Mon..History of Mon

            มอญเผ่าพันธ์ตั้งเดิมแห่งกรุงหงสา ชนเผ่าที่มีภาษา วัฒนธรรม และประเพณี เป็นของตนเอง
กลุ่มชนที่อยุ่เป็นกลุ่มนอกระบบ ชนกลุ่มน้อยที่ไม่ยอมถูกชืมชนชาติอิสระที่ปกครองกันเอง เผ่าพันูุ์สมิงพระรามผู้เกรียงไกร ชนเผ่าที่ไร้แผ่นดิน กลุ่มชนที่ไม่มีบนแผนที่โลก ชนกลุ่มน้อยที่สหประชาชาติเมิน ชนชาติที่ถูกลืม..บนแผ่นดินสุวรรณภูมิ
           มอญ เป็นชนชาติเก่าแก่ ที่มีอารยธรรมรุ่งเรืองมากชนชาติหนึ่ง ในภูมิภาคนี้ ตามพงศาวดารพม่ากล่าวว่า "มอญ" เป็นชนชาติแรกที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในพม่ามาเป้นเวลาหลายศตวรรษก่อนคริสต์กาล ชาว "มอญ" เป็นพวกที่มีเชื้อสายอยุ่ ในกลุ่ม "มอญ" - เขมร และบางที่อาจจะอพยพมา จากตอนกลาางของทวีปเอเชีย เข้ามาตั้งอาณาจักรของตนทางตอนใต้ บริเวณลุ่มแม่น้ำสาละวินแ และสะโตง ซึงบริเวณนี้ในเอกสารของจีน และอินเดียเรียกว่า "สุวรรณภูมิ" ขณะเดียวกันในแถบตอนกลาง ของประเทศพม่าก็มีอาณาจักรหนึ่งที่เจริญรุ่งเรือง มาตั้งถ่ิน,านอยู่ นั่นก็คือ อาณาจักรพยู หรือ ศรีเกษตร พวกนี้ไม่เหมือนกับ "มอญ" หากเป็นพวกที่จัดอยู่ในเชื้อสายธิเบต-พม่า พวกพยู ได้ต้งแมืองหลวงแห่งแรกขึ้นที่ ศรีเกษตร ใกล้กับเมืองแปร ในปัจจุบัน และทุกวันนี้ ก็ยังคงมองเห็นเป้นซกปรักหักพัง ของสถาปัตย์แบบพุทธศาสนาหลายแห่ง โดยได้รับอิทธิพลมาจกสาสนพราหมณ์นั่นเอง..
            นักภูมิศาสตร์อาหรับบางท่านเรียกมอญวา รามัญประเทศ ซึ่งหมายถึง "ประเทศมอญ" คำนี้เพีนมาจากคำศัพท์โบราณของ "มอญ" คือ รามัญ ซึ่งเป็นคำที่ใช้เรียกตัวเองวา "มอญ" แต่พม่าเรียก "มอญ" วา "ตะเลง ซึ่งเพี้ยนมาจากคำว่า ตาลิกานา อันเป็นเป็นแค้วนหนึ่งทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดีย
           
 ตามตำนานกล่าวว่า มอญ เป็นผู้วางรากฐานสร้างเจดีย์ "ชเวดากอง" เป็นเวลาเกือบ 2,500 ปีมาแล้ว หากแต่ไม่สามารถพิสูจน์ได้ แรารู้แต่ว่า มอญ เป็ฯผู้นำศาสนาพุทธ เข้ามาในประเทศพม่า ในพุทธศตวรษที่ 2 อาณาจักรสุธรรมวดีหรือสะเทิม ซึ่งเป็นศูนย์กลาง ของ "อาณาจักรมอญ" มีสัมพันธ์ใกล้ชิด กับพระเจ้าอโศกมหาราช แห่งอินเดีย พระองค์ได้ส่งพระโสณะ และพระอุดตร มาประกาศพระพุทธศาสนา ที่เมืองนี้ก่อนเมืองใดๆ ในแถบสุวรรณภูมิ
                พงศาวดารมญ กล่าวถึงอาณาจักรสะเทิมว่า สร้างก่อน พ.ศ. 241 โดยพระราชโอรส 2 พระองค์ของพระเจ้าติสะ แห่งแควนหนึ่งของอินเดีย ได้นำพลพรรคลงเรือสำเภา มาจอดที่อ่าวเมาะตะมะ และตั้งถิ่นฐานที่นั่น วึ่งต่อมาเป็นที่ตั้งของเมืองสะเทิม ส่วนพระราชโอรสทั้งสอง ทรงเบื่อในการตีองเรือนจึงได้ออกบวชเป็นฤาษี บำเพ็ยตบะแก่กล้า จนวัหน่งได้นำลูกของพญานาคที่ทิ้งไว้ มาเลี้ยงดูเป็นบุตรบุญธรรม จนเมื่อเด็กเติบใหญ่ จึงไ้สร้างเมืองให้ ณ ปากอ่าวเมาะตะมะ ตรงที่สำเภมาจอด ให้ชื่อเมืองว่า สะเทิม ส่วนบุตรบุญธรรม ก็ได้รับการสถาปนาเป็นกษัตรยิ์นามว่า พระเจ้าสีหราชา ซึ่งได้เป็นปฐมกษัตริย์แห่งเมือง
           อาณาจักรสะเทิม รุ่งเรืองมาก โดยไดติดต่อค้าขาย ใกล้ชิดกับประเทศอินเดีย และลังกา และได้รับเอา อารยธรรมของอินเดียมาใช้ที่สำคัญคือทางด้านอักษรศาสตร์ และศาสนา โดยเฉพาะรับเอาพุทธศาสนานิกายหินยามมา มอญ เป็นชาติที่มีพบทบาทมากี่สุด ในการถ่ยทอดอารยธรรมอินเดีย ให้แก่ชนชาติอื่นๆ ในเอเชียอาคเนย์ เช่น ชาวพม่า ไทย และลาว ทั้งมีความเจริญสูง มีความรู้ดี ทางด้านการเกษตร และมีความชำนาญ ในกาชบประทาน โดยเป็นผู้ริเริ่มระบบชลประทานขึ้น ในลุ่มน้ำอิรวดี ทางตอนกลางของประเทศพม่า ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 พวกพยูได้ย้ายราชะานีไปอยู่ที่ ฮาลิน ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือในเขตแดนชเวโบ ในระยะเวลานั้นพวกน่านเจ้า ก็เข้ารุกรานทางตอนเหนือของพม่า  และทำสงครามกับพวกพยู ในปี พ.ศ. 1375 กวาดพวก "พยู" ก็หายไป ความอ่นแอของพวก "พยู" ทำให้ชนอีกพวกหนึ่ง ที่มีเชื้อสายเดียวกัน ได้แก่ พวกราม่า หรือพม่า ซึงอพยพมาจากบริเวณเขตแดนจีน-ทิเบต ได้เข้ามาตั้งหลักแหล่งทางตอนเหนือ ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 14 ได้เข้ารุกราน และยึดครองอินแดนของพวก "พยู" แล้วค่อยๆ กลืนพวก "พยู" จนสูญสิ้นชาติไปในที่สุด
              ในช่วงที่อาณาจัารพยูถูก "น่านเจ้า" รุกรานนั้น อาณาจักรมอญ ที่สะเทิน ก้ได้มีโอกาส ขยายอำาจไปทางภาคกลาง ของลุ่มแ่น้ำอิระวดีระยะหนึ่ง แต่ต่อมาเมื่อชนชาติพม่า มีอำนาจเหนืออาณาจักรพยู และได้ขยายอำาจลวมาทางใต้ ก็เข้ารุกรานพวกมอญทางภาคกลาง และลุ่มน้ำอิรวดี มอญในแถบนั้นจึงต้องถอยร่นลงมา รวมกำลังกันอยู่ทางตอนใต้เช่นเดิม และไ้สร้างเมืองหลวงขึ้นให่ที่ หงสาวดี เมื่อปี พ.ศ. 1368
          ตามตำนานพื้นเมืองของ "มอญ"...ดีว่า มีเจ้าชายสองพี่น้องจาะสะเทิม คือ เจ้าชายสามะละ และวิมะละ ได้มาตั้งเมืองหงสาวดีขึ้นบนเกาะ ซึ่งงอกออกมาจากทะเล อันเป็นบริเวณที่พระพุทธเจ้าทรงเห็นหงส์ 2 ตัว เล่นน้ำอยู่ เป็นส่วนหนึ่งของที่ราบลุ่มสามเหลี่ยม ริมฝั่งแม่น้ำอิระวดีซึ่งเรือของพ่อค้าอินเดีย เคยมาถึงเกาะดังกล่าวนั้นแล้ว แต่ "มอญ" ยังคงอ้างสิทธิ์ในเกาะนั้น แม้ว่าอินเดียวจะอ้างเป็นเจ้าของก็ตาม ต่อมาพระเจ้าสามะละพระเชษฎาได้ส่งพระอนุชาไปศึกษาต่อที่อินเดีย โดยสัญญาว่าเมื่อ
มอญปากเกร็ด
เสด็จกลับมาจะถวายราชสมบัติให้ แต่เมื่อเจ้าชายวิมะละเสด็จมา พระองค์ก็ไม่สนพระทัยทำตามสัญญา เจ้าชายวิมะละจึงก่อกบฎ และปลงพระชนพระเชษฎา แล้วยึดบัลลังก์ พระมเหสีของพระเจ้าสามะละ ได้นำพระราชโอรสหลบหนีไปอยุ่นอกเมือง บริเวณทุ่งเลี้ยงควาย จนเจ้าชายน้ยอเติบใหญ่ เป็นชายหนุ่มสูงใหย๋ กล้าหาญ และเข้มแข็ง เมื่อพระชนม์ได้ 16 ชันษา มีเรือพ่อค้าอินเดียมาท้ากษัตริย์ให้รบกับทหารอินเดีย ตัวสุงหญ่ โดยพนันเอาเมืองหงสาวดีกันกษัตริย์ทรงทราบดีว่าพระองค์ไม่สามารถสู้ได้  จึงประกาศหาผู้อาสามาบ แต่ไม่มีผุ้ใดอาสาเลย วันหนึ่งนายพรานออกป่าไปล่าสัตว์ ได้พบชายหนุ่มท่าทางเข้ฒแข็ง อยู่ท่ามกลางควายป่าดุร้าย ก็แปลกใจ จึงได้นำไปทูลต่อกษัตริย์ พระองค์จึงให้นำชายหนุ่มผุ้นั้นเข้าเผ้า และเมื่อทรงทราบว่าเป็นพระราชนัดดาของตนเอง ก็ทรงละอายพระทัยต่อความผิด ต่อมาชายหนุ่มผู้เป็นราชนัดดาของกษัตริย์ ได้อาสาออกรบ ปรากฎว่าได้รับชัยชนะในการต่อสู้ พระงค์จึงยินดีเป้นอย่างยิ่ง และได้คือราชบัลลังก์ให้เป็นรางวัลตอบแทน
             นอกจากนี้ในตำนาน ยังได้ให้รายพระนามกษัตรยิ์ที่ครองกรุงหงสาวดี ก่อนสมัยเจ้าฟ้ารั่ว แต่ไม่ทราบว่าถ๔กต้องหรือไม่ เพราะไม่มีเอกสารไดยืนยันได้ ซึ่งมีกษัตริย์ทั้งสิ้น 17 พระองค์ ตั้งแต่ พ.ศ.1368-1584
            หลังจากนั้นในช่วงปี 1,600-1,830 เป็นระยะที่กรงุหงสาวดี ตกอยู่ใต้อำนาจพุกามในพุทธศตวรรษที่ 16 "อาณาจักรสุธรรมวดี" ที่รุ่งเรืองก็สลายลงเนื่องจาก "พระเจ้าอนิรุทธ" กษัตรยิ์พม่าแห่ง "พุกาม" ได้ยกทัพมาตี และกวาดต้อนผู้คน ทรัพย์สมบัติ พระสงฆ์ พระไตรปิฎก กลับไปพุกามจำนวนมก รวมทั้ง "พระจ้ามนุหะ" กษัตริย์แห่งุธรรมวดีด้วย "พงศาวดารมอญ" บันทึกเหตุการณ์ครั้งนั้นว่า "เมืองสะเทินที่่ยิ่งใหญ่เหลือแต่ซากและเงียบสงบจับใจ"
มอญพระปะแดง
              การที่พระเจ้าอนุรุทธ์ ยกทัพมาตี "อาณาจักรมอญ" เป็นเพาะว่าขณะนั้น พระองค์ไม่พอใจในศาสนาเดิมของพุกาม ที่นับถือหมายานแบบตันตริก ซึ่งปนไสยศาสตร์ เรียกว่า "ลัทธิอริ" พระองค์ต้องการแก้ไข และทรงสนพระทัยในศาสนพุทธนิกายมหายาน ที่กำลังรุ่งเรืองมาก ในอาณาจักรสุทธรรมวดี ไปเผยแพร่ในพุกาม แต่เป็นการยาก เพราะพุกามขาดพระไตรปิฎก ดังนั้น พระองค์จึงส่งทูตไปขอพระไตรปิฎก จกพระเจ้ามนูนะแห่งสุธรรมวดี ตามคำแนะนำของ ชินอรหันต์ ซึ่งประวัติศาสตร์กล่าวว่า เป็นพระภิกษุมอยที่รงอาราธนา มาช่วยฟื้นฟูศาสนาในพุกาม แต่ว่าพระเจ้ามนูหะไม่ยินยอมให้ ทำให้พระเจ้านิรุทธ์ ซึ่งต้องการขยายอำนาจลงมาทางใต้อยู่แล้ว ฉวยโอกาสยกทัพมาตีสุธรรมวดี
              ในพงศาวดารมอญ กล่าวเป้นตำนานถึงการที่พระเจ้ามนูหะแพ้แก่พระเจ้าอนิรุทธว่า เป็นเพราะพระเจ้านอรุธได้ใช้กลวิธี ส่งพระราชธิดาของตนไปทำลายพระเจ้ามนูหะ ดยให้ธิดาของตนทำลายของวิเศษ 3 อย่ง ของพระเจ้ามนูหะ คือ ทำลายไม่ให้พระเจ้ามนูหะสมาทานศีล ทำลายกลองพิเศษ ทำลาย
มอญปทุมธานี
แม่ทัพ 2 คน ที่มีฝีมือเก่งกล้าในการรบ เมื่อพระธิดาสามารถทำลายได้แล้วทั้ง 3 อย่าง ก็ได้ส่งข่าวให้กองทัพของพระเจ้าอนิรุทธ์ กรีฑาทัพบุกเข้าตีสะเทิม จนอาณาจักรสะเทิมต้องแตกไปในที่สุด
               แม้ว่าพม่าจะได้ชัยชนะ แต่พม่าก็ต้องรับเอา "วัฒนธรรมของมอญ" มาเป้นของตนเอง "ภาษามอญ" ได้แทนที่ภาษาบาลี และสันสกฤตในจารึกหลวง และศาสนาพุทธเถรวาท ได้เ็นศษสนาที่นับถือสูงสุดในพุกาม ทั้งนี้เพราะ "มอญ" มีความใกล้ชิดกับลังกา ซึ่งขณะนั้นเป็นศูนย์กลาง ของพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท และนิกายนี้ก็ได้แพร่กระจายไปทั่วเอเซียอาคเนย์
           กษัตริย์พุกาม ผู้ซึ่งดำเนินนโยบายรวม "มอญ" กับพม่าเข้าด้วยกัน ตามนโยบายแบบเดียวกับพระเจ้าอนิรุทธ์ อีกพระองค์หนึ่งก็คือ พระเจ้ากยันสิทธะพระองค์ทรงดำเนินนโยบาย โดยทรงผูกมิตรกับราชตระกูลของพระเจ้ามนูหะ "กษัตริย์มอญ" แห่งสะเทิม โดยการยกพระเจ้าอลองคะสิทธินี้เองที่ "อาณาจักรพุกาม" ได้รวมตัวกันเป็นปึกแผ่นที่สุด นอกจากนี้ในสมัยของพรเจ้ายันสิทธะ ศิลาจารึกของพระองค์จะมีทั้ง "ภาษามอญ" และภาษาพม่า คำประกาศใน "ภาษามอญ" ก็ยกย่อง "วัฒนธรรมมอญ" เหนือกว่าวัฒนธรรมพม่าด้วย
              มอญ ได้ตกอยุ่ใต้อำนาจของพม่า มาจนถึงปี พ.ศ. 1830 เมื่อ "มองโกล"ยกทัพมาตรพม่า มอญ ก็ไดรับเอกราชอีกครั้งหนึ่งโดย มะกะโท หรือพระเจ้าฟ้ารั่ว หรือวาเรรุ ราชบุตรเขยของ "พ่อขุนhttp://www.openbase.in.th/node/9781
รามคำแหง" ได้กอบกู้เอกราช และสถาปนาราชวง ชาน-ตะเลง สถาปนา "อาณาจักมอญอิสระ" มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองเมาะตะมะ เมาะตะมะ เป็นเมืองหลวงของมอญจนถึงปี พ.ศ. 1912 ก็ย้ายกลับไปหงสาวดีตามเดิม ถึงในสมัย "พระเจ้าราชาธิราช" นั้น "หงสาวดี" ก็กลายเป็นศูย์กลางทางการค้าที่ ใหญ่โต ทางแถบ "อ่าวเบงกอล" มีเมืองท่าที่สำคัญหลายแห่ง "อาณาจักรมอญ" เจริญสูงสุดในสมัยพระเจ้าธรรมเจดีย์ คือ ระหว่าง พงศ. 2015-2035 หลังจากนั้นในปี พงศ. 2094 หงสาวดีก็เสียแก่ พรเจ้า "ตะเบชะเวตี้" กษัตริย์พม่า ซึ่งในช่วงนี้เองที่ราชวงศ์ตองอูของพม่าขึ้นปกครองหงสาวดี จนถึงปี พ.ศ.2283 สมิงทอพุทธิเกศ ก็กู้เอกราชคืน มาจากพม่าได้สำเร็จ ทั้งยังยกทัพไปตีเมืองอังวะอีกด้วย ใน พ.ศ. 2290 พระยาทะละ ได้ครองอำนาจแทนสมิงทอพุทธเกศ ได้ทำการขยายอาณาเขตต่อไป ทำให้อาณาจักรพม่าสลายตัวลง แต่ "ชัยชนะของมญ" ก็เป็นช่วงสั้นๆ เท่านั้น ในปี พ.ศ. 2300 อลองพญา ก็กู้อิสราพของพม่ากลับคืนมาได้ ทั้งยังได้โจตีมอญ จนต้องตกอยุ่ภายใต้อำนาจพม่า และนับตั้งแต่นั้นมา มอญ ก็ไม่มีโอากาสที่จะกู้เอกราชคืนมาได้อีกเลย
            การอพยพหลังจากพ่ายแพ้สงครามเข้ามาสู่ประเทศไทยของชาวมอญ หลายต่อหลายดังนี้
             - เมื่อ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตีตีหงสาวดีแตกใน พ.ศ. 2082 ชาวมอญจำนวนมากหนีเข้ามกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าแผ่นดินโปรดฯให้ตั้งบ้านเรือนอยู่แถบตัวเมืองกรุงศรีอยุธยาชั้นนอก ซึ่งเป็นการอพยพระรอกแรกของชาวมอญ
           
  - เมื่อพระนเรศวรเสด็จไปพม่าเมื่อครววพระเจ้าบุเรงนองสิ้นพระชนม์ แล้วประกาศเอกราช ทรงชักชวนมอญที่เข้าสวาิภักดิ์ ให้อพยพเข้ามาพร้อมกัน ราว พ.ศ. 2127 ในการอพยพครั้งนี้ไม่ปรากฎว่าพระเจ้าแผ่นดินโปรดฯให้ตั้งบ้านเรือนที่ใด แต่คาดว่าคงเป็นย่านเดียวกับการอพยพครวแรก
               - เมื่อหงสาวดีถูก "ยะไข่" ทำลายใน พ.ศ. 2138 ครั้งนี้มีการอพยพใหญ่ของมอญ มาทางตะวันออกเข้าสู่ดินแดนของกรุงศรีอยุธยาอีก
               - หลังจากที่ราชวงศ์ตองอูย้ายราชธานีไปอยู่ที่อังวะ หลังจากหงสาวดีถูกทำลายแล้วพวกมอญ ตั้งอำนาจขึ้นใหม่ในดินแดนของตน ต่อมา ถึงรัชการพระจเ้านอกเปกหลุน พม่าจึงยกทัพมาปราบพวกมอญอีกใน พ.ศ. 2156 ทำให้เกิดการอพยพของมอญเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาอีก หลักฐานบางอย่างกล่าว่า มอญ กลุ่มนี้ได้รับอนุญาตให้ตั้งภูมิลำเนอยู่ตามแยวชายแดนไทย
               - ใน พ.ศ. 2204-2205 พวกมอญในเมืองเมาะตะมะก่อการกบฎขึ้นอีก แต่ถูกพม่าปราบลง จึงต้องอพยพหนีเข้ากรุงศรีอยุธยาอีกระลอกหนึ่ง ผ่านทางด่านเจดีย์สามอง๕์ เข้าใจว่ากลุ่มนี้สัมพันธ์กับกลุ่มมอญที่ตั้งอยู่ชายแดน
               - หลังจากที่มอญสามารถตั้งอาณาจักรของตนขึ้นได้ใหม่ในปลายราชวงศ์ตองอู แล้วยกกำลังไปตีกรุงอังวะแตก อลองพญารวบรวมกำลังพม่าแล้วลุกขึ้จต่่อสู่จนในที่สุดก็ตั้งราชวงศ์อลองพญาได้ และใน พ.ศ. 2300 ก็สามารถตีหงสาวดีได้อีก นโยบยของราชวงศ์นี้ คือ กลืน มอญ ให้เป็ฯพม่าโดยวิธีรุนแรง จึงมีชาวมอญอพยพหนีมาสู่เมืองไทย อีกหลายระลอก รวมทั้งหลุ่มที่หนีขึ้เหนือไปสู่ล้านนา และเรียกกันว่าพวก "เม็ง" ในปัจจุบัน
              - ใน พ.ศ. 2316 ตรงกับแผ่นดินกรุงธนบุรี มอญก่อกบฎในย่างกุ้ง พม่าปราบปรามอย่างทารุณแล้วเผ่าย่างกุ้งจนราบเรียบ ทำให้มอญอพยพเข้าไทยอี พระเจ้าตากสินทรงโปรดฯ ให้ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ปากเกร็ด ซึ่งทำให้เกิดกลุ่มมอญเก่า (พระยารมัญวงศ์) และมอญใหม่ (พระเจ้าเจ่ง) คนที่นับตัวเอง เป็นมอญ ในปัจจุบันล้วนอพยพเข้ามาจากระลอกนี้ หรือหลังจากนี้ทั้งนั้นส่วน มอญ ที่อพยพก่อหน้านี้กลืนหายเป็นไทยไปหมด แม้แต่กลุ่มที่อยุ่ตามชายแดนแถบเมืองกาญจนบุรี
             
 - ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ยึดเมืองทวายได้ แต่รักษาไว้ไม่ได้ต้องถอยกลับเข้าไทย ก็นำเอาพวกมอญโดยเฉพาะที่เป็นพวกหัวหน้าเข้ามาอีก
               - ในสัยพระสมเด็จพระพุทธเลิดหล้านภาลัย เมื่อ มอญ ไม่พอใจที่ถูกพม่าเกณฑ์แรงงานก่อสร้างพรเจดีย์จึงก่อกบฎที่เมืองเมะตะมะ ถูกพม่าปราบ ต้องหนีเข้าไทยเป็นระลอกใหญ่มาก ราวสีหมืนคนเศษ เจ้าฟ้ามงกุฎ(ต่อมาคือรัชกาลที่ 4) ทรงเสด็จเป็นแม่กองพร้อมด้วยกรมหลวงพิทักษ์มนตรี ออกไปรับถึงชายแดน พวกนี้มาตั้งรกรากที่สามโคก (ปทุมธาน) ปากเกร็ด และพระประแดง มอญที่อพยพเข้ามครั้งนี้เรียกกันว่ามอญใหญ่http://siamois-wenhua.thai-forum.net/t202-topic

ความคิดเห็น

  1. ทำไมพิมพ์ภาษาไทยผิดหลายตัวจังคนที่พิมพ์เป็นคนไทยหรือเปล่า..ไม่ได้เหยียดหรือดูถูก..แค่แปลกใจภาษาไทยมันผิดหลายคำ..แล้วข้อมูลที่ลงไว้จะมั่นใจได้หรือไม่..ภาษาไทยยังผิดหลายคำ

    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)