Khmer

      อาณาจักรขอมโบราณ ก่อนยุคอาณาจักรขอมโบรารณ (ราวพุทธศักราชที่ 10-19) ซึงกินเพื่อที่ส่วน
ใหญ่ของดินแดนสุวรรณภูมินั้น เคยเป็นดินแดนที่อาณาจักรฟูนัน (ราวพุทธศักราชที่ 5/6-10) มาก่อน ทฤษฎีทางปะวัติศาสตร์โบราณสวนใหญ่เห็นวาอาณาจักรขอมโบราณเกิดยึ้นสืบเนืองจากอาราจักรฟูนันและอาณาจักรเจนละอาณาจักรขอมมีความสัมพันธ์กับทั้งสองอาณาจักรอย่างใกล้ชิด ดดยเฉาพ อาณาจักเจนละอาณาจักรฟูนันมศูนย์กลางอยุ่ที่เมืองอู่ทองและเมืองออกแก้ว (ไม่ทราบแน่ชัด) แต่มีชื่อเรียกในสมัยโบราณว่า "วยาธประ" มีอาณาเขตครอบคลุมดินแดนขอมมาก่อนในภาคกลาง ภาคอีสานของไทย ปัจจุบัน เช่น เมืองอู่ทอง (อ.อู่ทอง สุพรรณบุรี) มีการปกครองแบบเทวราช วัฒนธรรมแบบพราหมณ์ฮินดู หลักฐานที่ขุพบ ได้แก่ เทวรูป เครื่องประดับและเหรียญตรา ฟูนันเจริญรุ่งเรืองช่วงพูธศตวรรษ 6-10 มีความสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนแลอินเดีย วัฒนธรรมประเพณีของฟูนันคล้ายคลึงอินเดียมากอิทธิพลของอินเดียเริ่มเข้ามาในอินแดนสุวรรณ๓มิราวพุทธศักราชที่่ 6-7 โดยทางทะเล โดยขึ้นฝั่งบริเวณชายฝังเพื้นที่อินโดจีน ิทธิพลของอินเียวที่เห็นได้ชัด ได้แก่ ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพุทธศิลปกรรมสาขชาต่างๆ เช่น ปฏิมากรรม สถาปัตยกรรมและสาขาอื่นๆ ซึ่งอิทธิพลของอินเียอยู่ในดินแดนสุวรณภูมิมาจีถึงปัจจุบัน
          ตามตำนานขอมโบราณ พราหมณืเชื้อสายอินเดียชือ "โกณฑัญญะ" ซึ่งได้มาแต่างงานกับนางพญาขอมได้จักการปกครองอาณาจักรขอมให้เจริญรุ่งเรือง อาณาจักรอื่นๆ ใกล้เคียวได้แก อาณาจักรโครตบูรณ์ (ราวพุทธศักราชที่ 11-15 ) ซึงอยุ่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(ภาคเหนือของไทยและภาคกลางของลาว) ศูย์กลงอยุ่ท่นครพน (เชื่อว่าเมืองหลวงอยุ่บนฝั่งซ้ายขอวแม่น้ำโขง คือท่าแขกของลาว) นับถือศาสนาพุทธเถรวาท มีการสร้างเจดีย์สำคัญ คือ พระธาตุพนม อาณาจักโคตรบูรณืมีดินแดนที่กินพื้ที่จังหวัดอุรธานี หนองค่ย เวียงจันทร์ นครพนม (เจดีย์พระธาตุพนม) อุยบราชธานี และอาณาจักรทวาราวดี (ราวพุทธศักราชที่ 11-16) ที่มีอำนาจในบริวณลุ่มน้ำเจ้าพระยา นอกจากนี้ยังมีอาณาจักรอื่นๆ ในดินแดนสุวรรณภูมิ เช่น อาณาจักรศรีเกษตร (พยู) อาณาจักน่านเจ้า (หนองแส : ราวพุทธศักาชที่ 6/8-17) ของเผ่่าคนไทย อาณาจักรศรีวิชัย (ราวพุทธศักราชที่11-18) อาณาจักรเชียงแสน (โยนกและเงินยาง : ราวพุทธศักราชที่ 9/11-18) ของคนไทยอีกสายหนึง ต่อมาอาณาจักรขอมสามารถอาณาจักรโครตบูรณ์และอาณาจักรทวาราวดีทวาราวดีได้อาณาจักขอมโบราณแบ่งออกเป็น 4 ยุคได้แก่
ื        
- อาณาจักรขอมโบราณยุคแรก (ราวพุทธศตวรรษที่ 6/7-11) มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองปราสาทภู เขวงเมืองจัมปาศักดิ์ ประเทศลาว(จากหลักฐานการขุดค้นอาจเป็นอุบลราชธานี) ศูนย์กลางอยู่ที่เมืองอินทรปุระ(กัมปงจาม) ดินแดนกินพื้นที่บริเวณปกาแม่น้ำโขง กัมพุชา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย (สืบต่อมาจากอาณาจักรฟูนัน) บริเวณภาคตะวันออเแียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกของไทยปัจจุบัน รวมทังลุ่มน้ำเจ้าพระยา อาณาจักรขอมโบราณรับวัฒนธรรมมาจากอินเดีย ปกครองแบบเทวราช ระบบจตุสดมภ์ นับถือศาสนาพราหมณ์ มีการสร้างเทวรูปแลประสาทหิน ที่สำคัญคือนครวัด-นครธม ซึ่งนับเป็นสิ่งมหัจรรย์แห่งหนึ่งของโลก รวมทั้งประสาทอื่นๆ ในภาคตะวันออกเียงเหนือของไทยจำนวนมาก
       
 - ยุคสมัยก่อนพระนครหรืออาณาจักรเจนละ ราวพุทธศตวรรษที่ 11-14) กษัตริย์ยุคนี้คือ พระเจ้าชัยวรมันที่ 1 (แยกจากอาณาจักรฟูนัน)
           - ยุคเมืองพระนคร (ราว พ.ศ. 1345-1976) มีกษัตริย์ปกครอง 15 รัชกาล ต่อมาอาณาจักรขอมโบราณ ซึ่งยิ่งใหญ่ที่สุดในดินแดนสุวรรณภูมิได้ล่มสลายลง เนื่องถูกกองทัพประเทศสยาม (กรุงศรีอยุธยา) นำโดยพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา : พ.ศ. 1967-1991) ได้เข้ายึดเมืองพระนครได้ ทำให้พระองค์ท่านเป็นพระมหากษัตริย์ไทย ที่ทรงมีพระบราราชานุภาพสูงมากที่สุดพระองค์หนึงของประเทศไทย
            - ยุคหลังเมืองพระนคร มีร่องรอยทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฎอยู่ปัจจุบัน ได้แก่ เมืองศรีเทพ(เพรชบูรณ์) เมืองสรีวัตตะปุระ อ. ศรีมหาโพธิ์(ปราจีนบุรี) อำเภอระโนด (สงขลา) rawatzefza2.wordpress.com/กิจกรรมการเรียนรู้โครง/อาณาจักรขอม/อาณาจักรขอมโบราณ/
              ภาษาเขมร เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก และได้รับอิทธิพลมาจากภาาาสันสกฤตและภาษาบาลี พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้มาจากอิทธิพลของศาสนาพุทธและศาสนฮินดู ต่อวัฒนธรรมของชาวเขมรในขณะที่อิทธิพลอื่นๆ เช่น จากภาษาไทย ภาษาลาวและภาษเวยดนามเป้นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาาาและความใกล้ชิดกัในทางภูมิศาสตร์ ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน(ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม) เนื่องจากมไ่มีเสียงวรรณยุกต์
               อักรเขมร คือรูปอักษรที่ดัดแปลงมาจากอักษรหลังปัลลวะ (ราว พ.ศ. 1200-1400) ซึ่งเป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรปัลลวะ (ราว พ.ศ. 1100-1200) อีกต่อหนึ่ง อักษรปลลวะนี้ เป็นอักษรที่มาจากอินเียตอนใต้ซึ่งเป็นชุดอักษรที่มีกำเนิดมาจากอักษรพราหมี ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช (ราวพุทธ ศตวรรษที่ 3) จารึกอักษรเขมรเก่าสุดพบในปราสาทโบเรีย จ.ตาแก้ว ทางใต้ของพนมเปญ อายุราว พ.ศ. 1154 รูปแบบโบราณของอักษรเขมร ที่เรียกอักษรขอมเป็นแม่แบบของอักษรไทย อักษรลาว อักษรเขมรใช้เขียนภาษาเขมรและมนต์คาถา

               อักษรขอม พัฒนามาจากอักษรหลังปัลลวะ ซึ่งพัฒนามาจากอักษรปัลลงะอีกทีหนึ่งเป็นตัวอักษรของราชวงศ์ปัลลวะในอินเดียใต้ภายหลังได้มาติดต่อกับภูมิภาคอุษาคเนย์จึงได้ถ่ายทอดวัฒนธรรมซึ่งรวมถึงตัวอักษรไว้ให้กับกลุ่มคนที่อาศัยอยุ่บรเิวณนี้อีกด้วย ต่อมาอักษรชนิดนี้เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายในภูมิภาคนี้ มีวิวัฒนาการต่อไป จากอักษรปัลลวะ เป็นอักษรหลังปัลลงะ หลังจากนั้นก็แตกแขนงเป็นสองสาขาใหญ่ๆ คือ อักษรมอญโบราณ และอักษรขอมโบราณ
               อักษรขอมโบราณใช้ในอาณาจักรต่างๆ สองฝั่งแม่น้ำโขงตั้งแต่สมัยก่อนเมืองพระนครต่อมาจึงกลายเป็นอักษรท้องถ่ินในสมัยพระนคร และเป็นต้นแบบของอักษรไทยและอักษรเขมรในปัจจุบัน
               เอกลักษณ์ของอักษรขอม คเือ เปลี่ยนบ่าอักษรของอักษรปัลลวะเป็นศกหรือหนามเตย อักษรนี้พัฒนาไป 2 ทิศทาง คือ เป็นอักษรขอม ในประเทศไทย (ใช้เขียนภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาเขมร) และอักษรขอมในประเทศกัมพูชา (ใช้เขียนภาษาเขมร ภาษาบาลี)
             
อักษรขอมเขมร
 อักษรขอมในประเทศไทย พบหักฐานการใช้อักษรขอมโบราณเขียน ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร ในบริเวณภาคอีสาน ภาคกลางและภาคใจ้ ของประเทศทย ปัจจุบัน ระหว่งพุทธศตวรรษที่ 14-16 แต่จะไม่พบเอกสารโบราณประเภทจารึกที่ใช้อักษรขอมโบลราณ ในแถบภาคเหนือตั้งแต่จังหวัดตากขึ้นไป หลักฐานทำนองนี้รวมไปถึงโบราณสถาน ที่เรียกว่า ปราสาทหิน ปราสาทอิฐ และพระปรางค์แบบขอม หรือลพบุรีที่มีอยุ่ทั่วไปในภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคใต้ แต่ไม่เคยปรากฎอยู่ทางภาคเหนือ
               ในประเทศทไย อักษรขอมถือเป็นอักษรศักดิ์สิทธิ์ ใช้ในงานด้านศาสนาเป็นส่วนใหญ่อักษรขอมที่ใช้เขียนภาษาบาลีเรียกว่า อักษรขอมบาลี ส่วนที่ใช้เขียนภาษาไทยเรียกว่าขอมไทย ซึ่งมีอักขรวิธีต่างจากอักษรของกลุ่มอื่นๆ ต่อมา อักษรขอมไทยถูกแทนที่ด้วยอักษรไทย ส่วนอักษรขอมบาลียังคงใช้เขียนภาษาบาลีเรื่อยมา แม้จะมีการพัฒนาอักษรไทยและอักษรอริยกะมาเขียนภาษาบาลีก็ตาม อักษรขอมบาลีถูกยกเลิกไปในสมัย จอมพล ป.พิบูลสงคราม
              รูปแบบของอักษรขอมในประเทศไทยทั้งขอมไทยและขอมบาลี แข่งได้เป็น 3 แบบคือ
              - อักษรบรรจง เป็นรูปสีเหลี่ยม ทรงมน ใช้เขียนคัมภีร์ทางศาสนา
              - อักษรตัวเกษียณ เป็นตัวเแียงทแยง เอียงขวา ใช้บันทึกคำอธิบาย หรือเขียนหวัด
              - อักษรเฉียงขอมหรือเฉมเขม คล้ายอักษรเขมรแบบตัวเชรียง รูปสระและการประสมสระต่างไปจาก 2 แบบ ข้างต้นth.wikipedia.org/wiki/อักษรขอม
              อักษรขอมไทย สามารถพบได้ในคัีมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ตำรายา ตำราคาถาอาคม รูปยันต์ต่างๆ โดยมากปรากฎในแถบภาคกลาง และอาจพบได้บ้างในภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
              พยัญชนะมีทั้งหมด 35 ตัว ดดยแต่ละตัวมีทั้งรูปตังวเต็มกับตัวเชิงหรือพยัญชนะซ้อน มีการจัดบ่งเป็นวรรตามระบบภาษาสันสกฤต
       
ผังอักษรขอมไทยพร้อมตัวเชิง
           รูปพยัญชนะตามผังอักษรข้างต้นถอดเป็นพยัญชนะไทยได้ดังนี้
           วรรค กะ (แถวที่ 1 จากบน) ก ข ค ฆ ง
            วรรค จะ (แถวที่ 2) จ ฉ ช ฌ ญ
            วรรค ฎะ (แถวที่ 3) ฎ ฐ ฑ ฒ ณ
            วรรค ตะ (แถวที่ 4) ต ถ ท ธ น
            วรรค ปะ (แถวที่ 5) ป ผ พ ภ ม
            เศษวรรค (แถวที่ 6) ย ร ล ว ศ
            (แถวที่ 7) ษ ส ห ฬ อ
            รูปพยัญชนะอักษรขอมไทยน้อยกว่อักษรไทย 9 ตัว โดยรูปพยัญชนะที่ขาดไป 9 คือ ข ขวด ค คน ซ ฎ ด บ ฝ ฟ และ ฮ ซึ่งการเขียนคำที่มีพยัญชนะที่ขาดไปเป็นตังนี้
            ตัว ด ใช้ ฑ หรือ ตแทน, ตัว ฝ ใช้ผ แทน, ตัว ซ ใช้ ฌ ช หรือ ส แทน, ตัว บ และ ฟ นิยมนำรูปตัว  Khomthai - ป (ขอมบาลี), บ (ขอมไทย).png  (ป) ของอักษรขอมมาเขียนแทน บ และเพิ่มหางขึ้นเป็นรูปตัว  Khomthai - ป (ขอมไทย).png(ป) ส่วนตัว ฟ ใช้รูปตัว  Khomthai - พ.png(พ) ของอักษรขอมมาเติมหางเช่นกันเป็นรูป  Khomthai - ฟ.pngแต่ในหลายกรณี รูปตัว ป ของอักษรขอมทั้งที่มีหางและไม่มีหางมักใช้ปะปนกัน บางครั้งแทนเสียง ป บางครั้งแทนเสียง บ
               รูปตัว ฝ ใช้อักษรขอม ตัว พ เติมหางเช่นเดียวกับตัว ฟ
               ตัว ข ขวด ค คน ฎ ฮ ไม่มีที่ใช้ ดดยใช้ ข ค ฎ และ ห แทน
                ตัวสะกด นิยมเขียนด้วยรูปตัวเชิงใต้พยัญชนะต้นหรือสระ เว้นแต่พยัญชนะที่รูปสระหรือตัวควบกล้ำอยู่ข้างล่างอยู่แล้วจึงใช้รูปตัวเต็ม
                สระ แบ่งเป็นสระลอยกับสระจม รูปสระลอยใช้เขียนคำที่มีเสียง อ มีทั้งหมด 8 ตัว ได้แก่
                                      สระลอยในอักษรขอมไทย
                จากซ้าย อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
                 รูปสระจมหรือประสมคล้ายกับอักษรไทยปัจจุบัน ที่ต่างไปมีดังนี้
                 สระเอีย-นิยมเขียนด้วยตัวเชิงของตัว ย  Khomthai - ฑฺยว.png ดฺยว = เดียว หรือใช้ทั้งสระ เอ + อิ(อี) + ตัวเชิงของ ย เช่น Khomthai - เสีย.pngเสีย = เสีย
                 สระเอืด มีทั้งแบบที่ใช้รูปสระ เอ + อิ + อ เช่น  Khomthai - เพิอ.pngเพิอ = เพื่อ และ เอ + อิ (อี) + ตัวเชิงของ อ เช่น  Khomthai - เงื่อน.pngเงื่อน + เงื่อน
                Khomthai - เธอ.pngเธอ+ เํธอ และใช้สระเอ + อี +ตัวเชิงของ อ เมื่อมีตัวสะกด เช่น  Khomthai - เดีอม.pngเตือม= เติม หรือ ตัดตัวเชิงของ อ ใช้ตัวเชิงของตัวสะกดแทน
สระเออ ใช้สระ เอ กับตัวเชิงของ อ เมื่อไม่มีตัวสะกด เช่น
                สระอัว -้ ไม้หันอากาศกับตัวเชิงของ ว เมื่อไม่มีตัวสะกด หรือใช้ตัวเชิงของ ว อย่างเดียวเมื่อมีตัวสะกด เช่น  Khomthai - ตฺวฺย.pngตวย = ด้วย
               วรรณยุก การใช้ไม่แน่นอนมีทั้งที่ไม่เติมวรรณยุกต์ ใช้รูปวรรณยุกต์ต่างจากปัจจุบัน หรือใช้เหมือนกัน
               ไม้หันอากาศ มีทั้งเขียนบนพยัญชนะต้นและตัวสะกด บางครั้งไม่ใช้ไม้หันอากาสแต่เพ่ิมตัวสะกดเป็น 2 ตัวแทน เช่น  Khomthai - วนฺน.pngวนฺน = วัน,  Khomthai - ทัง.pngทงั = ทั้งth.wikipedia.org/wiki/อักษรขอมไทย







ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)