาอาณาจักรขอมโบราณเกิดยึ้นสืบเนืองจากอาราจักรฟูนันและอาณาจักรเจนละอาณาจักรขอมมีความสัมพันธ์กับทั้งสองอาณาจักรอย่างใกล้ชิด ดดยเฉาพ อาณาจักเจนละอาณาจักรฟูนันมศูนย์กลางอยุ่ที่เมืองอู่ทองและเมืองออกแก้ว (ไม่ทราบแน่ชัด) แต่มีชื่อเรียกในสมัยโบราณว่า "วยาธประ" มีอาณาเขตครอบคลุมดินแดนขอมมาก่อนในภาคกลาง ภาคอีสานของไทย ปัจจุบัน เช่น เมืองอู่ทอง (อ.อู่ทอง สุพรรณบุรี) มีการปกครองแบบเทวราช วัฒนธรรมแบบพราหมณ์ฮินดู หลักฐานที่ขุพบ ได้แก่ เทวรูป เครื่องประดับและเหรียญตรา ฟูนันเจริญรุ่งเรืองช่วงพูธศตวรรษ 6-10 มีความสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนแลอินเดีย วัฒนธรรมประเพณีของฟูนันคล้ายคลึงอินเดียมากอิทธิพลของอินเดียเริ่มเข้ามาในอินแดนสุวรรณ๓มิราวพุทธศักราชที่่ 6-7 โดยทางทะเล โดยขึ้นฝั่งบริเวณชายฝังเพื้นที่อินโดจีน ิทธิพลของอินเียวที่เห็นได้ชัด ได้แก่ ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพุทธศิลปกรรมสาขชาต่างๆ เช่น ปฏิมากรรม สถาปัตยกรรมและสาขาอื่นๆ ซึ่งอิทธิพลของอินเียอยู่ในดินแดนสุวรณภูมิมาจีถึงปัจจุบัน
          ตามตำนานขอมโบราณ พราหมณืเชื้อสายอินเดียชือ "โกณฑัญญะ" ซึ่งได้มาแต่างงานกับนางพญาขอมได้จักการปกครองอาณาจักรขอมให้เจริญรุ่งเรือง อาณาจักรอื่นๆ ใกล้เคียวได้แก อาณาจักรโครตบูรณ์ (ราวพุทธศักราชที่ 11-15 ) ซึงอยุ่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(ภาคเหนือของไทยและภาคกลางของลาว) ศูย์กลงอยุ่ท่นครพน (เชื่อว่าเมืองหลวงอยุ่บนฝั่งซ้ายขอวแม่น้ำโขง คือท่าแขกของลาว) นับถือศาสนาพุทธเถรวาท มีการสร้างเจดีย์สำคัญ คือ พระธาตุพนม อาณาจักโคตรบูรณืมีดินแดนที่กินพื้ที่จังหวัดอุรธานี หนองค่ย เวียงจันทร์ นครพนม (เจดีย์พระธาตุพนม) อุยบราชธานี และอาณาจักรทวาราวดี (ราวพุทธศักราชที่ 11-16) ที่มีอำนาจในบริวณลุ่มน้ำเจ้าพระยา นอกจากนี้ยังมีอาณาจักรอื่นๆ ในดินแดนสุวรรณภูมิ เช่น อาณาจักรศรีเกษตร (พยู) อาณาจักน่านเจ้า (หนองแส : ราวพุทธศักาชที่ 6/8-17) ของเผ่่าคนไทย อาณาจักรศรีวิชัย (ราวพุทธศักราชที่11-18) อาณาจักรเชียงแสน (โยนกและเงินยาง : ราวพุทธศักราชที่ 9/11-18) ของคนไทยอีกสายหนึง ต่อมาอาณาจักรขอมสามารถอาณาจักรโครตบูรณ์และอาณาจักรทวาราวดีทวาราวดีได้อาณาจักขอมโบราณแบ่งออกเป็น 4 ยุคได้แก่
ื        
- อาณาจักรขอมโบราณยุคแรก (ราวพุทธศตวรรษที่ 6/7-11) มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองปราสาทภู เขวงเมืองจัมปาศักดิ์ ประเทศลาว(จากหลักฐานการขุดค้นอาจเป็นอุบลราชธานี) ศูนย์กลางอยู่ที่เมืองอินทรปุระ(กัมปงจาม) ดินแดนกินพื้นที่บริเวณปกาแม่น้ำโขง กัมพุชา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย (สืบต่อมาจากอาณาจักรฟูนัน) บริเวณภาคตะวันออเแียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกของไทยปัจจุบัน รวมทังลุ่มน้ำเจ้าพระยา อาณาจักรขอมโบราณรับวัฒนธรรมมาจากอินเดีย ปกครองแบบเทวราช ระบบจตุสดมภ์ นับถือศาสนาพราหมณ์ มีการสร้างเทวรูปแลประสาทหิน ที่สำคัญคือนครวัด-นครธม ซึ่งนับเป็นสิ่งมหัจรรย์แห่งหนึ่งของโลก รวมทั้งประสาทอื่นๆ ในภาคตะวันออกเียงเหนือของไทยจำนวนมาก
       
 - ยุคสมัยก่อนพระนครหรืออาณาจักรเจนละ ราวพุทธศตวรรษที่ 11-14) กษัตริย์ยุคนี้คือ พระเจ้าชัยวรมันที่ 1 (แยกจากอาณาจักรฟูนัน)
           - ยุคเมืองพระนคร (ราว พ.ศ. 1345-1976) มีกษัตริย์ปกครอง 15 รัชกาล ต่อมาอาณาจักรขอมโบราณ ซึ่งยิ่งใหญ่ที่สุดในดินแดนสุวรรณภูมิได้ล่มสลายลง เนื่องถูกกองทัพประเทศสยาม (กรุงศรีอยุธยา) นำโดยพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา : พ.ศ. 1967-1991) ได้เข้ายึดเมืองพระนครได้ ทำให้พระองค์ท่านเป็นพระมหากษัตริย์ไทย ที่ทรงมีพระบราราชานุภาพสูงมากที่สุดพระองค์หนึงของประเทศไทย
            - ยุคหลังเมืองพระนคร มีร่องรอยทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฎอยู่ปัจจุบัน ได้แก่ เมืองศรีเทพ(เพรชบูรณ์) เมืองสรีวัตตะปุระ อ. ศรีมหาโพธิ์(ปราจีนบุรี) อำเภอระโนด (สงขลา) rawatzefza2.wordpress.com/กิจกรรมการเรียนรู้โครง/อาณาจักรขอม/อาณาจักรขอมโบราณ/
              ภาษาเขมร เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก และได้รับอิทธิพลมาจากภาาาสันสกฤตและภาษาบาลี พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้มาจากอิทธิพลของศาสนาพุทธและศาสนฮินดู ต่อวัฒนธรรมของชาวเขมรในขณะที่อิทธิพลอื่นๆ เช่น จากภาษาไทย ภาษาลาวและภาษเวยดนามเป้นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาาาและความใกล้ชิดกัในทางภูมิศาสตร์ ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน(ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม) เนื่องจากมไ่มีเสียงวรรณยุกต์
               อักรเขมร คือรูปอักษรที่ดัดแปลงมาจากอักษรหลังปัลลวะ (ราว พ.ศ. 1200-1400) ซึ่งเป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรปัลลวะ (ราว พ.ศ. 1100-1200) อีกต่อหนึ่ง อักษรปลลวะนี้ เป็นอักษรที่มาจากอินเียตอนใต้ซึ่งเป็นชุดอักษรที่มีกำเนิดมาจากอักษรพราหมี ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช (ราวพุทธ ศตวรรษที่ 3) จารึกอักษรเขมรเก่าสุดพบในปราสาทโบเรีย จ.ตาแก้ว ทางใต้ของพนมเปญ อายุราว พ.ศ. 1154 รูปแบบโบราณของอักษรเขมร ที่เรียกอักษรขอมเป็นแม่แบบของอักษรไทย อักษรลาว อักษรเขมรใช้เขียนภาษาเขมรและมนต์คาถา

               อักษรขอม พัฒนามาจากอักษรหลังปัลลวะ ซึ่งพัฒนามาจากอักษรปัลลงะอีกทีหนึ่งเป็นตัวอักษรของราชวงศ์ปัลลวะในอินเดียใต้ภายหลังได้มาติดต่อกับภูมิภาคอุษาคเนย์จึงได้ถ่ายทอดวัฒนธรรมซึ่งรวมถึงตัวอักษรไว้ให้กับกลุ่มคนที่อาศัยอยุ่บรเิวณนี้อีกด้วย ต่อมาอักษรชนิดนี้เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายในภูมิภาคนี้ มีวิวัฒนาการต่อไป จากอักษรปัลลวะ เป็นอักษรหลังปัลลงะ หลังจากนั้นก็แตกแขนงเป็นสองสาขาใหญ่ๆ คือ อักษรมอญโบราณ และอักษรขอมโบราณ
               อักษรขอมโบราณใช้ในอาณาจักรต่างๆ สองฝั่งแม่น้ำโขงตั้งแต่สมัยก่อนเมืองพระนครต่อมาจึงกลายเป็นอักษรท้องถ่ินในสมัยพระนคร และเป็นต้นแบบของอักษรไทยและอักษรเขมรในปัจจุบัน
               เอกลักษณ์ของอักษรขอม คเือ เปลี่ยนบ่าอักษรของอักษรปัลลวะเป็นศกหรือหนามเตย อักษรนี้พัฒนาไป 2 ทิศทาง คือ เป็นอักษรขอม ในประเทศไทย (ใช้เขียนภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาเขมร) และอักษรขอมในประเทศกัมพูชา (ใช้เขียนภาษาเขมร ภาษาบาลี)
             
อักษรขอมเขมร
 อักษรขอมในประเทศไทย พบหักฐานการใช้อักษรขอมโบราณเขียน ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร ในบริเวณภาคอีสาน ภาคกลางและภาคใจ้ ของประเทศทย ปัจจุบัน ระหว่งพุทธศตวรรษที่ 14-16 แต่จะไม่พบเอกสารโบราณประเภทจารึกที่ใช้อักษรขอมโบลราณ ในแถบภาคเหนือตั้งแต่จังหวัดตากขึ้นไป หลักฐานทำนองนี้รวมไปถึงโบราณสถาน ที่เรียกว่า ปราสาทหิน ปราสาทอิฐ และพระปรางค์แบบขอม หรือลพบุรีที่มีอยุ่ทั่วไปในภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคใต้ แต่ไม่เคยปรากฎอยู่ทางภาคเหนือ
               ในประเทศทไย อักษรขอมถือเป็นอักษรศักดิ์สิทธิ์ ใช้ในงานด้านศาสนาเป็นส่วนใหญ่อักษรขอมที่ใช้เขียนภาษาบาลีเรียกว่า อักษรขอมบาลี ส่วนที่ใช้เขียนภาษาไทยเรียกว่าขอมไทย ซึ่งมีอักขรวิธีต่างจากอักษรของกลุ่มอื่นๆ ต่อมา อักษรขอมไทยถูกแทนที่ด้วยอักษรไทย ส่วนอักษรขอมบาลียังคงใช้เขียนภาษาบาลีเรื่อยมา แม้จะมีการพัฒนาอักษรไทยและอักษรอริยกะมาเขียนภาษาบาลีก็ตาม อักษรขอมบาลีถูกยกเลิกไปในสมัย จอมพล ป.พิบูลสงคราม
              รูปแบบของอักษรขอมในประเทศไทยทั้งขอมไทยและขอมบาลี แข่งได้เป็น 3 แบบคือ
              - อักษรบรรจง เป็นรูปสีเหลี่ยม ทรงมน ใช้เขียนคัมภีร์ทางศาสนา
              - อักษรตัวเกษียณ เป็นตัวเแียงทแยง เอียงขวา ใช้บันทึกคำอธิบาย หรือเขียนหวัด
              - อักษรเฉียงขอมหรือเฉมเขม คล้ายอักษรเขมรแบบตัวเชรียง รูปสระและการประสมสระต่างไปจาก 2 แบบ ข้างต้นth.wikipedia.org/wiki/อักษรขอม
              อักษรขอมไทย สามารถพบได้ในคัีมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ตำรายา ตำราคาถาอาคม รูปยันต์ต่างๆ โดยมากปรากฎในแถบภาคกลาง และอาจพบได้บ้างในภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
              พยัญชนะมีทั้งหมด 35 ตัว ดดยแต่ละตัวมีทั้งรูปตังวเต็มกับตัวเชิงหรือพยัญชนะซ้อน มีการจัดบ่งเป็นวรรตามระบบภาษาสันสกฤต
       
ผังอักษรขอมไทยพร้อมตัวเชิง
           รูปพยัญชนะตามผังอักษรข้างต้นถอดเป็นพยัญชนะไทยได้ดังนี้
           วรรค กะ (แถวที่ 1 จากบน) ก ข ค ฆ ง
            วรรค จะ (แถวที่ 2) จ ฉ ช ฌ ญ
            วรรค ฎะ (แถวที่ 3) ฎ ฐ ฑ ฒ ณ
            วรรค ตะ (แถวที่ 4) ต ถ ท ธ น
            วรรค ปะ (แถวที่ 5) ป ผ พ ภ ม
            เศษวรรค (แถวที่ 6) ย ร ล ว ศ
            (แถวที่ 7) ษ ส ห ฬ อ
            รูปพยัญชนะอักษรขอมไทยน้อยกว่อักษรไทย 9 ตัว โดยรูปพยัญชนะที่ขาดไป 9 คือ ข ขวด ค คน ซ ฎ ด บ ฝ ฟ และ ฮ ซึ่งการเขียนคำที่มีพยัญชนะที่ขาดไปเป็นตังนี้
            ตัว ด ใช้ ฑ หรือ ตแทน, ตัว ฝ ใช้ผ แทน, ตัว ซ ใช้ ฌ ช หรือ ส แทน, ตัว บ และ ฟ นิยมนำรูปตัว  Khomthai - ป (ขอมบาลี), บ (ขอมไทย).png  (ป) ของอักษรขอมมาเขียนแทน บ และเพิ่มหางขึ้นเป็นรูปตัว  Khomthai - ป (ขอมไทย).png(ป) ส่วนตัว ฟ ใช้รูปตัว  Khomthai - พ.png(พ) ของอักษรขอมมาเติมหางเช่นกันเป็นรูป  Khomthai - ฟ.pngแต่ในหลายกรณี รูปตัว ป ของอักษรขอมทั้งที่มีหางและไม่มีหางมักใช้ปะปนกัน บางครั้งแทนเสียง ป บางครั้งแทนเสียง บ
               รูปตัว ฝ ใช้อักษรขอม ตัว พ เติมหางเช่นเดียวกับตัว ฟ
               ตัว ข ขวด ค คน ฎ ฮ ไม่มีที่ใช้ ดดยใช้ ข ค ฎ และ ห แทน
                ตัวสะกด นิยมเขียนด้วยรูปตัวเชิงใต้พยัญชนะต้นหรือสระ เว้นแต่พยัญชนะที่รูปสระหรือตัวควบกล้ำอยู่ข้างล่างอยู่แล้วจึงใช้รูปตัวเต็ม
                สระ แบ่งเป็นสระลอยกับสระจม รูปสระลอยใช้เขียนคำที่มีเสียง อ มีทั้งหมด 8 ตัว ได้แก่
                                      สระลอยในอักษรขอมไทย
                จากซ้าย อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
                 รูปสระจมหรือประสมคล้ายกับอักษรไทยปัจจุบัน ที่ต่างไปมีดังนี้
                 สระเอีย-นิยมเขียนด้วยตัวเชิงของตัว ย  Khomthai - ฑฺยว.png ดฺยว = เดียว หรือใช้ทั้งสระ เอ + อิ(อี) + ตัวเชิงของ ย เช่น Khomthai - เสีย.pngเสีย = เสีย
                 สระเอืด มีทั้งแบบที่ใช้รูปสระ เอ + อิ + อ เช่น  Khomthai - เพิอ.pngเพิอ = เพื่อ และ เอ + อิ (อี) + ตัวเชิงของ อ เช่น  Khomthai - เงื่อน.pngเงื่อน + เงื่อน
                Khomthai - เธอ.pngเธอ+ เํธอ และใช้สระเอ + อี +ตัวเชิงของ อ เมื่อมีตัวสะกด เช่น  Khomthai - เดีอม.pngเตือม= เติม หรือ ตัดตัวเชิงของ อ ใช้ตัวเชิงของตัวสะกดแทน
สระเออ ใช้สระ เอ กับตัวเชิงของ อ เมื่อไม่มีตัวสะกด เช่น
                สระอัว -้ ไม้หันอากาศกับตัวเชิงของ ว เมื่อไม่มีตัวสะกด หรือใช้ตัวเชิงของ ว อย่างเดียวเมื่อมีตัวสะกด เช่น  Khomthai - ตฺวฺย.pngตวย = ด้วย
               วรรณยุก การใช้ไม่แน่นอนมีทั้งที่ไม่เติมวรรณยุกต์ ใช้รูปวรรณยุกต์ต่างจากปัจจุบัน หรือใช้เหมือนกัน
               ไม้หันอากาศ มีทั้งเขียนบนพยัญชนะต้นและตัวสะกด บางครั้งไม่ใช้ไม้หันอากาสแต่เพ่ิมตัวสะกดเป็น 2 ตัวแทน เช่น  Khomthai - วนฺน.pngวนฺน = วัน,  Khomthai - ทัง.pngทงั = ทั้งth.wikipedia.org/wiki/อักษรขอมไทย







วันศุกร์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Mon..History of Mon

            มอญเผ่าพันธ์ตั้งเดิมแห่งกรุงหงสา ชนเผ่าที่มีภาษา วัฒนธรรม และประเพณี เป็นของตนเอง
กลุ่มชนที่อยุ่เป็นกลุ่มนอกระบบ ชนกลุ่มน้อยที่ไม่ยอมถูกชืมชนชาติอิสระที่ปกครองกันเอง เผ่าพันูุ์สมิงพระรามผู้เกรียงไกร ชนเผ่าที่ไร้แผ่นดิน กลุ่มชนที่ไม่มีบนแผนที่โลก ชนกลุ่มน้อยที่สหประชาชาติเมิน ชนชาติที่ถูกลืม..บนแผ่นดินสุวรรณภูมิ
           มอญ เป็นชนชาติเก่าแก่ ที่มีอารยธรรมรุ่งเรืองมากชนชาติหนึ่ง ในภูมิภาคนี้ ตามพงศาวดารพม่ากล่าวว่า "มอญ" เป็นชนชาติแรกที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในพม่ามาเป้นเวลาหลายศตวรรษก่อนคริสต์กาล ชาว "มอญ" เป็นพวกที่มีเชื้อสายอยุ่ ในกลุ่ม "มอญ" - เขมร และบางที่อาจจะอพยพมา จากตอนกลาางของทวีปเอเชีย เข้ามาตั้งอาณาจักรของตนทางตอนใต้ บริเวณลุ่มแม่น้ำสาละวินแ และสะโตง ซึงบริเวณนี้ในเอกสารของจีน และอินเดียเรียกว่า "สุวรรณภูมิ" ขณะเดียวกันในแถบตอนกลาง ของประเทศพม่าก็มีอาณาจักรหนึ่งที่เจริญรุ่งเรือง มาตั้งถ่ิน,านอยู่ นั่นก็คือ อาณาจักรพยู หรือ ศรีเกษตร พวกนี้ไม่เหมือนกับ "มอญ" หากเป็นพวกที่จัดอยู่ในเชื้อสายธิเบต-พม่า พวกพยู ได้ต้งแมืองหลวงแห่งแรกขึ้นที่ ศรีเกษตร ใกล้กับเมืองแปร ในปัจจุบัน และทุกวันนี้ ก็ยังคงมองเห็นเป้นซกปรักหักพัง ของสถาปัตย์แบบพุทธศาสนาหลายแห่ง โดยได้รับอิทธิพลมาจกสาสนพราหมณ์นั่นเอง..
            นักภูมิศาสตร์อาหรับบางท่านเรียกมอญวา รามัญประเทศ ซึ่งหมายถึง "ประเทศมอญ" คำนี้เพีนมาจากคำศัพท์โบราณของ "มอญ" คือ รามัญ ซึ่งเป็นคำที่ใช้เรียกตัวเองวา "มอญ" แต่พม่าเรียก "มอญ" วา "ตะเลง ซึ่งเพี้ยนมาจากคำว่า ตาลิกานา อันเป็นเป็นแค้วนหนึ่งทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดีย
           
 ตามตำนานกล่าวว่า มอญ เป็นผู้วางรากฐานสร้างเจดีย์ "ชเวดากอง" เป็นเวลาเกือบ 2,500 ปีมาแล้ว หากแต่ไม่สามารถพิสูจน์ได้ แรารู้แต่ว่า มอญ เป็ฯผู้นำศาสนาพุทธ เข้ามาในประเทศพม่า ในพุทธศตวรษที่ 2 อาณาจักรสุธรรมวดีหรือสะเทิม ซึ่งเป็นศูนย์กลาง ของ "อาณาจักรมอญ" มีสัมพันธ์ใกล้ชิด กับพระเจ้าอโศกมหาราช แห่งอินเดีย พระองค์ได้ส่งพระโสณะ และพระอุดตร มาประกาศพระพุทธศาสนา ที่เมืองนี้ก่อนเมืองใดๆ ในแถบสุวรรณภูมิ
                พงศาวดารมญ กล่าวถึงอาณาจักรสะเทิมว่า สร้างก่อน พ.ศ. 241 โดยพระราชโอรส 2 พระองค์ของพระเจ้าติสะ แห่งแควนหนึ่งของอินเดีย ได้นำพลพรรคลงเรือสำเภา มาจอดที่อ่าวเมาะตะมะ และตั้งถิ่นฐานที่นั่น วึ่งต่อมาเป็นที่ตั้งของเมืองสะเทิม ส่วนพระราชโอรสทั้งสอง ทรงเบื่อในการตีองเรือนจึงได้ออกบวชเป็นฤาษี บำเพ็ยตบะแก่กล้า จนวัหน่งได้นำลูกของพญานาคที่ทิ้งไว้ มาเลี้ยงดูเป็นบุตรบุญธรรม จนเมื่อเด็กเติบใหญ่ จึงไ้สร้างเมืองให้ ณ ปากอ่าวเมาะตะมะ ตรงที่สำเภมาจอด ให้ชื่อเมืองว่า สะเทิม ส่วนบุตรบุญธรรม ก็ได้รับการสถาปนาเป็นกษัตรยิ์นามว่า พระเจ้าสีหราชา ซึ่งได้เป็นปฐมกษัตริย์แห่งเมือง
           อาณาจักรสะเทิม รุ่งเรืองมาก โดยไดติดต่อค้าขาย ใกล้ชิดกับประเทศอินเดีย และลังกา และได้รับเอา อารยธรรมของอินเดียมาใช้ที่สำคัญคือทางด้านอักษรศาสตร์ และศาสนา โดยเฉพาะรับเอาพุทธศาสนานิกายหินยามมา มอญ เป็นชาติที่มีพบทบาทมากี่สุด ในการถ่ยทอดอารยธรรมอินเดีย ให้แก่ชนชาติอื่นๆ ในเอเชียอาคเนย์ เช่น ชาวพม่า ไทย และลาว ทั้งมีความเจริญสูง มีความรู้ดี ทางด้านการเกษตร และมีความชำนาญ ในกาชบประทาน โดยเป็นผู้ริเริ่มระบบชลประทานขึ้น ในลุ่มน้ำอิรวดี ทางตอนกลางของประเทศพม่า ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 พวกพยูได้ย้ายราชะานีไปอยู่ที่ ฮาลิน ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือในเขตแดนชเวโบ ในระยะเวลานั้นพวกน่านเจ้า ก็เข้ารุกรานทางตอนเหนือของพม่า  และทำสงครามกับพวกพยู ในปี พ.ศ. 1375 กวาดพวก "พยู" ก็หายไป ความอ่นแอของพวก "พยู" ทำให้ชนอีกพวกหนึ่ง ที่มีเชื้อสายเดียวกัน ได้แก่ พวกราม่า หรือพม่า ซึงอพยพมาจากบริเวณเขตแดนจีน-ทิเบต ได้เข้ามาตั้งหลักแหล่งทางตอนเหนือ ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 14 ได้เข้ารุกราน และยึดครองอินแดนของพวก "พยู" แล้วค่อยๆ กลืนพวก "พยู" จนสูญสิ้นชาติไปในที่สุด
              ในช่วงที่อาณาจัารพยูถูก "น่านเจ้า" รุกรานนั้น อาณาจักรมอญ ที่สะเทิน ก้ได้มีโอกาส ขยายอำาจไปทางภาคกลาง ของลุ่มแ่น้ำอิระวดีระยะหนึ่ง แต่ต่อมาเมื่อชนชาติพม่า มีอำนาจเหนืออาณาจักรพยู และได้ขยายอำาจลวมาทางใต้ ก็เข้ารุกรานพวกมอญทางภาคกลาง และลุ่มน้ำอิรวดี มอญในแถบนั้นจึงต้องถอยร่นลงมา รวมกำลังกันอยู่ทางตอนใต้เช่นเดิม และไ้สร้างเมืองหลวงขึ้นให่ที่ หงสาวดี เมื่อปี พ.ศ. 1368
          ตามตำนานพื้นเมืองของ "มอญ"...ดีว่า มีเจ้าชายสองพี่น้องจาะสะเทิม คือ เจ้าชายสามะละ และวิมะละ ได้มาตั้งเมืองหงสาวดีขึ้นบนเกาะ ซึ่งงอกออกมาจากทะเล อันเป็นบริเวณที่พระพุทธเจ้าทรงเห็นหงส์ 2 ตัว เล่นน้ำอยู่ เป็นส่วนหนึ่งของที่ราบลุ่มสามเหลี่ยม ริมฝั่งแม่น้ำอิระวดีซึ่งเรือของพ่อค้าอินเดีย เคยมาถึงเกาะดังกล่าวนั้นแล้ว แต่ "มอญ" ยังคงอ้างสิทธิ์ในเกาะนั้น แม้ว่าอินเดียวจะอ้างเป็นเจ้าของก็ตาม ต่อมาพระเจ้าสามะละพระเชษฎาได้ส่งพระอนุชาไปศึกษาต่อที่อินเดีย โดยสัญญาว่าเมื่อ
มอญปากเกร็ด
เสด็จกลับมาจะถวายราชสมบัติให้ แต่เมื่อเจ้าชายวิมะละเสด็จมา พระองค์ก็ไม่สนพระทัยทำตามสัญญา เจ้าชายวิมะละจึงก่อกบฎ และปลงพระชนพระเชษฎา แล้วยึดบัลลังก์ พระมเหสีของพระเจ้าสามะละ ได้นำพระราชโอรสหลบหนีไปอยุ่นอกเมือง บริเวณทุ่งเลี้ยงควาย จนเจ้าชายน้ยอเติบใหญ่ เป็นชายหนุ่มสูงใหย๋ กล้าหาญ และเข้มแข็ง เมื่อพระชนม์ได้ 16 ชันษา มีเรือพ่อค้าอินเดียมาท้ากษัตริย์ให้รบกับทหารอินเดีย ตัวสุงหญ่ โดยพนันเอาเมืองหงสาวดีกันกษัตริย์ทรงทราบดีว่าพระองค์ไม่สามารถสู้ได้  จึงประกาศหาผู้อาสามาบ แต่ไม่มีผุ้ใดอาสาเลย วันหนึ่งนายพรานออกป่าไปล่าสัตว์ ได้พบชายหนุ่มท่าทางเข้ฒแข็ง อยู่ท่ามกลางควายป่าดุร้าย ก็แปลกใจ จึงได้นำไปทูลต่อกษัตริย์ พระองค์จึงให้นำชายหนุ่มผุ้นั้นเข้าเผ้า และเมื่อทรงทราบว่าเป็นพระราชนัดดาของตนเอง ก็ทรงละอายพระทัยต่อความผิด ต่อมาชายหนุ่มผู้เป็นราชนัดดาของกษัตริย์ ได้อาสาออกรบ ปรากฎว่าได้รับชัยชนะในการต่อสู้ พระงค์จึงยินดีเป้นอย่างยิ่ง และได้คือราชบัลลังก์ให้เป็นรางวัลตอบแทน
             นอกจากนี้ในตำนาน ยังได้ให้รายพระนามกษัตรยิ์ที่ครองกรุงหงสาวดี ก่อนสมัยเจ้าฟ้ารั่ว แต่ไม่ทราบว่าถ๔กต้องหรือไม่ เพราะไม่มีเอกสารไดยืนยันได้ ซึ่งมีกษัตริย์ทั้งสิ้น 17 พระองค์ ตั้งแต่ พ.ศ.1368-1584
            หลังจากนั้นในช่วงปี 1,600-1,830 เป็นระยะที่กรงุหงสาวดี ตกอยู่ใต้อำนาจพุกามในพุทธศตวรรษที่ 16 "อาณาจักรสุธรรมวดี" ที่รุ่งเรืองก็สลายลงเนื่องจาก "พระเจ้าอนิรุทธ" กษัตรยิ์พม่าแห่ง "พุกาม" ได้ยกทัพมาตี และกวาดต้อนผู้คน ทรัพย์สมบัติ พระสงฆ์ พระไตรปิฎก กลับไปพุกามจำนวนมก รวมทั้ง "พระจ้ามนุหะ" กษัตริย์แห่งุธรรมวดีด้วย "พงศาวดารมอญ" บันทึกเหตุการณ์ครั้งนั้นว่า "เมืองสะเทินที่่ยิ่งใหญ่เหลือแต่ซากและเงียบสงบจับใจ"
มอญพระปะแดง
              การที่พระเจ้าอนุรุทธ์ ยกทัพมาตี "อาณาจักรมอญ" เป็นเพาะว่าขณะนั้น พระองค์ไม่พอใจในศาสนาเดิมของพุกาม ที่นับถือหมายานแบบตันตริก ซึ่งปนไสยศาสตร์ เรียกว่า "ลัทธิอริ" พระองค์ต้องการแก้ไข และทรงสนพระทัยในศาสนพุทธนิกายมหายาน ที่กำลังรุ่งเรืองมาก ในอาณาจักรสุทธรรมวดี ไปเผยแพร่ในพุกาม แต่เป็นการยาก เพราะพุกามขาดพระไตรปิฎก ดังนั้น พระองค์จึงส่งทูตไปขอพระไตรปิฎก จกพระเจ้ามนูนะแห่งสุธรรมวดี ตามคำแนะนำของ ชินอรหันต์ ซึ่งประวัติศาสตร์กล่าวว่า เป็นพระภิกษุมอยที่รงอาราธนา มาช่วยฟื้นฟูศาสนาในพุกาม แต่ว่าพระเจ้ามนูหะไม่ยินยอมให้ ทำให้พระเจ้านิรุทธ์ ซึ่งต้องการขยายอำนาจลงมาทางใต้อยู่แล้ว ฉวยโอกาสยกทัพมาตีสุธรรมวดี
              ในพงศาวดารมอญ กล่าวเป้นตำนานถึงการที่พระเจ้ามนูหะแพ้แก่พระเจ้าอนิรุทธว่า เป็นเพราะพระเจ้านอรุธได้ใช้กลวิธี ส่งพระราชธิดาของตนไปทำลายพระเจ้ามนูหะ ดยให้ธิดาของตนทำลายของวิเศษ 3 อย่ง ของพระเจ้ามนูหะ คือ ทำลายไม่ให้พระเจ้ามนูหะสมาทานศีล ทำลายกลองพิเศษ ทำลาย
มอญปทุมธานี
แม่ทัพ 2 คน ที่มีฝีมือเก่งกล้าในการรบ เมื่อพระธิดาสามารถทำลายได้แล้วทั้ง 3 อย่าง ก็ได้ส่งข่าวให้กองทัพของพระเจ้าอนิรุทธ์ กรีฑาทัพบุกเข้าตีสะเทิม จนอาณาจักรสะเทิมต้องแตกไปในที่สุด
               แม้ว่าพม่าจะได้ชัยชนะ แต่พม่าก็ต้องรับเอา "วัฒนธรรมของมอญ" มาเป้นของตนเอง "ภาษามอญ" ได้แทนที่ภาษาบาลี และสันสกฤตในจารึกหลวง และศาสนาพุทธเถรวาท ได้เ็นศษสนาที่นับถือสูงสุดในพุกาม ทั้งนี้เพราะ "มอญ" มีความใกล้ชิดกับลังกา ซึ่งขณะนั้นเป็นศูนย์กลาง ของพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท และนิกายนี้ก็ได้แพร่กระจายไปทั่วเอเซียอาคเนย์
           กษัตริย์พุกาม ผู้ซึ่งดำเนินนโยบายรวม "มอญ" กับพม่าเข้าด้วยกัน ตามนโยบายแบบเดียวกับพระเจ้าอนิรุทธ์ อีกพระองค์หนึ่งก็คือ พระเจ้ากยันสิทธะพระองค์ทรงดำเนินนโยบาย โดยทรงผูกมิตรกับราชตระกูลของพระเจ้ามนูหะ "กษัตริย์มอญ" แห่งสะเทิม โดยการยกพระเจ้าอลองคะสิทธินี้เองที่ "อาณาจักรพุกาม" ได้รวมตัวกันเป็นปึกแผ่นที่สุด นอกจากนี้ในสมัยของพรเจ้ายันสิทธะ ศิลาจารึกของพระองค์จะมีทั้ง "ภาษามอญ" และภาษาพม่า คำประกาศใน "ภาษามอญ" ก็ยกย่อง "วัฒนธรรมมอญ" เหนือกว่าวัฒนธรรมพม่าด้วย
              มอญ ได้ตกอยุ่ใต้อำนาจของพม่า มาจนถึงปี พ.ศ. 1830 เมื่อ "มองโกล"ยกทัพมาตรพม่า มอญ ก็ไดรับเอกราชอีกครั้งหนึ่งโดย มะกะโท หรือพระเจ้าฟ้ารั่ว หรือวาเรรุ ราชบุตรเขยของ "พ่อขุนhttp://www.openbase.in.th/node/9781
รามคำแหง" ได้กอบกู้เอกราช และสถาปนาราชวง ชาน-ตะเลง สถาปนา "อาณาจักมอญอิสระ" มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองเมาะตะมะ เมาะตะมะ เป็นเมืองหลวงของมอญจนถึงปี พ.ศ. 1912 ก็ย้ายกลับไปหงสาวดีตามเดิม ถึงในสมัย "พระเจ้าราชาธิราช" นั้น "หงสาวดี" ก็กลายเป็นศูย์กลางทางการค้าที่ ใหญ่โต ทางแถบ "อ่าวเบงกอล" มีเมืองท่าที่สำคัญหลายแห่ง "อาณาจักรมอญ" เจริญสูงสุดในสมัยพระเจ้าธรรมเจดีย์ คือ ระหว่าง พงศ. 2015-2035 หลังจากนั้นในปี พงศ. 2094 หงสาวดีก็เสียแก่ พรเจ้า "ตะเบชะเวตี้" กษัตริย์พม่า ซึ่งในช่วงนี้เองที่ราชวงศ์ตองอูของพม่าขึ้นปกครองหงสาวดี จนถึงปี พ.ศ.2283 สมิงทอพุทธิเกศ ก็กู้เอกราชคืน มาจากพม่าได้สำเร็จ ทั้งยังยกทัพไปตีเมืองอังวะอีกด้วย ใน พ.ศ. 2290 พระยาทะละ ได้ครองอำนาจแทนสมิงทอพุทธเกศ ได้ทำการขยายอาณาเขตต่อไป ทำให้อาณาจักรพม่าสลายตัวลง แต่ "ชัยชนะของมญ" ก็เป็นช่วงสั้นๆ เท่านั้น ในปี พ.ศ. 2300 อลองพญา ก็กู้อิสราพของพม่ากลับคืนมาได้ ทั้งยังได้โจตีมอญ จนต้องตกอยุ่ภายใต้อำนาจพม่า และนับตั้งแต่นั้นมา มอญ ก็ไม่มีโอากาสที่จะกู้เอกราชคืนมาได้อีกเลย
            การอพยพหลังจากพ่ายแพ้สงครามเข้ามาสู่ประเทศไทยของชาวมอญ หลายต่อหลายดังนี้
             - เมื่อ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตีตีหงสาวดีแตกใน พ.ศ. 2082 ชาวมอญจำนวนมากหนีเข้ามกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าแผ่นดินโปรดฯให้ตั้งบ้านเรือนอยู่แถบตัวเมืองกรุงศรีอยุธยาชั้นนอก ซึ่งเป็นการอพยพระรอกแรกของชาวมอญ
           
  - เมื่อพระนเรศวรเสด็จไปพม่าเมื่อครววพระเจ้าบุเรงนองสิ้นพระชนม์ แล้วประกาศเอกราช ทรงชักชวนมอญที่เข้าสวาิภักดิ์ ให้อพยพเข้ามาพร้อมกัน ราว พ.ศ. 2127 ในการอพยพครั้งนี้ไม่ปรากฎว่าพระเจ้าแผ่นดินโปรดฯให้ตั้งบ้านเรือนที่ใด แต่คาดว่าคงเป็นย่านเดียวกับการอพยพครวแรก
               - เมื่อหงสาวดีถูก "ยะไข่" ทำลายใน พ.ศ. 2138 ครั้งนี้มีการอพยพใหญ่ของมอญ มาทางตะวันออกเข้าสู่ดินแดนของกรุงศรีอยุธยาอีก
               - หลังจากที่ราชวงศ์ตองอูย้ายราชธานีไปอยู่ที่อังวะ หลังจากหงสาวดีถูกทำลายแล้วพวกมอญ ตั้งอำนาจขึ้นใหม่ในดินแดนของตน ต่อมา ถึงรัชการพระจเ้านอกเปกหลุน พม่าจึงยกทัพมาปราบพวกมอญอีกใน พ.ศ. 2156 ทำให้เกิดการอพยพของมอญเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาอีก หลักฐานบางอย่างกล่าว่า มอญ กลุ่มนี้ได้รับอนุญาตให้ตั้งภูมิลำเนอยู่ตามแยวชายแดนไทย
               - ใน พ.ศ. 2204-2205 พวกมอญในเมืองเมาะตะมะก่อการกบฎขึ้นอีก แต่ถูกพม่าปราบลง จึงต้องอพยพหนีเข้ากรุงศรีอยุธยาอีกระลอกหนึ่ง ผ่านทางด่านเจดีย์สามอง๕์ เข้าใจว่ากลุ่มนี้สัมพันธ์กับกลุ่มมอญที่ตั้งอยู่ชายแดน
               - หลังจากที่มอญสามารถตั้งอาณาจักรของตนขึ้นได้ใหม่ในปลายราชวงศ์ตองอู แล้วยกกำลังไปตีกรุงอังวะแตก อลองพญารวบรวมกำลังพม่าแล้วลุกขึ้จต่่อสู่จนในที่สุดก็ตั้งราชวงศ์อลองพญาได้ และใน พ.ศ. 2300 ก็สามารถตีหงสาวดีได้อีก นโยบยของราชวงศ์นี้ คือ กลืน มอญ ให้เป็ฯพม่าโดยวิธีรุนแรง จึงมีชาวมอญอพยพหนีมาสู่เมืองไทย อีกหลายระลอก รวมทั้งหลุ่มที่หนีขึ้เหนือไปสู่ล้านนา และเรียกกันว่าพวก "เม็ง" ในปัจจุบัน
              - ใน พ.ศ. 2316 ตรงกับแผ่นดินกรุงธนบุรี มอญก่อกบฎในย่างกุ้ง พม่าปราบปรามอย่างทารุณแล้วเผ่าย่างกุ้งจนราบเรียบ ทำให้มอญอพยพเข้าไทยอี พระเจ้าตากสินทรงโปรดฯ ให้ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ปากเกร็ด ซึ่งทำให้เกิดกลุ่มมอญเก่า (พระยารมัญวงศ์) และมอญใหม่ (พระเจ้าเจ่ง) คนที่นับตัวเอง เป็นมอญ ในปัจจุบันล้วนอพยพเข้ามาจากระลอกนี้ หรือหลังจากนี้ทั้งนั้นส่วน มอญ ที่อพยพก่อหน้านี้กลืนหายเป็นไทยไปหมด แม้แต่กลุ่มที่อยุ่ตามชายแดนแถบเมืองกาญจนบุรี
             
 - ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ยึดเมืองทวายได้ แต่รักษาไว้ไม่ได้ต้องถอยกลับเข้าไทย ก็นำเอาพวกมอญโดยเฉพาะที่เป็นพวกหัวหน้าเข้ามาอีก
               - ในสัยพระสมเด็จพระพุทธเลิดหล้านภาลัย เมื่อ มอญ ไม่พอใจที่ถูกพม่าเกณฑ์แรงงานก่อสร้างพรเจดีย์จึงก่อกบฎที่เมืองเมะตะมะ ถูกพม่าปราบ ต้องหนีเข้าไทยเป็นระลอกใหญ่มาก ราวสีหมืนคนเศษ เจ้าฟ้ามงกุฎ(ต่อมาคือรัชกาลที่ 4) ทรงเสด็จเป็นแม่กองพร้อมด้วยกรมหลวงพิทักษ์มนตรี ออกไปรับถึงชายแดน พวกนี้มาตั้งรกรากที่สามโคก (ปทุมธาน) ปากเกร็ด และพระประแดง มอญที่อพยพเข้ามครั้งนี้เรียกกันว่ามอญใหญ่http://siamois-wenhua.thai-forum.net/t202-topic

วันพฤหัสบดีที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Local

               ภาษาราชาการของประเทศสมาชิกอเซียน แต่ละชาตินั้น มีทั้งความแตกต่างกันและความเหใื่อนสำหรับประเทศอินโดนีเซีย มีภาษาราชาการคือ  บาฮาซา อินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซียน ภาาาราชการคือ ภาษามาเลย์ หรือภาษามลายู, ประเทศฟิลิปปินส์ ภาษาราชการตือ ภาษาฟิลิปปินส์ ประเทศบรูไน ภาาราชการตือ ภาษามาเลย์ ประเทศเวียดนาม ภาษาราชการคือ ภาษาเวียดนาม ประเทศลาว ภาษาราชการคือ ภาษาลาว ประเทศพม่า ภาษาราชการคือ ภาษาพม่า ประเทศกัมพุชา ภษาราชการคือ ภาษาเขมร และประเทศไทยภาษาราชการคือ ภาษาไทย
             ทั้งนี้ เพื่อให้การติดต่อสื่อสารให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ประชาคมอาเวยได้กำหนดให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการทำงานของอาเซียน ตามกฎบัตรอาเซียน ข้อ 34 โดยภาษาอังกฤษจะเป็นภาษาที่ใช้ในระหว่างการประชุม การโต้ตอบทางจดหมาย การจัดทำรายงานการประชุม ผลการพิจารณาและมติที่ประชุมตลอดจนการจัดทำคำแถลงการณ์ และการปฏิสัมพันธ์ต่างๆ ของอาเซียน ซึ่งในประเทศสมาชิกที่กล่าวมาในข้างต้นมีเพียงประเทศสิงคฮโปร์ประเทศเดียวที่ใช้ภาษารชการ เป็นภาษาอังกฤษ และเป็นภาษาอาเซียน
            นอกจากภาษาราชการ และภาษาอังกฤษ ในกลุ่มประเทศอาเวียน ทั้ง 10 ชาติยังมีภาษาถิ่นที่ประชาชนแต่ละพื้นที่ใสช้ติดต่อสื่อสารกันยกตัวอย่าง ภาษาในประเทศไทย มีผู้พูดหลายภาษาด้วยกัน โดยมีภาษาหลักคือภาษาไทยมาตรฐาน นอกจากนั้นยังมีภาษาถิ่น่ย่อย และภาษาอื่นๆ อีกหลายตระกูลภา โดยรวมมีผู้ใช้ภาษาราว 74 ภาษาในประเทศไทยได้แก่ ภาษาไทยภาคกลาง ภาษาไทยถินใต้ ภาษาไทยโคราช ไทยอีสาน การอู้กำเมือง เป้นต้น ขณะเดียวกันก็มีภาษาจีนอีกหลายถิ่นย่อย เช่น จีนแต้จิ๋ว จีนกลาง จีนแคะ ภาษาจีนกวางตุ้ง และชนเชื้อสายอื่นในประเทไทย เช่น ตระกูลภาาาไทดำ/โซ่ง มอญ เขมร อ่าข่า กุย/กวย พม่า ไทยใหญ่ ปกาเกะญอ และภาษามลายูถิ่น เป็นต้น
            ภาษาถิ่นแต่ละภาษาสะทอนถึงระบบคิด ระบบความรู้ของมนุษย์ในเรื่องของภูมิปัญญาท้องถิ่น อันเ็นอัตลักษณ์ที่โดดเด่น ทั้งในทางวัฒนธรรมของชาติ และวิถีชีวิต ซึ่งล้วนแต่ควรค่าแก่การอนุรกษ์ให้คงอยู่คู่ชุมชนท้องถ่ิน ที่สำคัญการรักษาทุกภาษาให้คงอยู่ เปรีบได้กับการรักษามรดกของมนุษยชาติ ปละภูมิปัญญาท้องถิ่น ทั้นี้หากศัพท์บางศัพท์หายไป ก็อาจเป็นการสูญเสยภูมิปัญญาท้องถ่ินนั้นๆ ไปด้วย เพื่อเป็นการรักษามรดกของมนุษย์ชาติ และสร้างความเสมอภาคทางสังคม ด้านการศึกษา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ร่วมกับ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล และองค์การยูนิเซฟประเทศไทย ให้การสนับสนุน "โครงการจัดการเรียนการสอนแบบทวิ-พนุภาษาไทย-มลายูปาตานี ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย" หรือ "ทวิภาษา" โดยมี ศาสสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สุวิไล เปรมศรีรัตน์ เป็นหัวหน้าโครงการฯ ซึ่งเป็นหนึ่งในภาษาถิ่นของอาเซียน โดยบมีโรงเรียนที่เข้าโครงการจำนวน 16 โรงเรียน ใน 4 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ ได้แก่ ปัตตานี ยะลา นรธิวาส และสตูล
             สำหรับโครงการทวิภาษามีจุดมุ่งหมายที่จะเสริมสร้างความเข้มแข็งและความปรองดองด้วยการเรียนการสอนแบบทวิภาาาที่จัดขึ้นเพื่อกลุ่คนมลายูถิ่นปัตตานี ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หสึ่งที่อาศยอยุ่ทางภาคใต้ของประเทศไทยตั้งแต่ชั้นอนุบาลจนถึงประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการศึกษาวิจัยตลอด 9 ปี ที่ผ่านมมีผลวิจัยว่าเด็กมีผลการเรียนที่ดีขึ้น และมีพื้นฐานที่ดีในการอ่านเขียนภาษาไทย ควบคู่กับการอ่านและสื่อสารมลายูถิ่น เชื่อมโยงจากสื่อเก่าไปสื่อใหม่ ที่เป็นภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถือเป็นการลงทุนด้านการวิจัยที่มี "แอคชั่น" คือ สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้จริง
           
เจาะตลาดอาเซียนโดยใช้ภาษาท้องถิ่น
ที่สำคัญโครงการทวิภาษาฯ ใช้พลังของภาษาแม่เพื่อช่วยแก้ปัญหาเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่ต่ำกว่ามาตรฐาน ที่เป้ฯปัญหาเรื้อรังมาเป็นเวลานาน ซึ่งจะช่วยสังคมและภาษาดีขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยให้เด็ก ๆ รู้สึกภูมิใจในภาษาถ่ินของตน ได้เรียนรู้ที่จะยอุ่ร่วมกับกลุ่มคนอื่นๆ ที่ใช้ภาษาที่แตกต่างจากตนเอง คนไทยและคนมลายูจะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างมประสิทธิภาพเนื่องจากพวกเขาต้องอาศัยอยู่ในประเทศเดียวกัน และวังเป็อย่างยิ่งว่าโครงกาทวิภาษา จะถูกผลักดันให้มีการนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป โดยเฉพาะในระดับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
            แม้ที่ผ่านมาการดำเนินงานของทีมวิจัย จะมีเสียงต่อต้าน ด้วยข้อกังวลยางประการ แต่เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง ทั้งจากสภานการณ์ และวัน เวลา สังคมควรเรียนรุ้การเปลี่ยนแปลง และยอมรับทั้งนี้หากมองในแง่ลบโครงการนี้อาจมีผลต่อภาษาถ่ิที่มีกรใชมาอย่างยาวนาน แต่ถ้ามองในทางวก เป้ฯการเก็บภาษามลายูเอาไว้ในรูปแบบของภษาไทย ในขณะเดียวกัย โครงการดังกล่าวเป็นการช่วยให้เด็กจังหวัดชายแดนใต้ในบางพื้ที่ ให้ได้มีโอกาสทางด้านการศึกษาอย่างเท่าเทียม และเสมอภาค
            ปัจจุบัการจัดการเรียนการสอนแบบทวิภาษา (ภาษาไทย-มลายูถิ่น) ถูกนำไปประยุกต์ใช้กับเยาชนในพื้นที่อื่นๆ ที่มีภาษาและวัฒนธรรมท้องถิ่นต่างไปจากภาษาและวัฒนธรรมสส่วนกลาง ได้แก่ หลุ่มเขมรถิ่นไทย จ.สุรินทร์ กลุ่มชมุ จ. น่านกลุ่มละเวือะ จ. แม่ฮ่องสอน เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้รับการเสนอให้เป็นต้นแบบ สำหรับการจัดศึกษาของประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซย ลาวและประเทศเพื่อนบ้านอื่นๆ ซึ่งถือเป็นความร่วมมือในระดับอาเซียน
            ทั้งนี้ ความสำเร็จในการอนุรักษ์ภาษาถิ่น และการแก้ปัญหาทางด้านการศึกษา โดยโครงการทวิภาษา ได้รับการยกย่อง และมอบรางวัล เนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปี "วันรู้หนังสือโลก" 8 กันยายน 2559 จากองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก ...http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/639409
              สรุปความจากสัมนาวิชาการรัฐประศาสนสาตร์ (นโยบายสาธารณะ) "ประชาคมอาเซียน..จุดเปลี่ยนท้องถิ่นไทย คณะสังคมศาสตร์ ม.นเรศวร
              ผศ.ดร. อัชกรณ์ วงศ์ปรีดี กล่าวสรุปใน 6 ประเด็นดังนี้
              - การเตรียมโครงสร้างพั้นฐาน หมายถึงการเตรียมโครงสร้างพื้นที่ อปท.ต้องเรียวมรับกับโครงสร้างใหญ่ของประเทศ
              - การเตรียมการสร้างมุลค่าเพิ่มของสินค้า เช่นเรื่อง แพกเกจ การบรรจุหีบห่อ การไม่มีแบรนด์เป็นของตัวเอกในระดับอุตสาหกรรม จึงทำให้อุตสาหกรรมในบ้านเราเป็นเพียงการรับจ้างผลิต การเตรียมคนพัฒนาฝีเมือด้านทักษะอาจเป็นส่วนหนึ่งในการเตรียมความพร้อมได้ ควบคู่ไปกับการพัฒนา  ภาคบริการซึ่งเป็นภาคที่ทำรายได้ให้ประเทศมาก ดร. ปรีชา เรื่องจันทร์ ผู้ว่าราชการพิษณุโลกพุดหลายๆครั้งว่า "ผู้ว่าฯ มีหน้าที่นำนักท่องเที่ยวมากองในจังหวัด ผุ้ประกอบการ อปท.ทุกอย่างมีหน้าที่เอาเงินออกจากกระเป๋านักท่องเที่ยว" เป็นความคิดที่ดีและเป็นสิ่งที่เป็นจริง...
             - แผนรับมือภัยพิบัติ สาธารณะภัย เช่นปัญหาน้ำท่วมที่ผ่านมา มีโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม นวนคร 200-300 โรงงานกลับมาเป็นประมาณ 180 โรงงานที่เหลือยังคงลังเลอยู่ หากเกิดการต่อสู้แข่งขันในสถานะกาณณ์แบบนี้ เราเป็นผู้รับจ้างการผลิตเราต้องเตรียม มาตรการป้องกัน ระดับท้องถ่ิน ตัวอย่างเช่น เทศบาลนครปากเกร็ด "ปากเกร็ดโมเดล"เป็นการป้องกันน้ำท่วม มีทัเ้งหมด 400,000 ครัวเรือน น้ำท่วมไป 2,000 ครัวเรือน นายกเทศมนตรีใช้เงินสะสมสำรองจ่าง 150 ล้านบาท โดยไม่ต้องใช้เงินของประเทศ ถ้าเกิดน้ำท่วมทั้งหมด 400,000 ครัวเรือน รัฐบาลจะต้องเข้ามาช่วยเหลือทั้งหมด..
            - เรื่องภาษา เครื่องมือทางภาษ ไม่เฉพาะแค่ภาาาอังกฤษเท่านั้น อปท. ที่อยุ่ใกล้พม่าก็ควรจะสื่อสารกับพวกเค้าได้ หนังสือพิมพ์ออนไลน์ภาษาไทยคนประเทศลาวสามารถอ่านหนังสือพิมพ์ของประเทศไทยไ้ แต่คนไทยอ่านหนังสือของประเทศลาวไม่ออก นี้ความเสียงเปรียบของคนไทยแล้ว เป็นต้น
            - แผนกลยุทธ์ขององค์กรปกครองท้องถิ่น นอกจากจะมีแผน 3 ปี 5 ปี 10 ปี ข้าหน้าเราอยากเห็น อปท.ของเราเป้นอย่างไร ต้องมีกลยุทธ์ เป็นต้น
            - การเปิดใจรับความแปลกแยก แตกต่าง ทั้งทาการเมือง เศราฐกิจทางสังคมทั้งระดับภูมิภาค และระดับประเทศ...http://oknation.nationtv.tv/blog/dhiwakorn/2013/06/07/entry-1
             สรุปความจากการสัมมนา "มุมมองจากชุมชนท้องถ่ินเรื่องการเปิดเสรีอาเซียน" หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (วัฒนธรรมศึกษา) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สวก.) ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น ศุนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น จังหวัดนครศรีธรรมราช ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น อ่าวปัตตานีและสหภาพยุโรป ทำให้รู้ว่าคนจำนวนไม่น้อยยังมองภาพของ้องถ่ินกับอาเวียนแยกขาดจากกัน เพราะมองไม่เห็นจุดเชื่อโยงและสิ่งที่จะตามเข้ามาหลังเปิดประชาคมอาเซียนจึงทำให้หลายพื้นที่ยังไม่ตื่นตัว
         
 รศ.ดร. อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม แสดงปาฐกถาเรื่อง "การเปิดเสรีอาเซียนคืออะไร ส่งผลกระทบต่อชุมชนท้องถิ่นอย่างไร" ที่เปิดประเด็นว่าการเปิดเสรีอาเซียนเป็นโอกาศของใคร "กลุ่มรัฐและนายทุน" คือคำตอบที่ชัดเจน แต่ในทางกลับกันมิติของคนเล็กคนน้อยกลับขาดหายไป
           ที่ผ่านมาการนำเสนอภาพ "อาเซียน"ถูกนำเสนอแต่ในแง่มุมที่ดี เป้นมายาคติที่ว่าจะทำให้ก้าวข้ามพ้นกรอบรัฐชาติ เป้นการสร้างพื้นที่ทางการต้าการลงทุนให้ใหญ่ และเกิดตลาดใหญ่อาเวียนโผล่ขึ้นมา..ซึ่งจะเกิดประเด็น "ปลาใหญ่กินปลาเล็ก" นายทุนใหญ่ทุกประเทศจะมีโอกาสขยายตัว ข้ามออกเขตพื้นที่ของรัฐชาติไปแสวงหาประโยชน์ในประเทศเพื่อนบ้าน แต่เมื่อสำรวจแล้วคนที่ได้รับประโยชน์หลัก ได้แก่ "กลุ่มมยอดบนภูเขา" สำหรับประเทศไทยแล้วมีจำนวนอยู่ไม่เกิน  หกพันคน และแรงงานมีฝีมืออักประมาณ หนึ่งล้านห้าแสนคน ซึ่งคนเหล่านี้จะได้รับโอกาสที่จะเคลื่อนยายแรงงานไปได้หลายที่ แต่ในความเป็นตริงประเทศไทยมประชการ ประมาณ67 ล้านคน เป้นวัยทำงาน 30 ล้านคน จึงถือได้ว่าคนกลุ่มนอยเท่านั้นที่ได้รับประโยชน์ไ่เป็นทางการ ซึ่งเป็นอาชีพของคนเล็กคนน้อย ที่ถือเป็น "แรงงานอาเซียน" ในประเทศไทยมีอยุ่ถึงร้อยละ 65
          เมื่อทรัพยากรถุกป้อนเข้าสูระบบของรัฐและตลาดทุน "หลังพิง" ของคนเหล่านี้จะหายไป ไม่ว่าจะเป้นทะเล ภูเขา ในที่สุดก็จะถูกบีบให้เลือกและเป็นบุคคลผุ้เลื่อนฐานะในสังคมไม่ได้ ซึ่ง รศ.ดร.อรรถจักร์ได้เสนอทางออกไว้ "อาเซียนภาคประชาชน" คือหนทางที่จะสามารถสร้างอำนาจต่อรองของคนตัวเล็กตัวน้อยได้ เช่น ชาวประมงพื้นบ้านไทย-มาเลเซีย-อินโดนีเซีย ต้องจับกลุ่มกัน ชาวสวนยางต้องไม่วางขาไว้บนสวนยางเท่านั้น แต่ต้องมองไปถึงการแปรรูปด้วย เช่น ทำทั้งยางน้ำ ยางแผ่น และยางแกว เพื่อยกระดับสินค้า..
           "การไหลเวียนของแรงงานเป้นทางเลือกที่ถุกบีบบังคับและเสียสละในนามความสมานฉันท์ของอาเวียนเพื่อให้กลุ่ททุนร่ำรวย เราจะทำอย่างไรให้เกิดอาเซียนภาคประชาชนเพื่อสร้างดุลอำนาจในการต่อรอง จึงจะเพ่ิมพลังให้แก่ขาของเราได้ รวมทังการสร้างเครือข่ายที่หลากหลาย มีการพูดคุยกันในกลุ่มอาเซียนหรือเกิดสมาคมที่เข้มแข็งมากขึ้น เพื่อเป้ฯเงื่อนไขที่จะสามารถต่อรองกับกลุ่ทุนได้มากขึ้น มิฉะนั้นชาวบ้านจะตกทุกข์ได้ยากมากขึ้น และอาจเกิดสลัมในชนบทมากขึ้น.. "เมื่อรัฐคู่กับทุน ชุมชนต้องคู่กับความรู้" http://www.thaipoet.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=538796648&
             

วันพุธที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Tone

          ภาษาเป็นสิ่งมหัสจรรย์ มันทำหน้าที่เป็นเครื่องมือให้มนุษย์ใช้สื่อสารระหว่างกันและกันภาษาทุกภาษามีโครงสร้าง โครงสร้างของภาษาประกอบขึ้นจาก เสียง คำวลี ประโยค และความหมาย โดยมีเสียงเป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดเสีีงในแต่ละภาาามีทั้งความเหมือนและความแตกต่างกัน เช่น ทุกภาษามีเสียงสระ บางภาษาในประเทศแอฟริกาใช้เสียงเดาะลิ้นสื่อความหมายถึงกัน ในขณะที่บางภาษาไ่ใช้เสียงเดียวกันนี้สื่อความหมาย เป็นต้น
         เสียงวรรณยุกต์เป็นองค์ประกอบหนึ่งในโครงสร้างทางเสียง ซึงไม่ได้พบในทุกภาษา แต่พบมากในภาษาแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นับได้ว่า เสียววรรณยุกต์เป็นเอกลักษณ์ทางภาษาอัโดเด่นของภูมิภาคนี้ นักภาษาศสตร์ที่มีชื่อเสียงท่านหนึ่งยอมรับว่าดินแดนแถบนี้เป้นดินแดนี่มี่เสียงวรรณยุกต์เจริญงอกงามได้ดี..
               หลายภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใช้เสียงวรรณยุกต์ในการจำแนกความหมายของคำ เช่น ภาาาไทย ภาษในตระกูลไท-กะได คำว่า "มา" มีระดับเสียงเป้ฯเสียงกลาว-ระดับ ส่วนคำว่า "หมา" มีระดับเสียงเป้นเสียงกลาง-ขึ้น ทั้งสองคำมีเสียงพยัญชนะ (m-) และเสียงสระ (-aa) ซึ่งไม่มีนัยสำคัต่อการจำแนกความหมายของคำทั้งสอง เนื่องจากทั้งสองคำมีเสียงพยัญชนะและเสียงสระเหมือนกันทุกประการ ตแ่เป็นเสียงกลาง-ระดับและเสียงกลาง-ขึ้น ที่ทำให้ความหมายของคำว่า "มา"  และ "หมา" แตกต่างกันเสียงวรรณยุกต์จึงมีความสำคัญต่อภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
            แนวคิดเรื่องกำเนิดและพัฒนาการของเสียงวรรณยกต์กล่าวถึงการเกิด เพื่ม หรือลดของเสียงวรรณยุกต์ด้วยอิทธิพลจากปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอก ซึ่งนักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ที่สนใจเรื่องกำเนิดและพัฒนาการองเสียงวรรณยุกต์ให้ความสำคัญกับการศึกษาปัจจัยภายในโดยมีส่วนน้อยที่ให้ความสนใจกับปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายในคือการเปลี่ยนแปลงภายในของตัวของภาษา และปัจจัยกระบวนการกร่อนของพยางค์จากคำหลายพยางค์สู่การป็นคำพบางค์เดียว การเปลี่ยนแปลงเสียงพยัญชนะต้น การเปลี่ยนแปลงเสียงพยัญชนะท้าย และคุณสมบัติของสระ เป็นต้น
            การศึกษาเสียงวรรณยุกต์ากอดีตจนถึงปัจจุบันช่วยบอกความสัมพันธ์ทางเชื้อชาติของคนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต การสร้างแผนที่ภาษา เพื่อเป็นฐานข้อมูลสำหรับการศึกษาภาษาวัฒน
ธรรม และการท่องเที่ยว การศึกษาเรื่องเสียงวรรณยุกต์และที่มรที่ไปของเสียงวรรณยุกต์ยังมีประธยชน์ต่อการศึกษาวิวัฒนาการของมนุษย์ในสาขาวิทยาศาสตร์ รวมถึงการศึกษาการรู้จำเสียงในสาขาวิศวกรรมศาสตร์
             โครงสร้างทางเสียงในภาษาประกอบขึ้นจากเสียงเรยง และเสียงซ้อน เสียงเรียง ได้แก่ เสียงพยัญชนะ และเสียงสระ ส่วนเสียงซ้อน ได้แก่ การลงเสียงหนกเบา ทำนองเสียง เสียงวรรณยุกต์
              นักภาษาศาสตร์ พบวา ทุกภาษาในโลกนี้มีเสียงสระ ภาษาบางภาษามีเสียงพยัญชนะและการลงเสียงหนักเบา ส่วนทำนองเสียงและเสียงวรรณยุกต์ก็เช่นกัน จะพบไ้ในบางภาษเท่านั้นนักภาษาศาสตร์นิยมใช้เสียงในภาษาเหล่านี้เป้ฯเกณฑ์ใการจัดกลุมภาษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเสียงวรรญุกต์ ซึ่งเป้นลักษณะโดดเด่นของภาษาที่มีทำนองเสียง ส่วนภาษามีวรรณยุกต์พบมาในเอเชียตะวันออกเแียงใต้ เช่น ภาษาไทย ภาษาเวียดนาม ภาษาลาว ฯลฯ การใช้เสียงวรรณยุกต์จำแนกความหมายของคำจึงเป็นลักษณะเด่นประการหนึ่ง ยกตัวอย่าง ภาษาไทย ซึ่งเสียงวรรณยุกต์มีนัยสำคัญทางภาษาศาสตร์ในระดับคำ กล่าวคือ ภาษาไทยใช้ระดับเสียง สูง-ต่ำ และขึ้น-ลง เพื่อทำให้ความหมายของคำแตกต่างกัน
               ภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การศึกษาแนวคิดเรื่องกำเนิดและพัฒนาการของเสียงวรรณยุกต์ส่วนมากเกิดขึ้นในภาษาแถบเอเชียตะวันออกเแียงใต้ ดดยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นดินแดนส่วนหนึ่งของทวีปเอเชีย มีอาณาบริเวณตั้งแต่อินเียตะวันออก ไปถึงทางใต้ของประเทศจีน และบริเวณระหว่งมหาสุทรอินเดียและมหาสุทรแปซิฟิก ดินแดนนี้มีความหลากหลายทาเชื้อชาติ ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม รวมถึงภาษา ความหลกหลายทางภาษาในเอเชียตะวันออกเแียงใต้จึงเป้ฯที่สนใจของนักภาษาและภาษาศาสตร์ทั้งในอดีตและปัจจุบัอย่างมาก
            นักภาษาศาสตร์แบ่งภาษาในเอเชียตะวัอกเฉยงใต้ด้วยหลักเกณฑ์ทางภาาาศาสรตร์ได้เป็น 5 ตระกูลได้แก่
             1. ตระกูลไท-กะได ใช้พูดกันในประเทศไทย ประเทศลาว ประเทศพม่า ประเทศจีนตอนใต้ บางส่วนของประเทศอินเดีย เช่น ภาษาไทย  ภาษาลาว ภาษาัม
              2. ตระกูลจีน-ทิเบต ใช้พูดกันในเขตปกครองตนเองทิเบตสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ประเทศเวียดนาม ประเทศปากีสภาน เชนภาษาจีน ภาษาพม่า
           
  3. ตระกูลแม้ว-เย้า หรือ ม้ง-เมี่ยน ใช้พุดกันในประเทศจีนตอนใต ประเทศเวียดนามตอนเหนือ ประเทศไทยตอนเหนือ เชนภาษาแม้ว ภาษาเย้าหรือภาษาเมี่ยน
              4. ตระกูลออสโตรเอเชียติก หรือ มอญ-เขมร ใช้พูดกันในประเทศไทย ประเทศเวียดนาม ประเทศกัมพูชา ประเทศมาเลเซีย เช่น ภาษาเวียดนาม ภาษาขมุ ภาษาในสาขาอัสเลียน
              5. ตระกุลออสโตรนีเซียน ใช้พูดกันมากในประเทศอินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย ประเทศกัมพูชา ประเทศฟิลิปินส์ และหมู่เกาะในมหาสทุรแปซิฟิก เช่นภาษาอินโดนีเซีย ภาษามาเลเซีย
              เมื่ใช้เกณฑ์สัทศาสตร์และสัทวิทยา หรือ เกณฑ์ทางเสียงภาษาใน 5 ตระกูลนี้มีฃักาณะ 3 แบบ คือ
             1ภาษามีวรรณยุกต์ หมายถึง ภาษาที่ใช้ระดับเสียงจำแนกความหมายของคำ
             2 ภาษามีลักาณน้ำเสียง หมายถึง ภาษาที่ใชลักาณะน้ำเสียงจำแนกความหมายของคำ ได้แก่ เสียงก้องธรรมดา เสียงก้องต่ำทุ้ม สัญลักษณ์ เสียงก้องเครียด ฯลฯ เช่น ภาษาว้า คำว่า "กีตาร์" กับ "ใหญ่"
             3. ภาษาไม่มีวรรณยุกต์และไม่มีลักาณะน้ำเสียง หมยถึง ภาษาที่มไ่ไ้ใช้ทังเสียงวรรณยุกต์หรือลักษระน้ำเสียงในการจำแนกควาหายของคำ
             ภาษาในตระกุลไท-กะได ตระกูลจีน-ทิเบต และตระกุลแม้ว-เย้า มีลักาณเด่น คื อเป้นภาษามีวรรณยุกต์ ภาาาในตระกุลออสโตรเอเชียติก หรือ มอญ - เขมร มีลักษณะเด่น คือ เ้นภาาามีลักษณะ น้ำเสียง ส่วนภาษาในตระกุลออสโตรนีเวียนมลกาณะเด่น คือ เป้นภาษาไม่มีวรรณยุกต์และไม่ลักษระน้ำเสียง
              ความหลากหลายของการม หรือ ไมีมีเสียงวรรณยุต์ภายในตระกุลเดียวกัน ทำให้นักภาษาสาสตร์เอเชียตะวันออกฌียงใต้จำนวนมากค้นคว้าและวิจัย เพื่อหาคำตอบเกี่ยวกับกำเนิและพัฒนาการ ของเสียงวรรณยุกต์
               นอกากลักษณะทางเสียง 3 แบบหลักที่กล่าวมาแล้ว ได้แก่ การเป็นภาษาที่วรรณยุกต์ การเป็นภาษามีลักษณน้ำเสียง และการเป็นภาษาไม่มีวรรณยุกต์และไม่มีลักษณะน้ำเสียง ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยังมีภาษาอีกแบบหนึ่ง ซึ่งนักภาษาศาตร์จัดเป้นลักษระทางเนียงแบบบ่อยในภาษามีัวรรณยุกต์ นั่นคือ ภาษาที่มีรูปแบบการลงเสียงหนักเบา เช่น ภาษามลายูถิ่นปัตตานี โดยลักษะของภาษาที่มีรูปแบบการลงเสียงหนักเบา หมายถึง พยางค์ที่ได้รับการลงเสียงหนักในภาษานั้นจะมีระดับเสียงสูง ส่วนพยางค์ที่ได้รับการลงเสียงเบาจะมีระดับเสียงต่ำ และรูปแบบการลงวเสียงหนักเบาที่แตกต่างกันนั้นจะมีนัยสำคัญทงภาษาศาสตร์ในการจำแนกความหายของคำสองคำ เช่น ตัวอย่งจากภษมลายูถิ่นปัตตานี
           ภาษามลายูถ่ินปัตตานี เป็นภาษาที่ใช้พูดกันมากในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย เช่น จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส และยังมีภาษามลายูถิ่นที่ใช้พุดกันในอภเภอท่าอิฐ จังหวัดนนทบุรี ด้วยทีมีลักษณะภาาแบบนี้
            การกำเนิแนวคิเรื่องกำเนิและพัฒนาการของเสียงวรรณยุกต์ไปใช้ นักภาษาสษสตร์ได้ใช้ระเบยบวิธีวิจัยทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์ เชิงประวัติและเปรียบเทียบ และระเบียบวิธีวิจัยทางสัทศาสตร์ คือ กลสัทศาสตร์และโสตสัทศาสตร์ มาพิสูจน์แนวคิดนี้ อย่งไรก็ตาม แม้จะมีนักภาษาศาสตร์ทั่วโลกจำนวนมากสนใจศึกาาแนวคิดดังกล่าว กลับมีนักภาษาศาสตร์ในประเทศไทยจำนวนไม่มากนักที่ศึกษาเรื่องนี้อย่างจริงจัง ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากยังไม่เห็นประโยชน์ของการนำแนวคิดนี้ไปใช้
            ปัจจุบันเป็นที่ชัดเจนว่าแนวคิดนี้สามรถนำไปใช้ในการสร้างแผนที่ภาษาซึ่งเป็นฐายข้อมุลสำคัญในการศึกษาภาษา วัฒนธรรม การท่องเที่ยว การอพยพย้ายถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ และประวัติศาสตร์

                    - บางส่วนจาก "หนังสือภาษาศาสตร์เสียงวรรณยุกต์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : กำเนิดและพัฒนาการ.
             

วันอังคารที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

Tai–Kadai : The Central Tai - East Langauges III

         ภาษาจีนที่อยู่ในกลุ่มตระกูลไทล์กรุ๊ป
         - ภาษาลาวเป็นภาษาของประเทศลาวเป็นภาษาที่มีวรรณในกลุ่มภาษาไทเปและภาษาอื่น ๆ ที่คล้ายคลึงกับภาษาของประเทศ ประกอบไปด้วยพยัญชนะและความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอักษรไทย
          ห้องชุดขนาดใหญ่ 6 ห้องนอน
          ภาษาเวียงจันทน์ (เวียงจันทน์บอลิ์ไซไซ)
          ลาวเหนือ (หลวงพระบางไชยบุรีอุดมไซหลนทา)
          ภาษาลาว (คำม่วนสุวรรณเขต)
          ภาษาไทย (จำปาศักดิ์สาละวันเซรคุณกองอัตตะปือ)
       
ภาษาลาว (ไม่มีในประเทศลาวร้อยเอ็ด)
          แนะนำสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจสำหรับผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา ได้ทั่วประเทศการเรียนรู้ภาษาลาวในประเทศฃฃฃฃ </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> </s> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> <br> ภาษาไทยเป็นพลเมืองของประเทศจีน สามารถฟังได้ทุกที่ทั่วโลก
           ส่วนในประเทศลาวนอกจากสำเนียงถิ่นใหญ่แล้วยังมีสำเนียงแตกออกไปอีกหลายสำเนียงย่อยเชนภาษาลาวใต้ถิ่นสาละวันภาษาลาวกลางถิ่นสุวรรณเขตสำเนียงย่อยถ่ินเมืองอาดสะพังทองถิ่นเมืองจำพอนภาษาเวียงจันทน์ถิ่นเมืองปาก งึม ฯลฯ นอกจจากนี้ยังมีผู้พูดภาาาลาวใจ้ถิ่นจำปาศักดิ์ในจังหวัดพระวิหารสตึงแตรงและรัตนคีรีของประเทศกัมพูชาด้วย
          - ภาษาญ้อหรือภษาไทญ้อเป็นภาษากลุ่มไท - ลาวที่พุดกันในหมู่ชาวไทญ้อซึ่งมีอยู่ในประทเศไทยราว 50,000 คน ( พ.ศ. 2533) ในจังหวัดสกลนครหนองคายนครพนมมหาสารคามปราจีนบุรี และสระบุรีสวนใหญ่อพยพมาจากประเทศลาวเป้นชาวไทญ้อส่วนใหญ่พุดภาาาลาวอีสานได้ด้วย
           ภาษาญ้อจัดอยุ่ในตระกุลภาษาไท - กะไดภาษากลุ่มคำ - ไทสาขาเบ - ไทสาขาย่อยไต - แสกมีลัำกาณะคล้ายคลึงกับภาษาไทยถิ่นอีสานและภาษาลาวสำเนียงหลวงพระบางมีพยัญชนะ 19 เสียงสระ เดี่ยว 18 เสียงสระประสม 3 เสียงวรรณยุกต์ 4 เสียงพยัญชนะควบกล้ำ 6 เสียง
การฟ้อนรำของชาวไทญ้อ
         - ภาษาผู้ไทเป็นภาษาในตระกูลภาษาไท - กะไดมีผู้พูดจำนวนไม่น้อยกระจัดกระจายในภูมิภาคต่างๆของไทยและลาวเข้าใจวาผู้พูดภาษาผู้ไทมีถิ่นที่อยุ่ตั้งเดิมอยู่นเมืองนาน้อยอ้อยหนูยังเป็นที่ ถกเถียงกันว่าเมืองนาน้อยอ้อยหนูอันเป็นถิ่นฐานด้งเดิมของผุ้ไทอยู่ที่ไหนเพราะปัจจุบันมีเมืองนาน้อยอ้อยหนูอยู่ถึงสามแห่งตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองแถงหรือปัจจุบันคื จังหวัดเตียนเบียนฟูแห่งที่สองอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองแถงและแห่งที่สามอยู่ห่างจากเมืองลอของเวยดนามประมาณ 10 กิโลเมตร
          ชาวไทดำกับผุ้ไทเป็นคนที่มีเชื้อสายน้อยกว่า 1.500 ปีมาแล้วในปัจจุบันมีการจัดให้ภาาา อยู่ห่างจากจังหวัดนนทบุรีเป็นเมืองที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในประเทศไทย มีแนวโน้มว่าจะเป็นไปในทิศทางที่ถูกต้องและเป็นที่นิยมมากในหมู่ผู้คน ไทสองฝังโขง"
         
 ผู้พูดภาาาผู้ไทในประเทศไทยส่วนใหญ่อยุ่ในบริเวณจังหวัดภาคอีสานตอนบน ได้แก่ จังหวัดกาฒสินธุ์, นครพม, มุกดาหาร, ร้อยเอ็ดและสกลนครนอกจากนี้ยังมีอีกเล็กน้อยในจงวหัดอุบราชธารนี, อุดรธานี และจังหวัดบึงกาฬโดยในแต่ละท้องถ่เนจะมีสำเนียงและคำศัพท์ที่แตกต่างกันไป
          เป็นที่น่าสนใจว่าเป็นภาษาที่มีการกระจายอยู่ในแถบอีสาน แต่สำนึกแล้วและคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีอยู่ในภาษาไท พูดง่าย ๆ แต่ก็ไม่ค่อยมีคนพูดภาษาไทยได้มากเท่าไหร่เพราะคนพูดภาษาไทยไม่เข้าใจหรือพูดภาษาไทยได้เลย
          ภาษาไทยในภาษาอังกฤษภาษาไทยภาษาอังกฤษภาษาไทยภาษาอังกฤษภาษาไทยภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษภาษาจีน กรรม "ไม่ใช้รูปแบบโครงร่าง
           "ผาเหล้านีหน่า" แปลจาก http://en.wikipedia.org/wiki/Outi_New_America_Photo_Photo_Photo_Photo_Photo_Photo.jpg "ผาเหล้าห้วย" แปลว่า "ผาเหลานีหน่า" แปลจากภาษาอังกฤษว่า เป็นเรื่องที่น่าสนใจมากยิ่งขึ้นไปอีกเช่นเดียวกับที่เราได้รับการรับรองจากกระทรวงสาธารณสุขว่าเป็นประเทศที่มีการระบาดของโรคเอดส์ในประเทศพม่า เป็นห้าตัวอย่างประโยค นัมเบอร์ฮูป้าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่า ต้น
            - ภาษาไทยภาษาอังกฤษเป็นภาษาเดียวกับภาษาอื่นที่ใช้ในการแปลภาษาไทย
            1. ภาษาลาวเวียงจันทน์ใช้ในประเทศลาวท้องถที่นครหลวงเวียงจันทน์เเขวงบอลิคำไซและในประเทศไทยท้องถที่จังหวัดชัยภูมิหนองบังลำภูหนองคาย (อำเภอเมืองหนองคายศรีเชียงใหม่ท่าบ่อโพนพิสัยโพธิ์ตากสังคม (บางหมู่บ้าน) ยโสธร ( อำเภอเมืองยโสธรทรายมูลกุดชุมบางหมู่บ้าน) อุดรธานี (อำเภอบ้าผือเพ็ยบางหมู่ย้านศรีสะเกษ (ในบางหมู่บ้นของอภเภอเมืองศรีสะเกษอำเภอขุขัน ์และอภเภอขุนหาญ)
            2. ภาษาลาวเหนือใช้ในประเทศลาวท้องถที่แขวงหลวงพระบางไชยบุรีอุดไซในประเทไทยท้องถที่จังหวัดเลยอุตรดิตถ์ (อำเภอบ้าดคกน้ำปากฟากท่า) เพชรบูรณ์ (อำเภอหล่มสักหล่มเก่าน้ำหนาว) ขอนแก่น (อำเภอภูผา ม่านและบางปมู่บ้านของอำเภอสีชมพูชุมแพ) ชัยภูมฺ (อำเภอดอนสาร) พิษณุโลก (อำเภอชาติตระการและนครไทยบางหมุ่ย้า) หนองคาย (อำเภอสังคม) อุดรธานี (อำเภอน้โสมนายุงบางหมู่บ้าน )
         
 3. จังหวัดอุบลราชธานีเขตหนองแขมเขตหนองแขมจังหวัดอุบลราชธานีเขตหนองแขมนครราชสีมาเขตหนองแขมกทม. อำเภอโพธิ์ตาก) และบังเกิดชุมชนลาวพวนในบางแสนในจังหวัดสุโขทัยอุตรดิตถ์แพร่หลายไม่ว่าจะเป็นหมู่บ้านหนองคาย
          4. ภาษาลาวกลางแยกออกเป็นสำเนียง 2 ชั้นคือภาามาลาวกลางถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยเช่นนครพนมสกลนครบังกาฬ (อำเภอศรีเมืองบึงโขงหลงบางหมุ่บ้าน) สุวรรณเขตในประเทศไทยจังหวัดมุกดาหาร
           5. ภาษาลาวในแขวงจำปาศักดิ์สาละวันเขตประเวศจังหวัดพังงาจังหวัดอุบลราชธานีอำนาจเจริญศรีสะเกษยโสธร
             6. ภาษาลาว (ภาาลาลาวร้อยเอ็ด) ไม่มีในประเทศลาวเปโดฯ ใช้ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยท้องฟ้าถลางขอนแก่นกาฬสินธุ์มหาสารคามหนองค (บางใหญ่) และบรแมนด์ใกล้เคียง ร้อยเอ็ดของสยาม
             ส่วนภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษสำหรับการอ่านหนังสือเกี่ยวกับธรรมะหรือพระพุทธศาสนา (เสียงเรียกเข้า) มีเสียงพยุหะ 20 เสียงเสียงเดียว 18 เสียงเสียงประสม 2-3 เสียงบางท้องถิ นอ้าวในปัจจุบันนิยมใช้อักษรไทยตรวจดูบันทึกเรื่องราวต่างๆในทางโลกและทางธรรมผุ้คนส่วนใหญ่ไม่สามารถอ่านตัวอักษรและเสรีภาพในการเขียนบันทึกเป้นภาษา ไม่ได้รับความนิยมในหมู่นักลงทุนโดยส่วนใหญ่ภาษาที่ใช้ในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยใช้สัญลักษณ์ไทยและยันทึกเป็นภาษาไทยเป็นหลักแทนth.wikiped ia.org/wiki/ ตระกูลภาษาไท - กะได
            จากกลุ่มภาษาไทยแล้วในตระกูลภาษาไทกะไดยังมีสาขาอีกเช่นกัน
             กลุ่มญิฮามาวาย (ไหหลำ)
             กลุ่มภาษาขร้า ภาษาเยอรองจีนแผ่นดินใหญ่, ภาษาลาติ ในเวียดนาม, ภาษาลาติขาวพบในเวียดนามเช่นกัน ภาาาปู้ยัง ในจีนแผ่นดินใหญ่ ภาษาจุน บนเกาะไหกลำ ภาษาเอน ที่เวียดนาม, ภาษากาเบียว หรือภาษาละกัว ภาษาปูเปียว หรือภาษาเปน ติ โลโล อยบู่ในตระกูลไท-กะได มีผุ้พูดทั้งหมด 310 คน ในเวียดนาม 307 ทางภาคเหนือพูดโดยชาวกวาเบียวในจังหวัดฮาเกี่ยว ประเทศเวียดนามที่เหลือพบในเขตปกครองตนเองชนชาติจ้วงและม้ง เหวินซาน ในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ซึ่งอยู่ใกล้ๆ กัน ผู้พุดในจีนสวนใหญ่มีอายุมาก และมักจะพูดภาษาจีนกลางได้ จัดอยุ่ในตระกูลภาษา ไท -กะได กลุ่มภาษากะได สาขายางเบียว รากศัพท์มีความคล้ายคลึงกับภาษาเกเลา  38% ภาษาลาชิ33% ภาษาจ้วง  30%  ภาษาฮลาย 26%ภาษาลากา  23% ภาษาม้ง 10%  ภาษาลาตัว ในเวียดนาม ภาษาลาฮา ในเวียดนาม
            กุ่มภาษากัม-สุย ประกอบด้วย กลุ่มภาษาลักเกีย-เบียว พบในจีนแผ่นดินใหญ่ อาทิ ภาษาลักเกีย ภาษาเบียว, ภาษากัม-สัย ในจีนแผ่นดินใหญ่ อาทิ ภาษาอ้ายจาม ภาษา เคา เมียว,  ภาษาต้งเหนือ, ภาษาต้งใต้, ภาษาคัง, ภาษาแมก, ภาษามู่หลาน, ภาษาเมาหนาน, ภาษาสุย, เป็นต้น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...