Local

               ภาษาราชาการของประเทศสมาชิกอเซียน แต่ละชาตินั้น มีทั้งความแตกต่างกันและความเหใื่อนสำหรับประเทศอินโดนีเซีย มีภาษาราชาการคือ  บาฮาซา อินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซียน ภาาาราชการคือ ภาษามาเลย์ หรือภาษามลายู, ประเทศฟิลิปปินส์ ภาษาราชการตือ ภาษาฟิลิปปินส์ ประเทศบรูไน ภาาราชการตือ ภาษามาเลย์ ประเทศเวียดนาม ภาษาราชการคือ ภาษาเวียดนาม ประเทศลาว ภาษาราชการคือ ภาษาลาว ประเทศพม่า ภาษาราชการคือ ภาษาพม่า ประเทศกัมพุชา ภษาราชการคือ ภาษาเขมร และประเทศไทยภาษาราชการคือ ภาษาไทย
             ทั้งนี้ เพื่อให้การติดต่อสื่อสารให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ประชาคมอาเวยได้กำหนดให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการทำงานของอาเซียน ตามกฎบัตรอาเซียน ข้อ 34 โดยภาษาอังกฤษจะเป็นภาษาที่ใช้ในระหว่างการประชุม การโต้ตอบทางจดหมาย การจัดทำรายงานการประชุม ผลการพิจารณาและมติที่ประชุมตลอดจนการจัดทำคำแถลงการณ์ และการปฏิสัมพันธ์ต่างๆ ของอาเซียน ซึ่งในประเทศสมาชิกที่กล่าวมาในข้างต้นมีเพียงประเทศสิงคฮโปร์ประเทศเดียวที่ใช้ภาษารชการ เป็นภาษาอังกฤษ และเป็นภาษาอาเซียน
            นอกจากภาษาราชการ และภาษาอังกฤษ ในกลุ่มประเทศอาเวียน ทั้ง 10 ชาติยังมีภาษาถิ่นที่ประชาชนแต่ละพื้นที่ใสช้ติดต่อสื่อสารกันยกตัวอย่าง ภาษาในประเทศไทย มีผู้พูดหลายภาษาด้วยกัน โดยมีภาษาหลักคือภาษาไทยมาตรฐาน นอกจากนั้นยังมีภาษาถิ่น่ย่อย และภาษาอื่นๆ อีกหลายตระกูลภา โดยรวมมีผู้ใช้ภาษาราว 74 ภาษาในประเทศไทยได้แก่ ภาษาไทยภาคกลาง ภาษาไทยถินใต้ ภาษาไทยโคราช ไทยอีสาน การอู้กำเมือง เป้นต้น ขณะเดียวกันก็มีภาษาจีนอีกหลายถิ่นย่อย เช่น จีนแต้จิ๋ว จีนกลาง จีนแคะ ภาษาจีนกวางตุ้ง และชนเชื้อสายอื่นในประเทไทย เช่น ตระกูลภาาาไทดำ/โซ่ง มอญ เขมร อ่าข่า กุย/กวย พม่า ไทยใหญ่ ปกาเกะญอ และภาษามลายูถิ่น เป็นต้น
            ภาษาถิ่นแต่ละภาษาสะทอนถึงระบบคิด ระบบความรู้ของมนุษย์ในเรื่องของภูมิปัญญาท้องถิ่น อันเ็นอัตลักษณ์ที่โดดเด่น ทั้งในทางวัฒนธรรมของชาติ และวิถีชีวิต ซึ่งล้วนแต่ควรค่าแก่การอนุรกษ์ให้คงอยู่คู่ชุมชนท้องถ่ิน ที่สำคัญการรักษาทุกภาษาให้คงอยู่ เปรีบได้กับการรักษามรดกของมนุษยชาติ ปละภูมิปัญญาท้องถิ่น ทั้นี้หากศัพท์บางศัพท์หายไป ก็อาจเป็นการสูญเสยภูมิปัญญาท้องถ่ินนั้นๆ ไปด้วย เพื่อเป็นการรักษามรดกของมนุษย์ชาติ และสร้างความเสมอภาคทางสังคม ด้านการศึกษา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ร่วมกับ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล และองค์การยูนิเซฟประเทศไทย ให้การสนับสนุน "โครงการจัดการเรียนการสอนแบบทวิ-พนุภาษาไทย-มลายูปาตานี ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย" หรือ "ทวิภาษา" โดยมี ศาสสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สุวิไล เปรมศรีรัตน์ เป็นหัวหน้าโครงการฯ ซึ่งเป็นหนึ่งในภาษาถิ่นของอาเซียน โดยบมีโรงเรียนที่เข้าโครงการจำนวน 16 โรงเรียน ใน 4 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ ได้แก่ ปัตตานี ยะลา นรธิวาส และสตูล
             สำหรับโครงการทวิภาษามีจุดมุ่งหมายที่จะเสริมสร้างความเข้มแข็งและความปรองดองด้วยการเรียนการสอนแบบทวิภาาาที่จัดขึ้นเพื่อกลุ่คนมลายูถิ่นปัตตานี ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หสึ่งที่อาศยอยุ่ทางภาคใต้ของประเทศไทยตั้งแต่ชั้นอนุบาลจนถึงประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการศึกษาวิจัยตลอด 9 ปี ที่ผ่านมมีผลวิจัยว่าเด็กมีผลการเรียนที่ดีขึ้น และมีพื้นฐานที่ดีในการอ่านเขียนภาษาไทย ควบคู่กับการอ่านและสื่อสารมลายูถิ่น เชื่อมโยงจากสื่อเก่าไปสื่อใหม่ ที่เป็นภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถือเป็นการลงทุนด้านการวิจัยที่มี "แอคชั่น" คือ สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้จริง
           
เจาะตลาดอาเซียนโดยใช้ภาษาท้องถิ่น
ที่สำคัญโครงการทวิภาษาฯ ใช้พลังของภาษาแม่เพื่อช่วยแก้ปัญหาเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่ต่ำกว่ามาตรฐาน ที่เป้ฯปัญหาเรื้อรังมาเป็นเวลานาน ซึ่งจะช่วยสังคมและภาษาดีขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยให้เด็ก ๆ รู้สึกภูมิใจในภาษาถ่ินของตน ได้เรียนรู้ที่จะยอุ่ร่วมกับกลุ่มคนอื่นๆ ที่ใช้ภาษาที่แตกต่างจากตนเอง คนไทยและคนมลายูจะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างมประสิทธิภาพเนื่องจากพวกเขาต้องอาศัยอยู่ในประเทศเดียวกัน และวังเป็อย่างยิ่งว่าโครงกาทวิภาษา จะถูกผลักดันให้มีการนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป โดยเฉพาะในระดับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
            แม้ที่ผ่านมาการดำเนินงานของทีมวิจัย จะมีเสียงต่อต้าน ด้วยข้อกังวลยางประการ แต่เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง ทั้งจากสภานการณ์ และวัน เวลา สังคมควรเรียนรุ้การเปลี่ยนแปลง และยอมรับทั้งนี้หากมองในแง่ลบโครงการนี้อาจมีผลต่อภาษาถ่ิที่มีกรใชมาอย่างยาวนาน แต่ถ้ามองในทางวก เป้ฯการเก็บภาษามลายูเอาไว้ในรูปแบบของภษาไทย ในขณะเดียวกัย โครงการดังกล่าวเป็นการช่วยให้เด็กจังหวัดชายแดนใต้ในบางพื้ที่ ให้ได้มีโอกาสทางด้านการศึกษาอย่างเท่าเทียม และเสมอภาค
            ปัจจุบัการจัดการเรียนการสอนแบบทวิภาษา (ภาษาไทย-มลายูถิ่น) ถูกนำไปประยุกต์ใช้กับเยาชนในพื้นที่อื่นๆ ที่มีภาษาและวัฒนธรรมท้องถิ่นต่างไปจากภาษาและวัฒนธรรมสส่วนกลาง ได้แก่ หลุ่มเขมรถิ่นไทย จ.สุรินทร์ กลุ่มชมุ จ. น่านกลุ่มละเวือะ จ. แม่ฮ่องสอน เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้รับการเสนอให้เป็นต้นแบบ สำหรับการจัดศึกษาของประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซย ลาวและประเทศเพื่อนบ้านอื่นๆ ซึ่งถือเป็นความร่วมมือในระดับอาเซียน
            ทั้งนี้ ความสำเร็จในการอนุรักษ์ภาษาถิ่น และการแก้ปัญหาทางด้านการศึกษา โดยโครงการทวิภาษา ได้รับการยกย่อง และมอบรางวัล เนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปี "วันรู้หนังสือโลก" 8 กันยายน 2559 จากองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก ...http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/639409
              สรุปความจากสัมนาวิชาการรัฐประศาสนสาตร์ (นโยบายสาธารณะ) "ประชาคมอาเซียน..จุดเปลี่ยนท้องถิ่นไทย คณะสังคมศาสตร์ ม.นเรศวร
              ผศ.ดร. อัชกรณ์ วงศ์ปรีดี กล่าวสรุปใน 6 ประเด็นดังนี้
              - การเตรียมโครงสร้างพั้นฐาน หมายถึงการเตรียมโครงสร้างพื้นที่ อปท.ต้องเรียวมรับกับโครงสร้างใหญ่ของประเทศ
              - การเตรียมการสร้างมุลค่าเพิ่มของสินค้า เช่นเรื่อง แพกเกจ การบรรจุหีบห่อ การไม่มีแบรนด์เป็นของตัวเอกในระดับอุตสาหกรรม จึงทำให้อุตสาหกรรมในบ้านเราเป็นเพียงการรับจ้างผลิต การเตรียมคนพัฒนาฝีเมือด้านทักษะอาจเป็นส่วนหนึ่งในการเตรียมความพร้อมได้ ควบคู่ไปกับการพัฒนา  ภาคบริการซึ่งเป็นภาคที่ทำรายได้ให้ประเทศมาก ดร. ปรีชา เรื่องจันทร์ ผู้ว่าราชการพิษณุโลกพุดหลายๆครั้งว่า "ผู้ว่าฯ มีหน้าที่นำนักท่องเที่ยวมากองในจังหวัด ผุ้ประกอบการ อปท.ทุกอย่างมีหน้าที่เอาเงินออกจากกระเป๋านักท่องเที่ยว" เป็นความคิดที่ดีและเป็นสิ่งที่เป็นจริง...
             - แผนรับมือภัยพิบัติ สาธารณะภัย เช่นปัญหาน้ำท่วมที่ผ่านมา มีโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม นวนคร 200-300 โรงงานกลับมาเป็นประมาณ 180 โรงงานที่เหลือยังคงลังเลอยู่ หากเกิดการต่อสู้แข่งขันในสถานะกาณณ์แบบนี้ เราเป็นผู้รับจ้างการผลิตเราต้องเตรียม มาตรการป้องกัน ระดับท้องถ่ิน ตัวอย่างเช่น เทศบาลนครปากเกร็ด "ปากเกร็ดโมเดล"เป็นการป้องกันน้ำท่วม มีทัเ้งหมด 400,000 ครัวเรือน น้ำท่วมไป 2,000 ครัวเรือน นายกเทศมนตรีใช้เงินสะสมสำรองจ่าง 150 ล้านบาท โดยไม่ต้องใช้เงินของประเทศ ถ้าเกิดน้ำท่วมทั้งหมด 400,000 ครัวเรือน รัฐบาลจะต้องเข้ามาช่วยเหลือทั้งหมด..
            - เรื่องภาษา เครื่องมือทางภาษ ไม่เฉพาะแค่ภาาาอังกฤษเท่านั้น อปท. ที่อยุ่ใกล้พม่าก็ควรจะสื่อสารกับพวกเค้าได้ หนังสือพิมพ์ออนไลน์ภาษาไทยคนประเทศลาวสามารถอ่านหนังสือพิมพ์ของประเทศไทยไ้ แต่คนไทยอ่านหนังสือของประเทศลาวไม่ออก นี้ความเสียงเปรียบของคนไทยแล้ว เป็นต้น
            - แผนกลยุทธ์ขององค์กรปกครองท้องถิ่น นอกจากจะมีแผน 3 ปี 5 ปี 10 ปี ข้าหน้าเราอยากเห็น อปท.ของเราเป้นอย่างไร ต้องมีกลยุทธ์ เป็นต้น
            - การเปิดใจรับความแปลกแยก แตกต่าง ทั้งทาการเมือง เศราฐกิจทางสังคมทั้งระดับภูมิภาค และระดับประเทศ...http://oknation.nationtv.tv/blog/dhiwakorn/2013/06/07/entry-1
             สรุปความจากการสัมมนา "มุมมองจากชุมชนท้องถ่ินเรื่องการเปิดเสรีอาเซียน" หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (วัฒนธรรมศึกษา) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สวก.) ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น ศุนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น จังหวัดนครศรีธรรมราช ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น อ่าวปัตตานีและสหภาพยุโรป ทำให้รู้ว่าคนจำนวนไม่น้อยยังมองภาพของ้องถ่ินกับอาเวียนแยกขาดจากกัน เพราะมองไม่เห็นจุดเชื่อโยงและสิ่งที่จะตามเข้ามาหลังเปิดประชาคมอาเซียนจึงทำให้หลายพื้นที่ยังไม่ตื่นตัว
         
 รศ.ดร. อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม แสดงปาฐกถาเรื่อง "การเปิดเสรีอาเซียนคืออะไร ส่งผลกระทบต่อชุมชนท้องถิ่นอย่างไร" ที่เปิดประเด็นว่าการเปิดเสรีอาเซียนเป็นโอกาศของใคร "กลุ่มรัฐและนายทุน" คือคำตอบที่ชัดเจน แต่ในทางกลับกันมิติของคนเล็กคนน้อยกลับขาดหายไป
           ที่ผ่านมาการนำเสนอภาพ "อาเซียน"ถูกนำเสนอแต่ในแง่มุมที่ดี เป้นมายาคติที่ว่าจะทำให้ก้าวข้ามพ้นกรอบรัฐชาติ เป้นการสร้างพื้นที่ทางการต้าการลงทุนให้ใหญ่ และเกิดตลาดใหญ่อาเวียนโผล่ขึ้นมา..ซึ่งจะเกิดประเด็น "ปลาใหญ่กินปลาเล็ก" นายทุนใหญ่ทุกประเทศจะมีโอกาสขยายตัว ข้ามออกเขตพื้นที่ของรัฐชาติไปแสวงหาประโยชน์ในประเทศเพื่อนบ้าน แต่เมื่อสำรวจแล้วคนที่ได้รับประโยชน์หลัก ได้แก่ "กลุ่มมยอดบนภูเขา" สำหรับประเทศไทยแล้วมีจำนวนอยู่ไม่เกิน  หกพันคน และแรงงานมีฝีมืออักประมาณ หนึ่งล้านห้าแสนคน ซึ่งคนเหล่านี้จะได้รับโอกาสที่จะเคลื่อนยายแรงงานไปได้หลายที่ แต่ในความเป็นตริงประเทศไทยมประชการ ประมาณ67 ล้านคน เป้นวัยทำงาน 30 ล้านคน จึงถือได้ว่าคนกลุ่มนอยเท่านั้นที่ได้รับประโยชน์ไ่เป็นทางการ ซึ่งเป็นอาชีพของคนเล็กคนน้อย ที่ถือเป็น "แรงงานอาเซียน" ในประเทศไทยมีอยุ่ถึงร้อยละ 65
          เมื่อทรัพยากรถุกป้อนเข้าสูระบบของรัฐและตลาดทุน "หลังพิง" ของคนเหล่านี้จะหายไป ไม่ว่าจะเป้นทะเล ภูเขา ในที่สุดก็จะถูกบีบให้เลือกและเป็นบุคคลผุ้เลื่อนฐานะในสังคมไม่ได้ ซึ่ง รศ.ดร.อรรถจักร์ได้เสนอทางออกไว้ "อาเซียนภาคประชาชน" คือหนทางที่จะสามารถสร้างอำนาจต่อรองของคนตัวเล็กตัวน้อยได้ เช่น ชาวประมงพื้นบ้านไทย-มาเลเซีย-อินโดนีเซีย ต้องจับกลุ่มกัน ชาวสวนยางต้องไม่วางขาไว้บนสวนยางเท่านั้น แต่ต้องมองไปถึงการแปรรูปด้วย เช่น ทำทั้งยางน้ำ ยางแผ่น และยางแกว เพื่อยกระดับสินค้า..
           "การไหลเวียนของแรงงานเป้นทางเลือกที่ถุกบีบบังคับและเสียสละในนามความสมานฉันท์ของอาเวียนเพื่อให้กลุ่ททุนร่ำรวย เราจะทำอย่างไรให้เกิดอาเซียนภาคประชาชนเพื่อสร้างดุลอำนาจในการต่อรอง จึงจะเพ่ิมพลังให้แก่ขาของเราได้ รวมทังการสร้างเครือข่ายที่หลากหลาย มีการพูดคุยกันในกลุ่มอาเซียนหรือเกิดสมาคมที่เข้มแข็งมากขึ้น เพื่อเป้ฯเงื่อนไขที่จะสามารถต่อรองกับกลุ่ทุนได้มากขึ้น มิฉะนั้นชาวบ้านจะตกทุกข์ได้ยากมากขึ้น และอาจเกิดสลัมในชนบทมากขึ้น.. "เมื่อรัฐคู่กับทุน ชุมชนต้องคู่กับความรู้" http://www.thaipoet.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=538796648&
             

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)