Viêt

          คำว่า เหวียด เคยใช้ครั้งแรกในศตวรรษที่ 11 เพื่อเรียกดินแดนที่อยุ่ทางใต้ของจีนบนชายฝั่ง
มหาสมุทรแปซิผิกซึ่งถือว่าเป้นอาณาจักรแห่งแรกของเหวียดทางชายฝั่งภาคใต้ของจีนก่อนคริสต์ศักราช 1042 หรือประมาณ 3 พันปีมาแล้ว เหวยด มาจากคำว่า เยวะ เป็นคำที่ชาวจีนใช้เรียกชนกลุ่มต่างๆ ที่อยู่ชายแดนอาณาจักฮั่นและสามเหลี่ยมแม่น้ำแดง
          ชาวเวียดนามมักจะเปรียบรูปร่างประเทศของตนว่าเหมือนตะกร้าใส่ข้าวสองใบแขวนอยุ่ปลายสุดของไม้คาน คือ รูปตัว เอส มีความยาวกว่าว 1,200 ไมล์ มี่พื้นที่ทั้งหมดประมาณ 127,241 ตารางไมล์ พื้นที่ส่วนที่กว้างที่สุดประมาณ 300 ไมลและส่วนที่แคบที่สุดประมาณ 45 ไมล์ ตะกร้าใส่ข้าวทั้งสองคือบริเวณแม่นำ้แดงทางภาคเหนือและบริเวณแม่น้ำโขงทางภาคใต้ ไม่คานที่ใช้หาบตะกร้าคือแนวเทือกเขาซึ่งกันพรมแดนเวียดนาม-ลาว และเวียดนาม-กัมพูชา ประชากรส่วนใหญอยู่กันหนาแน่นตามที่ราบลุ่ม ส่วนบริเวณพื้นที่สูงจะเป้ฯที่อยุ่ของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ 
         ตำนานการเกิดประเทศเวียดนาม กล่าวว่า มีกษัตริย์องค์หนึ่งชื่อ หลาก ลอง เกวิน แห่งประเทศ ซิจ กวี๋ ซึ่งอยุ่ทางภาคกลางของจีนเป้ฯทายาทเทพเจ้าแห่งทะเล อภิเษกสมรสกับเทพธิดา เอิว เกอ อยู่ด้วยกันอย่างมีความสุขและมีบุตร 100 คน แต่เป็นเพราะทั้งสองมีกำเนิดที่แตกต่างและความไม่มั่นคงของชีวิตบนโลก ทั้งสองจึงตัดสินใจแยกกันอยู่โดยแบ่งลูกไปฝ่ายละ 50 คน กษัตริย์พาลูก 50 คนไปอยู่ในที่ราบและบริเวณฝั่งแม่น้ำ ส่วนเอิว เกอ พาลูก 50 คนไปอยู่ที่ภูเขามีป่าทึบ ดังนั่นจึงมีรัฐเกิดขึ้น 100 รัฐ เมื่อแยกตัวออกจาประเทศ ซิจ กวิ๋
           กษัตริย์ได้มอบอำนาจการปกครองให้กับลูกชายคนโต คือ หุ่ง เวือง ซึ่งเป้นผุ้สถาปนาราชวงศ์ ห่ง บ่าง ประเทศวัน ลาง หมายถึง ประเทศที่มีวัฒนธรรม ก็คือ ปฐมามของประเทศเวียดนามนั่นเอง
       
  ตามตำนาน ลูกๆ ทั้ง 100 คนนี้มีความสามัคคีกันรักใคร่กันเป็นอย่างดี อีกทั้งมีความกล้าหาญ ถือว่ารับส่วนนี้มาจากบิดา ในขณะเดียวกันก็รับเอาความสวยงาน ความมีเสน่ห์จากมารดาซึ่งสืบทอดมาให้เห็นในคนเวียดนามปัจจุบันว่า เป็นผู้ที่กลบ้าหาญ เป็นนักต่อสู้อดทนอย่างยิ่งยวด ในขณะเดียวกันก็เป็นผุ้มีเสน่ห์ สง่างามmodernpublishing.co.th/กำเนิดเวียดนาม
          ความเป็นมาของเวียดนามสามารถสืบย้อยกลับไปได้มากกว่า 4,000 ปีก่อน การค้นบพทางโบารณคดีจากปี พ.ศ. 2508 ได้ค้นพบซากของสองมนุษย์ดบราณสายพันธุ์ของมนุษย์ลิงชิมแปนซีได้แยกออกไปแล้ว ดดยมีความเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับ โฮโม อีเรทตัส ทใไ้สามารถย้อนไกลไปยุค สมัยไพลสโตซีนตอนกลาง อายุประมาณ 730,000-125,000 ปี เวียดนามโบราณจึงเป็นที่ตั้งของหนึ่งในอารยธรรมและสังคมที่เก่าแก่ที่สุดในโลกแห่งหนึ่ง ทำให้ชาวเวียดนามโบราณเป็นหนึ่งในคนกลุ่มแรกของโลกที่ทำการเกษตร...
        จากการวิจัยของโรงพยาบาลแซ็ง-ลุยในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศ ในการเปรียบเทียบชาวเวียดนามกับชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพันธุกรรมของประชากรอันใกล้ชิดด้วยวิธีการต่างๆ โดยมีตัวแสดเอกลักษณ์เจ็ดประการที่ไม่ซ้ำกัน ผลลัพธ์บ่งชี้ว่าเวียดนามเป็นชาติพันธุ์สืบมาจากการผสมของชาวจีนและไทย-ลาว
             ชนเผ่าตระกูลไท-ลาว เป็นชนเป่าที่ถือเป็นเครืองญาติกับชนเผ่าเวียดนามโบราณ นักมานุษยวิทยาที่สถาบันวิจัยชนเผ่าที่ฮานอย ถือว่า ไทย-ลาว เป็นชนเผ่าไทเผ่าหนึ่งที่นับได้ว่าเป็นเผ่าเดียวกันกับชนเผ่าเวียดโบราณ  โดยมีการสันนิษฐานว่าชาวเวียดดบราณอาจจะมีการที่ใช้ภาษาตระกุลภาษาไท-กะได ที่ใกล้เคียงกัน อาจมีการแต่างการ ความเชื่อ ที่คล้ายคลึงกัน ชาวเวียดโบราณนั้นเกิดจากการผสมผสานของหลายชนเผ่ามี ชาวจิง จากบริเวณตอนใต้ของมณฑลกวางสีของจีน และชาวไท-ลาว
            ก่อนที่ชาวเวียดจะถูกจีนยึดครองซึงทำให้ชาวเวียดะสูญเสียวัฒนธรรมอันเป็นเอำลักาณ์ของตนไป ชาวจีนที่เข้ามาปกครองเวียดนามใช้นโยบายกลืนชาติ บังคับให้ชาวเวียดนามแต่งกายแบบจีน ใช้ภาษาจีนเป็นภาษาราชการ เขียนตัวอักษรจีน ซึ่งเวียดนามได้พัฒนาอักษรเป็นของตัวเองหรือ จื้อโนม แต่ก็ยังปรากฎคำศัพท์บางคำที่ใกล้เคียงภาษาไทยและภาษาลาวอยุ่บ้าง..
           ในช่วงที่เป็นเอกราชปกครองตนเองภายหลังการกำจัดผู้รุกรานชาวจีนลงได้  แล้วจึงก่อตั้งราชวงศ์ของเวียดนาม ราชวงศ์แรกขึ้นมาในปี ค.ศ. 939 และขนาดนามประเทศว่าไดเวียด จากนั้น และมีราชวงศ์ปกครองต่อมาอีก ได้แก่ ราชวงศ์ดิญ ราชวงศ์เลยุคก่อน ราชวงศ์ลี้ ราชวงศ์เจิ่น ราชวงศ์โห๋ ราชวงศ์เล ราชวงศ์เต็ยเซิน ราชวงศ์เหงียน
           
ข้าราชการยุคราชวงศ์เหงียน
 ในยุคราชวงศ์เหงียน สัยพระเจ้ามินหมาง ซึ่งตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเหล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3 แห่งรชวงศ์จักรีป ในแง่นี้สำหรับราชวงศ์เหงียนย่อมถือว่า พระนั่งเกล้าฯ ไม่ได้มีบุญคุณฯต่อราชวงศ์เหงียนและต่อพระเจ้ามินหม่าง บุญคุณนั้นเป็นเรืองระหว่างพระพุทธยอดฟ้ารัชกาลที่ 1 กับพรเจ้ายาลองต้นวงศ์เหงียนเท่านั้น ซึ่งทั้งสองพระเงค์ก็วรรคตไปแล้ว ดังนั้น ราชวงศ์เหงียนจึงไม่อ้ยกว่าสยามในขณะนั้นนัก (เพราะกองทัพราชวงศ์เหงียนยุคนั้นมีพื้นฐานผสมผสามนระหว่างกองทัพดบราณแบบจีน และความเป้นกองทัพสมัยใหม่้เเบบฝรั้่งเศส เพราะได้อาวุธและครูฝึกมาจากฝรั่งเศส) ดังนั้น นี่จึงจะเป็นเหตุผลที่ราชสำนักเหงียนตัดสินใจขยายอิทธิพลเข้าไปในลาวและกัมพูชา ดดยฉวยโอกาสจากการที่กลุ่มของเจ้าอนุ(เจ้าอนุวงศ์)แห่งเวียงจันทน์ของลาว และพวกเจ้ากัมพุชาที่ต่อต้านสยามหนีมาขอความช่วยเหลือกับตนเป็น "ข้ออ้าง" อันชอบธรรมในการที่จะส่งทหารเข้าไปแทรกแซงในลาวและกัมพุชา นำมาสู่สงคราม "อานามสยามยุทธ" ซึ่งถือเป้นความขัดแย้งทางการทางการทหารอย่างเปิดเผยครั้งแรกในประวัติศาสตร์ระหวางสองรัฐจากสองอารยธรนรมคือ สยามแห่งลุ่มน้ำเจ้าพระยาแห่งอารยธรรมผสมอินเดีย-มอญ-เขมร กับไดเหวียด หรือเวียดนามแห่งลุ่มน้ำแดง-ภลุ่มน้ำดำ แห่งอารยธรรมขงจื่อ ซึ่งกินเวลายาวนานกว่า 14 ปี 
            ต่อมาเวียดนามตกเป็นอาณานิคมฝรั่งเศส และถูกปบ่งประเทศออกเป็นเวียดนามเหนือและเวียดนามใต้ กระทั่งเวียดนามใต้พ่ายแพ้ต่อฝ่ายคอมมิวนิสต์ เวียดนามจึงปกครองภายใต้ระบอบคอมมิวนิสต์ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา..  th.wikipedia.org/wiki/ประวัติศาสตร์เวียดนาม
             ติช นัท ฮันห์ กับหมุ่บ้านพลัม 
              ติช นัท ฮันท์ เป็นพระภิกษุชาวเวียดนาม ผุ้นำเสอนความคิด พุทธศาสนาต้องเป้นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน และพุทธธรรมเป็นสิ่งที่สามารถประยุกต์ใช้ให้เข้ากับวิธีชีวิตยุคปัจจุบันได้ ท่านเป็นที่รู้จักในฐาน พระเถระชั้นผุ้ใหญ พระอาจารย์เซน พระมหาเถระในพุทธศาสนามหายานผุ้สนการฝึกสมาธิภาวนา เป็นกวี นักเขียน นักต่อสู้เพื่อสันติภาพ
              ติช นัท ฮันห์ กำเนิเมือปี พงศ. 2469( ค.ศ.1926)  ในจังหวัดกวางสี ภาคกลางของเวียดนาม มีนาเดิมว่าเหงียน ซวน เป๋า ส่วน ติช นัท ฮันห์" ที่ถูกต้องออกเสียวกว่า ทิจ ญัด หัญ ซึ่งเป็นนามทางธรรมที่ได้รับหลังการบวช
              ใน พงศ. 2505 ได้รับทุนจากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตันเพื่อศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ จึงเดินทงไปศึกษายังประเทศสหรัฐอเมริกา หลังจากนั้น 1 ปี ก็ได้รับทุนอีกจากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย แต่ท่านตัดสินใจกลับเวียดนาม เพื่อสานต่อแนวคิดพุทธศาสนาที่รับใช้สังคม ดดยก่อตั้งดรงเรียนยุวชนรับใช้สังคม เยียวยาความเสียหายจากสงคราม และพัฒนาวงการสงฆ์ด้วยการสอน และนำเสอน้อเขียต่อสภาบันพุทธชั้นสูงด้วยคติว่า การกระทำและปัญญา ต้องไปด้วยกัน หรือ คณะดั่งกันและกัน โดยปฎิบัติตามสิกขาบท 14 ประการ ซึ่งเลือกเฟ้นมาจากแก่นคำสอนในพระพุทธศาสนา
             ในช่วงนั้นเป็นช่วงที่คุกรุ่นด้วยไฟสงครา และท่านตระหนักถึงการต่อสุ้เพื่อสันติภาพโดยรณรงค์ให้แก้ปัญหาที่ต้นเหตุคือรณรงค์ให้หยุดการสนับสนุสงครามโดยเฉพาะการแทรกแซงของสหรัฐฯ มุ่งเน้นสันติภาพ โดยปลูกจิตสำนึกผุ้คนทั่งดลกจนมารืติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ เสนอชื่อ ติช นัท ฮันห์ เข้ารับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ด้วยเหตุนี้รัฐบาลเวียดนามจึงปฏิเสธการกลับประเทศของท่าน แม้ว่าภายหลังจะมีัการรวมประเทศก็ตาม
            เมื่อเวียดนามปฏิเสธการกลับเข้าประเทศ ท่านจึงต้องลีภัยอย่งเป็นทางการไปพำนักที่ประเทศฝรั่งเศส โดยเป็นอาจารย์สอนประวัติสาสตร์ในมหาวิยาลัยและสร้างอาศรมนอกเมืองปารีสเพื่อเขียหนังสือและปลูกพืชสมุนไพร ระหว่งนั้นท่านยังคงทำงานเื่อสันติภาพ และเพื่อผู้ลี้ภัยอย่างสม่ำเสมอ การได้ร่วมทุกข์กับเพื่อนผุ้ลี้ภัีย ทำให้ท่านพบเห็นชะตากรรมของผุ้ตกทุกข์ได้ยากมากมายและมีวิธีการช่วยเหลือได้หลายช่องทาง หลายวิธีการ
             หมู่บ้านพลัม ติช นัท อัฯห์ ได้สร้าง "สังฆะ" ชุมชนแห่งการฝึกปฏิบัตเพื่อำเะนินชีวิตอย่างมีสติของพุทะบริษัท 4 ด้วยความตั้งใจที่จะแลกเปลี่ยนพระพุทะศาสนาในดินแดนตะวันตก สังหะ แห่งแรกตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2518  ชื่อว่า อาศรมมันเทศ ตั้งอบู่ทาตอนเหนือของประเทศฝรังเศส จากนั้นได้ย้ยลงไปทางตอนใต้และตั้งชื่อสังฆะแห่งใหม่นี้ว่า หมูบ้านพลัม ตามชื่อต้นพลัมที่ปลูกอยุ่ทั่วผืนดินแก่งนี้ 
         
  ปัจจุบัน มีชุมชนการปฏิบัติธรรมแห่งหมู่บ้านพลัมกระจายอยู่ในหลายประเทศ อาทิประเทศฝรัี่งเปสศ อเมิริการเอยรมัน ฮ่องกง และล่าสุดที่ประทเศไทย ดดยมีนักบวชกว่า 500 รุป จาก 20 ประเทศทั่วดลก และมีกลุ่มปฏิบัติธรรมตามแนวทางปมุ่บ้านพลัมหรือ "สังฆะ" เกือบหนึ่งพันกลุ่ม กระจายอยุ่ใน 31 ประเทศโลก2thaiplumvillage.org/index.php?option=com_content&view=category&layout=blog&id=32&Itemid=2
              ภาษาเวียดนาม เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์และเป็นภาษาทางการของประเทศเวียดนาม เป้นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึงร้อยละ 87 รวมถึงผุ้อพยพจาเหวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนามอเมริกัน เป็นจำนวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาาาจีนและเดิมใช้อักษรจีนเชียน แต่นักภาษาศาสตร์บยังคงภาษาเวียดนามให้เป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก ซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผุ้พุดมากที่สุด ( 10 เท่าของภาษาที่มีจำนวนคนพุดเป็นอันดับรองลงมา คือ ภาษาเขมร) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้น แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื้อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนาม เรียกว่า "จื้อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรดรมันที่พัฒนาขึ้นโดยมิชชันนารี ชาวฝรั่งเศส โดยเครืองหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต์th.wikipedia.org/wiki/ภาษาเวียดนาม

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)