วันศุกร์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2560

Royal tradition

         พระบรมโกศ หรือ พระโกศทรงพระศพ ตามโบราณราชประเพณี
         พระบรมโกศ หรือพระโกศ คือ ภาชนะเครื่องสูง สำหรังรรจุพระบมศพของพระมหากษัตริย์หรือพระศพของพระบรมวงศ์ นอจากนี้ยังมีโกศที่พระราชทานสำหรับศพข้าราชการผู้มีบรรดาศักดิ์สูงซึ่งการใช้โกศบรรจุพระศพพระราชวงศ์ไทยเป็นธรรมเนียมทำกันมานานแล้ว แต่ไม่มีผุ้ใดทราบแน่ชัดว่าเร่ิมมาตั้งแต่สมัยใด ทราบเพียงว่ามีหลักฐานการใช้พระโกศในสมัยกรุงศรีอยุธยา
          ลักษณะพระโกศมีรูปทรงกระบอก ปากผาย ก้นสอบเล็กน้อย มียอดแหลม ผาทรงกรม อาจแยกตามวัตถุประสงค์การใช้งานเป็น 2 ประเภทคือ พระโกศสำหรับทรงพระบรมศพหรือพระศพ และพระโกศพะบรมอัฐิหรือพระอัฐิ สำหรับพระโกศพระบรมศพมี่ 2 ชั้น คือ
          - ชั้นนอก เรียกว่า "ลอง" ทำด้วยโครงไม้หุ้มทองปิดทอง ประดับกระจกอัญมนี ใช้สำหรับประกอบปิด"โกศชั้นใน"
          - ชั้นใน เรียกว่า "กศ"ทำดวยเหล็ก ทองแดงหรือเงิน ปิดทองทั้งองค์
          เมื่อเชิญพระบรมศฑลงสถิตในพระโกศแล้ว จังเชิญเอา "พระลอง" หุ้มพระโกศอีกชั้นหหนึ่ง ต่อมานิยมเรียกพระลอง เป็นพระโกศแทน จนเข้าใจว่าเป็นสิ่งเดียวกัน

             พระโกศทองใหญ่ รัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 โปรดให้สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2531 โดยโปรดให้รื้อทองที่หุ้มพระโกศกุดันมาทำพระโกศทองใหญ่ขึ้นไว้สไหรับพระบรมศพของพระองค์ เมื่อทำพระโกศองค์น้สำเร็จแล้ว จึงโปรดให้เอาเข้าไปตั้งถว่ายทอดพระเนตรในพระที่นั่งไพศาลทักษิณ ทว่าในปีนั้นสมเ็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า กรมหลวงศรีสุนทรเทพสิ้นพระชนม์ จึงโปรดให้เชิญพระโกศท่องใหญ่ไปประกอบพระศพเป็นครั้งแรก จึงเกิดเป็นประเพณีใรัชกาลต่อมาที่มีการพระราชทานพระโกศทองใหญ่ให้ทรงพระศพอื่นนอกจาพระบรมศฑได้ และได้ใช้ทรงพระบรมศพพระมหากษัตริย์ พระศพเจ้านายในพระบรมราชวงศ์สืบต่่อมาทุกรัชกาล
            พระโกศทองใหญ่ รัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเหล้าเจ้าอยู่ห้ว โปรดเหล้าฯ ให้พระวรวงศ์เธอกรมหมื่นปราบปรปักษ์ทรงสร้างถวายเมื่อ พ.ศ. 2443 เป็นพระโกศแปดเหลี่ยมยอด ทรงมงกุฎ ทำจากไม้หุ้มทองคำประดับหลอยขาว โดยทั่วไปเชื่อกันว่าสร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบพระลอง เป็นการชั่วคราว แทนพระโกศทองใหญ่ รัชกาลที่ 1 ซึ่งต้องเชิญออกไปขัดแต่งก่อนออกพระเมรุ ทำให้เรียกกันว่าพระโกศทองรองทรง
            ต่อมาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงวิจารณ์ว่า ควรเรียกพระโกศทองใหญ่ เพราะมีวัตถุประสงค์หลักในการสร้างเพื่อใช้ทรงพระบรมศพหรือพระศพเจ้านายที่มีศักดิ์สูงพร้อมกัน จึงมีศักดิ์เสมอด้วยพระโกศทองใหญ่รัชกาลที่ 1 เช่นกัน และใช้ทรงพระศพเจ้านายสืบมา เช่น พระบรมศพสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7, พระศพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัฒฒวดี และใช้ในการพระบรมศพ พระบาทสมเด้จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยประดิษฐานเหนือพระแท่นสุวรณเบญจดลภายใต้พระนพปฎลมหาเศวตฉัตรภายในพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
              พระโกศทองใหญ่ รัชกาลที่ 9 เนื่องด้วยพระโกศทองใหญ่รัชกาลที่ 1 และรัชกาลที่ 5 ค่อนข้างชำรุดเพราะผ่านการใช้งานมาหลายคราวแล้ว พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จึงโปรดเหล้าฯ ให้สร้างพระโกศทองใหญ่ขึ้น เมื่อราว พ.ศ. 2543 นับเป็นพระโกศทองใหญ่องค์ที่ 3 ของกรุงรัตนโกสินทร์ มีลักษณะเป้ฯพระโกศแปดเหลี่ยม ยอดทรงมงกุฎทำจากไม้หุ้มท่องคำ ประับพลอยขาวทรวดทรงและลวดลายผสมผสานกันระหว่างพระโกศทองใหญ่รัชกาลที่ 1 และรัชกาลที่ 5 ยอดพระโกศปักพุทมดอกไม้เพชร, ฝาพระโกศ ประดับดอกไม้ไหว ดอกไม้เพชร, ปากพระโกศ ห้อยเฟืองเพชร ระย้าเพชร อุบะดอกไม้เพชร, เอวพระโกศ ปักดอกไม้เพชร ใช้ในการพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นครั้งแรก

             การอัญเชิญพระศฑลงพระโกศ ในส่วนของการบรรจุพระบรมโกศ หรือพระโกศนั้นตามคตินิยมของพราหมณ์เชื่อว่า เมื่อพระมหากษัตริยืและพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์เสด็จสวรรคตหรือสิ้นพระชนม์ จะประกอบพิธีบรรจุพระบรมศพ พระศพลงในพระโกศ โดยต้องตั้งพระศพในท่ายืน, นั่ง, คุกเข่า หรือกอดเข่าประสานมือ เพื่อส่งพระศพและพระวิญญาณเสด็จกลับสู่สรวงสวรรค์
            โดยจดหมายเหตุรัชกาลที่ 3 กล่าวถึงการทำสุกำพระบรมศพของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งทำให้เป็นแบบแผนและวิธีการแต่ครั้งอดีตว่า เร่ิมจากการถวายเครื่องสำหรับค้ำพระเศียร คือ ไม้กาจับหลัก หรือ พระปทุมปัตนิการ รองที่พระบาท (เท้า) ซึ่งมีก้านออกมาค้ำพระหนุ (คาง) ให้พระเศียรอยู่ในท่าที่เหมาะสม อาจเพื่อให้พระเศียรไม่ก้มต่ำลงมาหรือขยับเขยื้อน ก่อนจะจัดพระอิริยาบทให้อยูในท่านั่งต่อไป
             หลังจากถวายเครื่องค้ำพระเศียรแล้วจึงถวาย พระกัปปาสิกะสูตร (ด้ายสายสิญจน์หรือด้ายดิบ)ทำสุกำพระบรมศพหรือมัดตราสัง แล้วเตรียมผ้าห่อเหมี้ยง รหือ พระกัปปาสิกะเศวตพัสตร์ (ผ้าฝ้ายสีขาว) ปูซ้อนกันเป็นรูปหกแฉก แล้วเชิญพระบรมศพให้ประทับในท่านั่งเหนือผ้านั้น แล้วรวบชายผ้าไว้เหนือพระเศียรซึ่งจะปล่อยชายผ้าไว้สำหรับผุกพระภูษาโยงสดับปกรณ์ จากนั้นห่อด้วยผ้าตั้งแต่พระบาท (เท้า) พันขึ้นไปจนถึงพระกัณฐฐา (คอ) แล้วเหน็บไว้ หลังจากนั้นจึงเชิยพระบรมศพลงพระโกศหนุนด้วยหนอนโยรอบเพื่อกันเอียงเป็นเสร็จขั้นตอน
            อย่างไรก็ตามได้มีการเปลี่ยนแปลงเมื่อรั้งงานพระบรมศพสมเด็จพระศรรีนครินทราบรมราชชนนี (โดย แผนเพจ คลังประวัติศาสตร์ไทย ซึ่งเป็นเพจที่ให้ข้อมูลทางด้านประวัติศาสตร์ของประเทศ) เมื่อคราวสมเด็จย่าสวรรคตนั้น พระองค์ได้รับสั่งว่าให้นำท่านลงหีบ ซึ่งพระราชกระแสรับสั่งนี้เกิดขึ้นเมื่อคราพิธีสรงน้ำสมเด้จพระราชินี ในรัชกาลที่ 7 ซึ่งสมเด็จย่าเสด็จอ้วย และได้เห็นการทำพระสุกำหรือมัดตราสังพระบรมศพแล้วอัญเชิญลงสู่พระบรมโกศ เป็นไปด้วยความทุลักทุเล พระองค์ จึงตรัสว่า "อย่าทำกับฉันอย่างนี้ อึดอัดแย่"
หีบพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ัชการที่ 9
สร้างจากมไ้สักทองอายุนับร้อยปีปิทองแท้ร้อยเปอร์เซ็นทั้งใบ
             ด้วยเหตุนี้ งานพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนี เมื่อ พ.ศ. 2538 ก็ได้เปลี่ยนมาเป้นการเชิญลงหีบพระศพแทน เช่นเดี่ยวกับงานพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถบพิตร ซึงสามารถทำได้รามพระราชอัธยาศัย ดังนั้นในพระโกศจึงไม่มีพระบรมศพสถิตอยู่ ตั้งไว้เพื่อเป็นพระเกี่ยติยศเท่านั้น ส่วนหีบทรงพระบรมศฑประกิษฐานหลังพระแท่นโดยมีฉากกั้นอยู่
              อย่างไรก็ตาม ธรรมเนียมการบรรจุพระศพลงพระโกศ หรือบรรจุศพลงโกศนั้นยังคงมีอยู่ เพียงแต่จะบรรจุลงหรือไม่ขึ้นอยู่กับพระทายาทหรือทายาท ซึงงานพระศพเจ้านายบางพระอค์ก็ยังบรรจุศพลงโกศเหมือนแต่ก่อน...hilight.kapook.com/view/143615
            ลักพระศพ
            น้ำตาไหลเลย!!!...ลัก "พระศพแล้ว" นักข่าวดังเผยเมื่อหัวค่ำที่สนามหลวง
            ภายใต้ความโศกเศร้าของพี่น้องคนไทยทั้งประเทศ ที่ได้มาร่วมกันสักาาระพระบรมศพ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ภายในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมานั้นก็ได้มีภาพที่แสดงออกถึงความจงรักภักดี ความสมัครสมานสามัคคีและความมีน้ำใจของคนไทยออกมามากมายจนถึงวันนี้..
            ซึ่งมีเรื่องหนึ่งที่หลายคนคงไม่รุ้มาก่อน โดยล่าสุดทางผุ้ใช้เฟซบุ๊กรายหนึ่งที่ใช้ชื่อว่า Wassana Nanuam ได้โพสต์เผยแพร่ภาพพร้อมข้อความและคลิปวิดีโอขณะทีเจอขบวน "การลักพระศพ" ในหลวง รัชกาลที่ 9 ประทับที่พระเมรุมาศ กลางสนามหลวง ซึ่งตามประเพณีจะทำก่อนวัน พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบมศพ จะมาถึงอีกหนึ่ง แม้จะเป้นการทำแบบเงี่ยบ แต่หลับทำให้บรรดาพสกนิกรไทยที่พบเห้นใจหายไปตามๆ กัน โดยได้ระบุข้อความว่า...
             "ในหลวง ร.9" ทรงมาประทับที่ พระเมรุมาศ กลางสนามหลวงแล้ว..การ"ลักพระศพ"จากเวลา 19.49-20.18 น. ...เสร็จสิ้น..." ร.10 เสด็จกกลับ ส่วน สมเด็จพระเทพฯ กลับเข้าวัง อีกครั้ง   ใจหาย!!! เป็นการสันนิษฐาน จากการดูด้วยสายตา แลอยู่ในบริเวณนี้ แม้จะเป็น ว.5"
              โดยต่อมาทางผุ้ใช้เฟซบุ๊กที่ใช้ชื่อว่า Wassana Nanuam ได้ออกมาเผยแพร่ข้อความพร้อมคำชี้แจ้งถึงเรื่องราวที่มีกาอัญเชิญ "พระศพ ไปขึ้นพระเมรุมาศ ก่อนวันพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ จะมาถึง ถูกเผยแพร่ไปก่อนหน้านี้ พร้อมระบุข้อความว่า"
              "กำลัง สารวัตรทหารเรือ" มาวางกำลัง ยืนยามโดยรอบสนามหลวงแล้ว...มีคำชี้แจงว่า..ประเพณี หรือ พิธีลักพระศพ ไม่เคยมีในประวัติศาสตร์ แต่เป็นความเชื่อเท่านั้น ว่า มีการอัญเชิย พระศพ ไปขึ้นพระเมรุมาศ ก่อน ....แต่ก็ไม่เคยมีหลักฐานว่ามีเกิดขึ้นจริง เช่นเดียวกับครั้งนี้ ก็เป็นแค่การสันนิษฐาน จากที่อยุ่ในบริเวณโดยรอบ แต่ไม่ได้เห็นด้วยตา ใกล้ๆ แต่าการที่ได้อ่านในสื่อหลายแขนงว่า จะมีพิธีนี้...จึงคอยเฝ้าดู จากพื้นที่ โดยรอบเท่านั้น..การพิธี แบบนี้มีจริงหรือไม่ ไม่มีใครพิสูจน์ได้ เป้นแค่ความเชื่อ เท่านั้น"...www.today.jackpotded.com/4638/
              ที่มาธรรมเนียม "ลักพระศพ" ก่อนเคลื่อนริ้วขบวนพระราชพิธีฯ ทำในเวลากลางคืน
               พระราชพิธีพระบรมศพและการทำพระศพเจ้านายแต่ดั้งเดิม มีธรรมเนียมซึ่งเรียกว่า "ลักพระศพ" หรือ "ลักศพ" โดยเป็นขั้นตอนหนึ่งของการเตรียมงานก่อนวันถวายพระเพลิง หรือพระราชทานเพลิง โดยเจ้าพนักงานที่รับผิดชอบจะอัญเชิญพระบรมศพ หรือ พระศพจากที่ประดิษฐานเวลากลางคืนมายังพระราชยานหือ ยานพาหนะเพื่อตั้งกระบวนรอที่จะเคลื่นไปยังพระมรุหรือเมรุในเช้าวันนั้น
             
 ทั้งนี้ มีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับกาลสมัย เมื่อปี พ.ศ.2430 ในงานพระศฑของสมเด็จเจ้าหฟ้ามหามาลา ที่ปรากฎในหนังสือราชกิจจานุเบกษา ได้ให้รายละเอียดในงานพระศพครั้งนั้นความว่า "ณ วันอาทิตย์ ขึ้นสามค่ำ เป็นเตรยมชัดพระศพ ครั้งเวลาค่ำได้ตั้งขบวนแห่แต่วังสมเด็จฯ เจาฟ้ามหามาลา เชิญพระศพไปลงเรือที่ท่าพระล่องลงไปขึ้นที่ศาลต่างประเทศ ตั้งขบวนแห่งเชิญพระศพไปขึ้นพระมหาเวชยันตราชรถที่หน้าวัดเชตุพนเป็นการเงียบอย่างลักพระศพ
             อนึ่ง การลักพระศพนี้ไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกพระศพ แต่จะเกิดขึ้นกับบางกรณีเท่านั้น เช่น วังที่ตั้งพระศพนั้นอยุ่ไกล หรือ อยุ่อีกฝั่งของแม่น้ำ ห่างไกลจากวัดจากพระเมรุ ที่จะทำการพระราชทานเพลิง ดังนั้น การลักพระศพก็คือ กาอัญเชิญพระศพมายังสถานที่ ที่สะดวกต่อการจัดริ้วขบวน และที่สำคัญคือเป็นรย่นเวลาให้เร็วขึ้น...www.yumzaap.com/6179
            คำว่า "ลักพระศพ"เป็นชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการของเจ้าพนักงานภูษามาลาที่มช้พุดถึงขั้นตอนการอัญเชิญพระศพไปยังพระเมรุกอ่นงานพระราชพิธี จะรีบกระทำในเวลากลางคือ หรือเช้ามือก่อนงานพระราชพิธี โดยจะอัญเชิญพระโกศทรงพระศพออกจากตำหนัก หรือวังที่ประทับ ขึ้นยังพระราชยานรถม้า หรือราชยานคนกาม ไปยังสถานที่ใดทีหนึ่งเืพ่อตั้งรอริ้วขบวนงานพระราชพิธีที่จะเกิดขึ้นในตอนเช้า ดังตัวอย่งเหตุการณ์ลักรพะศพที่เคยบันทึกไว้ข้างต้น..royal.jarm.com/view/99200
           

วันพฤหัสบดีที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560

Royal Cremation Ceremony

              พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ
              ประวัติศาสตร์ชาติไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัย พระมหากษัตริย์นอกจากจะทรงเป็นผุ้นำในการก่อตั้งพระราชอาณาจักรแล้ว ยังทรงทำนุบำรุงสร้างศิลวัฒนธรรม และระเบียบประเพณีต่างๆ ในการดำรงชีวิตให้เป็นมรดกของชาติสืบทอดมา หลักฐานที่กล่าวถึงการจัดพระราชพิธีพระบรมศพที่เก่าแก่ที่สุดปรากฎอยุ่ในหนังสือไตรภูมิกถา หรือไตรภูมิพระร่วง
               การจัดพิธี พระบรมศพ นับตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้น ไม่ปรากฎหลักฐานเรื่องการ พระบรมศพ เช่นเดียวกับสมัยรุปแบบของอยุธยาตอนกลาง ในพระราชพงศาวดาร กล่าวถึงเฉพาะลักษณะพระเมรุ มิได้กล่าวถึงรายละเอียดพระราชพิธี ต่อมาในสมัียอยุธยา ตอนปลายปรากฎหลักฐานในจุดหมายเหตุพระบรมศพ สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ พรรณนาเฉพาะการถวายพระเพลิง และการแห่พระบรมอัฐิและพระบรมราชสรีรางคารไปประดิษฐาน ณ พระอารามหลวง และงานพระบรมศพสมเด็จเจ้าฟ้าสุตาวดี กรมหลวงโยธาเทพ พระราชธิดาสมเด็จนารายณ์มหาราชา พรรณนารายละเดียวการพระราชพิธีกพระบรมศพไว้ คค่อนข้างละเอียด
               พระมหากษัตริย์ผุ้ทรงทศพิธราชธรรมมีพระมหากรุณาธิคุณอย่างใหญ่หลวงต่อชาติและประชาชน ชาวไทย ทรงได้รับการเทิดทูนเสมอด้วยสมมติเทพ ตามคติพราหมษ์เมื่อเสด็จพระราชสมภพ ถือเป็นเทพ อวตาร คือ เทวดาจุติลงมาอุบันบนโลกมนุษย์ ครั้งเมื่อ เสด็จสวรรคตจึงถือเป็นการเสด็จกลับสู่สวรรค์ อันเกี่ยวเนื่องกลับพระบรมศพจึงถือเป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้น เพ่อเฉลิมพระเกี่ยรติอย่างสูงสุด
             
การพระราชพิธีพระบรศพของพระมหากษัตริย์ ในสมัยรัตนโกสินทร์เป็นโบราณราชประเพณีที่มีแบบแผน ธรรมเนียมมาแต่ครั้งสมัยอยุธยาตอนปลาย มีความสำคัญ ทัดเทียมกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษก แม้ว่าจะมีการปรับ เปลี่ยนในรายละเอดียดปลีกย่อยของพระราชพิธีต่างๆ อยู่บ้าง ตามยุคสมัยและสภาวะของสังคม แต่ยังคงยึดถือคติตามที่กล่าว ในไตรภูมิกถาอยู่อย่างมั่นคง มีการประดิษฐานพระบรมศพ บนพระเมรุมาศซึ่งเปรียบเสมือนเขาพระสุเมรุล้อมรอบ ด้วยเขาสัตตบริภัณฑ์เพื่อเป็นการส่งดวงพระวิญญาณ กลับสู่สรวงสวรรค์อันเป็นที่สถิตของเทพยดาทั้งหลาย มีการประกอบพระราชพิธีอย่างยิ่งใหญ่อลังการเริ่มตั้งแต่การ สรงน้ำพระบรมศพการเชิญพระบรมศพประดิษฐานในพระบรมโกศ การบำเพ็ญพระราชกุศล การเชิญพระบรมศฑจากพระบรมมหาราชวังมาประดิษฐาน ณ พระเมรุมาศท้องสรามหลวง การถวายพระเพลิงพระบรมศพการเชิญพระบรมอัฐิและพระบรมราชสรีรางคารกลัยสู่พระบรมมหาราชวัง ลำดับพระราชพิธี เหล่านี้มีแบบแผนทำเนียมปฏิบัติสืบทอดมาแต่โบราณ และการเตรียมการต้องใช้เวลานานหลายเดือน
             หลังจากเชิญพระบรมโกศขึ้นปะดิษฐานบน พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทแล้วจึงจัดให้มีการพระราชพิธีบำเพ็ยพระราชกุศลเป็นประจำทุกวัน และพระราชพิธี บำเพ็ญพระราชกุศล ครบ 7 วัน (สัตตมวาร) ครบ 15 วัน (ปัณรสมวาร) ครบ 50 วัน (ปัญญาสมวาร) และครบ 100 วัน (สตมวาร) การบำเพ็ยพระราชกุศล ณ พระที่นั่งดุสิตมหา ปราสาทภายใน พระบรมมหาราชวังในแต่ละวัน จะมีัพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จมาบำเพ็ยพระกุศล จนครบ 100 วัน แตะละวันมีการสวดพระอภิธรรมโดยพระพะธีธรรมจาก พระอารามหลวง 10 แห่งได้แก่ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ วัดประยูรวงศาวาสวัดอนงคาราม วัดราชสิทธาราม และวัดบวรนิเวศวิหาร โดยสัป
เปลี่ยนหมุนเวียนกันไป พระพิธีธรรมแต่ละพระอารามจะใช้ทำนองสวดแตกต่างกัน ปัจจุบันมี 4 ทำนอง คือทำนองกะ ทำนองเลือน ทำนอง ลากซุง และทำนองสรภัญญะ นอกจากนี้ยังมีการประโคมยำยามในงานพระบรมศพ หรือพระศพ ซึ่งเป็นราชประเพณีโบราณ เพื่อเป็นสัญญาณ ให้ข้าราชการรู้กำหนดเวลาในการปโิบัติหน้าที่ การประโคม ย่ำยามนนี้ใช้ในงานที่พระบรมศพและพระศพพระราชวงศ์ ขุนนางผุ้ให่ แต่เดิมดนตรีที่ใช้ประโคมย่ำยามมีเฉพาะ วงแตรสังข์ และวงปีโฉน กลองชนะ โดยกำหนดประโคม ย่ำยามทุกสามชั่วโมงคือเวลา 06.00 น. -12.00 น.  18.00 น. -21.00 น. และ 24.00 น. การประโคมนี้จะทำทุกวันจน ครบกำหนดไว้ทุกข์ 100 วัน 2 เดือน 1 เดือน 15 วัน 7 วัน ตามพระเกียรติยศพระบรมศพ หรือ พระศพ การประโคมย่ำ ยามพระบรมศพพระมหากษัตริย์ เครื่องประดคมจะประกอบด้วยมโหระทึก-สังข์-แตรงาน-เปิง-และกอลงชนะ-หากเป็นพระศพ ไม่มีมโหระทึก
             เมื่อถึงกาลอันควรคือสร้างพระเมรุมาศ หรือพระเมรุ ที่ท้องสนามหลวงเสร็จพร้อมที่จะถวายพระเพลิงได้ จะเชิญพระบรมศพพระศพจากพระบรมมหาราชวังไปยังท้องสนามหลวงเพื่อถวายพระเพลิง ณ พระเมรุมาศซึ่งสร้างเป็น พิเศษดังกล่าวแล้ว เรียกว่า "งานออกพระเมรุ"
             การเชิญพระบรมศพ พระศพ สู่พระโกศ การบำเพ็ญพระราชกุศล ตลอดจนการสร้างพระเมรุมาศ พระเมรุ ณท้องสนามหลวง การเคลื่อนพระบรมศพ พระศพจากพระบรมมหาราชวังสู่พระเมรุที่ท้องสนามหลวง การตกแต่งพระจิตการธาน การเชิญพระบรมอัฐิ พระอั๙ิ พระบรมราชสรีรางคาร และพระสรีรางคารกลับเข้าสู่พระบรม มหาราชวังล้วนมีแบบแผนกำหนดไว้เป็นแนวทางให้ปฏิบติ ขึ้นตอนพระราชพิธีในแต่ละขั้นตอนดังกล่าวต้องใช้ เวลาเตรียมการเป็นแรมเดือนนับตั้งแต่การสร้างพระเมรุมาศ หรือพระเมรุ การดูแลและตกแต่งราชรถ ราชยาน คานหาม สำหรับเชิญพระโกศพระบรมศพ พระศพ พระบรมอัฐิ พระอัฐิ ตลอดทั้งเครื่องประอบอื่นๆ ในการออกพระเมรุ เช่ พระโกศไม้จันทน์ เครืองพินไม้จันทน์ พระโกศบรรจุพระบรมอัฐิ พระอัฐิ ผอบบรรจุพระสรรางคาร หรือ พระราชสรีรางคาร ทั้งนี้ไม่รวมเครื่องสดที่ประดับพระเมรุมาศ และงานแทงหยวกเป็นลวดลายประดับพระจิตกาธาน ซึ่งต้องทำให้แล้วเสร็จก่อนการถวายพระเพลิงเพียงไม่กี่ชั่วโมง
          นอกจากนั้น ยังต้องมีการซ้อมริ้วขบวนในแต่ละจุด แต่ละพิธีการด้วย ตามโบราณราชประเพณีพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพ หรือเรียกว่า "งานออกพระเมรุ" มีขั้นตอน การปฎิบัติที่ถูกกำหนดไว้อย่างมีแบบแผน การเตรียม การแต่ละขั้นตอนใช้เวลาหลายเกือนหรือนานนับปี เพื่อให้สง่างามสมพระเกียรติ โดยเฉพาะศูนย์กลางของพระราชพิธีถวายพระเพลิงคือการก่อสร้างพระเมรุมาศ และเครื่องประกอบอื่นๆ ในการออกพระเมรุต้องมีการออกแบบให้ เหมาะสม
           จากนั้นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไป ถวายพระเพลิงในช่วงเย็น วันรุ่งขึ้นอัญเชิญพระโกศพระบรม อัฐิประกิษฐานบนรพะที่นั่งราเชนทรยานและพระบรมราชสรีรางคารดารประดิษญานบนพระที่ยั่งราเชนยานน้อย ยาตราด้วยกระบวนพระบรมราชอิสริยยศจากพระเมรุมาศ ไปประดิษฐานในพระบรมมหาราชวัง
            การสร้าง "พระเมรุมาศ" จะมีขนาดและแบบงดงาม วิจิตรแตกต่างกันตามยุคสมัยและตามความบันดาลใจ ของข่างที่มีปรัชฐญาในการออกแบบว่าเป็นพระเมรุของ กษัตริย์ นักรบ หรือฝ่ายสตรี ซึ่งจะระกอบขึ้นเป็นพระเมรุมาศและปริมณฑล โดยยึดคติโบราณที่สืบทอดกันม สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ทรงสันนิษฐานคติการสร้างพระเมรุมาศ หรือพระเมรุว่า ได้ชื่อมาจากการปลูกสร้างปราสาทอันสูงใหญ่ท่ามกลางปราสาทน้อยที่สร้างขึ้นตามมุมทิศ มีโขลนทวาร (โคปุระ) ชักระเบียบเชื่อมถึงกัน ปักราชวัติ เป็นชั้นๆ ลักษณะหมือนเขาพระสุเมรุตั้งอยู่ท่ามกลางมีเขา สัตบริภัฒฑ์ล้อม จึงเรียกเลี่ยนชื่อว่า "พระเมรุ" ภายหลังทำ ย่อลง แม้ไม่มีอะไรล้อม เหลือแค่ยอดแหลมๆ ก็ยังคงเรียก เมรุ

           แผนผังพระเมรุมาศเป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส  พระเมรุมาศอยู่กลาง แวดล้อมด้วยอาคารรายรอบเป็นปริมณฑลประดุจโบสถ์หรือวิหารซึ่งมีระเบียงล้อมรอบ คือ ทับเกษตร เป็นที่พักก ช่างหรือสำส้าง คือมุมคด ของทับเกษตร ทั้ง 4 มุม เป็นที่พระสวดพระอภิธรรม ตรงข้ามพระเมรุมาศจะเป็นพระที่นั่งทรงธรรมสำหรับ พระมหากษัตริย์ประทับในการถวายพระเพลิง บริเวณองค์พระเมรุมาศจะประดับตกแต่งด้วยราชวัติฉัตรธง เสา ดอกไม้พุ่ม สรรพสัตว์ตกแต่งใหเประดุจเขาพระสุเมรุราชในเรื่องไตรภูมิ กล่าวกัน่าในสมัยโบราณพระเมรุ มีขนาดสูงใหญ่โอฬารมาก เช่น พระเมรุมาศของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชในสมัยอยุธยา
            การถวายพระเพลิง หรือ "ออกพระเมรุ" ในสมัยโบราณจะทำเป็นงานใหญ่แล้วแต่กำหนดตั้งแต่ 3 วัน 5 วัน 9 วัน ถึง 15 วัน สุดแต่สะดวก ซึ่งในปัจจุบันพระราชพิธีจะมีขอบเขต คือ
            พิธีสามหาบตามหลักพระพุทธศาสนาแล้วเชิญ พระบรมอัฐิ พระอัฐิ ด้วยขบวนพระบรมราชอิสริยยศ พระอิสริยยศสมโภชภายในพระบรมมหราชวัง พระบรมอัฐิ พระอัฐิบรรจุในพระโกศทองคำ แล้วประดิษฐานไว้บนพระมหาปราสาท จัดให้มีการบำเพ็ญพระราชกุศล ส่วนพระบรมราชสรีรางคารพระสรรีรางคารจะนำไปประดิษฐาน ไว้ยังพุทธสถาน พระอารามหลวงตามราชประเพณี
              ศิลาหน้าเพลิง คือ หินเหล็กไฟ ที่ใช้เหล็กสับกับหินให้เกิดประกายไฟ โดยมีดินปะทุเป็นเชื้อให้ติดไฟง่าย แล้วทรงจุดเที่ยนพระราชทานแก่เจ้า
              พนักงาน หากแต่การใช้หินเหล็ไฟไม่สะดวก ในสมัยต่อมาพระมหากษัตริย์จึงทรงใช้พระแว่นสูรยกานต์ส่องกับแสงอาทิตย์ให้เกิดไฟ แล้วจึงนำเอาเพลิงนั้นจุดถวายพระเพลิงพระบรมศพหรือพระศพสันนิษฐานว่า การจุดเพลิงด้วยวิธีการดังกล่าวเป็นวิะีเดียวกับการจุดเพลิงไฟฟ้าเพื่อถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศที่ปรากฎในคำให้การขุนหลวงหาวัด ซึ่งธรรมเนียมดังกล่าวยังปฏิบัติสืบมในการถวายพระเพลิงเจ้านาย ดังในคราวถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทรบรมราชชนนีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงส่องพลังความรอยจากแสงอาทิตย์ด้วยพระแว่นสูรยกานต์แล้วให้เจ้าพนักงานตั้งแต่มณฑปสำหรับเลี้ยงเพลิงไว้ แล้วเชิญมายงพระเมรุมาศ
          ในปัจจับทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นำไฟที่เกิดจากพระเว่นสุรยกานตืไปจุดเลี้ยงไว้ที่พระอุโบสถพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อมีผุ้มาขอไฟพระราชทานจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพนักงานสำนักพระราชวังเชิญ "ไฟหลวง" มาพระราชทานเพลิงศพผุ้นั้นต่อไป
         -รูปภาพจาก web.facebook.com/pirasri.povatong

             "รูปแบบและธรรมเนียม"ในการถวายพระเพลิงพระบรมศพ  การถวายพระเพลิงพระบรมศพ หรือการพระราชทานเพลิงพระศพนั้น ถือวาเป็นงานพระราชพิธีใหญ่ซึ่งมีะรรมเนียม และวิธีการปฎิบัติที่ตรงตามตำราดังที่ราชสำนักสืบทอดกันมา แต่เมื่อมาถึงยุคปัจจุบันั้นการถวายพระเพลิงพระบรมศพได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบเพ่ิมมากขึ้น สืบเนื่องมาจากยุคสมัยที่เปลี่ยนไปโดยในปัจจุบันนั้นในราชสำนักมีรูปแบบของการถวายพระเพลิงพระบรมศพอยู่ทั้งหมด 4 รูปแบบดังภาพ
            ภาพที่ 1. การสุมเพลิงพระบรมศพบนพระจิตกาธาน (กรณีที่พรบรมศพอยู่ในพระบรมโกศ) การสุมเพลิงรุปแบบนี้เป็นแบบโบราณราชประเพณีที่สืบทอดกันมาตั้งแต่ครั้งกรุงเก่า แต่ในปัจจุบันันี้ไม่พบว่ามีการถวายพระเพลิงพระศพบนพระจิตกาธานอีกแล้วเนื่องจากควบคุมเพลิงได้ยากเจ้าพนักงานจะต้องอยฉีดน้ำและควบคุมทิศทางลมอยู่ตลอดเวลาประกอบกับปัจจุบันมีการนำเตาเผาสมัยใหม่เข้ามาใช้ทดแทน ดังภาพจะห็นว่ามีเปลวเพลิงลุกไหม้อยู่ตลอดเวลา โดยเกิดจากการสุมเชื้อเพลิงด้านล่างของพระจิตกาธาน จากภาพคืองานถวายพระเพลิงพระบรมศพ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชนีในรัชกาลที่ 7 ในปี พ.ศ.2528
           ภาพที่ 2 การสุมเพลิงพระบรมศพบนพระจิตกาธาน (กรณีพระบรมศพอยู่ในหีบ) ในรูปแบบนี้เป็นราชประเพณีที่ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน จนกระทั่งปี พ.ศ. 2539 ในงานถวายพระเพลิงบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนรี หรือสมเด็จย่า เนื่องจากพระบรมศพของพระองค์ประดิษฐานอยู่ในหีบ ทางสำนักพระราชวังจึงทำการตั้งหีบพระบรมศพบนพระจิตกาธานแล้วนำพระบรมโกศ (โกศเปล่า) วางบนหีบพระบรมศพอีกชั้นหนึ่งดังภาพประกอบ ในคราวนั้นสมเด็นพระเจ้าอยุ่หัวมหาวชิราลงกรณ์ฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ และสมเด็จเจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณ์ฯ หลังจากที่ผุ้มาร่วมงานกลับกันหมดแล้วทั้งสามพระองค์เสด็จพระราชดำเนินขึ้นไปยังพระเมรุมาศเพื่อควบคุมการถวายพระเพลิงด้วยพระองค์เอง
         ภาพที่ 3 การสุมเพลิงพระศพในเตาไฟฟ้า (กรณีพระศพอยู่ในหีบ) ในรูปแบบนี้ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนเช่นกันจนถึงงนพระรชทานเลิพงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ ในพระจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9  ซึงมีกระบวนการต่างๆ คล้ายกับงานพระบรมศพของสมเด็จย่า แต่จะแตกต่างกันตรงที่ได้อัญเชิญหีบทรงพระศพลงจากพระจิตกาธาน เข้าไปพระราชทานเพลิงในเตาเผาไฟฟ้าที่อยู่ทางทิศตะวันตกของเมรุแทน จากภาพคือเตาไฟฟ้าสมัยใหม่ในงานพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ
        ภาพที่ 4 การสุมเพลิงพระศพในเตาไฟฟ้า (กรณีพระศพอยู่ในพระโกศ) ในรูปแบบนี้ก็ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนอีกเช่น กน จนถึงปี พ.ศ. 2555 ในงานพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงเพชรรัตนราชสุดาฯ ลูกเธอในพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 ที่พระศพของพระอค์ประดิษฐานอยู่ในพระโกศตามโบราณราชประเพณี แต่เมื่อถึงเวลาพระราชทานเพลิงพระศพจริงนั้น เจ้าพนักงานได้อัญเชิญพระโกศลงจากพระจิตกาธานเพื่อไปพระราชทานเพลิงยังเตาไฟฟ้าที่อยู่ทางทิศตะวันตกแทน ดังจะเห้นในภาพที่ขนาดของเตาไฟฟ้านั้นมีขนาดใหญ่ และสูงกว่าปกติ เพื่อที่สามารถอัญเชิญพระโกศเข้าไปภายในเตาไฟฟ้าได้ (จิตกาธาน คือ เชิงตะกอนหรือฐานที่ทำขึ้นสำหรับเผาศพ)
           พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช  เป็นพระราชพิธีที่รัฐบาลไทยจัดขึ้นเพื่อแสดงความอาลัยเป็นครั้งสุดท้าย ภายหลังการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จัดขึ้น ณ พระเมรุมาศ มณฑ,พิธีท้องสนามหลวง ระหว่างวันที่ 25-29 ตุลาคม พงศ. 2560 โดยวันที่ 26 ตุลาคม พงศ. 2560 เป้นวันถวายพระเพลิง คณะรัฐมนตรี จึงกำหนดให้เป็นวัหยุดราชการเป็นกรณีพิเศษ
                สำหรับการดำเนินการพระราชพิธีฯ นั้นคณะทำงานทุกฝ่ายได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง มีการสร้างพระเมรุมาศและอาคารประกอบ เข่น พระที่นั่งทรงธรรม ศาลาลูกขุน เป็นต้น สวนการบูรณปฏิสังขรณราชรถ ราชยาน และเครื่องประกอบพระราชพิธีนั้น ได้มีการซ่อมแซมพระมหาพิชัยราชรถ ราชยานขึ้นมาใหม่ คือ ราชรถปืนใหญ่และพระที่นังราเชนทรยานน้อย รวมทั้งประติมากรมประกอบพระเมรุมาศในพระราชพิธีคร้งนี้ได้มีการปรับปรุงให้มีความร่วมสมัย คาดการณ์ว่าการจัดสร้างพระเมรุมาศจะแล้วเสร็จประมาณเดือนกันยายน พ.ศ. 2560 โดยมีสมเด็นพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์วินิฉัยในกรจัดสร้างพระเมรุมาศ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานอำนวยการพระราชพิธี    
              พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ เร่ิมเตรียมการตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 เรื่อยมา มีการสร้างพระเมรุมาศ และอาคารประกอบการบูรณปฏิสังขรณ์พระมหาพิชัยราชรถ ราชยาน และเครื่องประกอบพระราชพิธี รวมถึงการเตรียมงานมหรสพในงานออกพระเมรุมาศ
             คณะรัฐมนตรีรับทราบมติที่คณะอนุกรรมการฯฝ่ายจัดการพระราชพิธีฯกำหนดวันพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ในระหว่างวันที่ 25-29 ตุลาคม พ.ศ.2560 พร้อมทั้งพิจาราหมายกำหนดการพระราชพิธีฯ และกำหนดจำนวนริ้วขบวนพระบรมราชอิสริยยศไว้เป็นที่เรียบร้อย โดยมีพระราชพิธีสำคัญได้แก่ พระราชพิธีเชิญพระบรมโกศออกพระเมรุมาศ และถวายพระเพลิงพระบรมศพ ในวันที่ 26 ตุลาคม ซึ่งคณะรัฐมนตรี กำหนดให้เป็นวันหยุดราชการเป็นกรณีพิเศษด้วย, พระราชพิธีเก็บพระบรมอัฐิและเชิญพระบรมอัฐิและพระบรมราชสรีรางคารกลับเข้าสู่พระบรมมหาราชวัง ในวันที่ 28 ตุลาคม, พระราชพิธีเชิญพระบรมอัฐิขึ้นประดิษฐาน ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และพระราชพิธีบรรจุพระบรมราชสรีรางคาร ในวันที่ 29 ตุลาคม
            วันพุธที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2560 
                 - 15.00 น. ถวายพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลออกพระเมรุ ณ พระที่นั่งดุสิตมหา
ปราสาท
              แต่งกายเต็มยศ มหาจักรีบรมราชวงศ์ และมงกุฎไทย ไว้ทุกข์
             วันพฤหัสบดีที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 (คณะรัฐมนตรีกำหนดให้เป็นวันหยุดราชการเป็นกรณีพิเศษอีกด้วย)
                  - 07.00 น. พระราชพิธีเชิญพระบรมโกศออกพระเมรุมาศจากพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง ไปยังวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม โดยริ้วขบวนที่ 1
                  - 07.30 น. เชิญพระบรมโกศจากวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ไปยังพระเมรุมาศ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง โดยริ้วขบวนที่ 2 
                  - 08.30 น. เชิญพระบรมโกศเวียนพระเมรุมาศโดยอุตราวัฎ 3 รอบ แล้วอัญเชิญพระบรมโกศประดิษฐานบนพระเมรุมาสโดยริ้วขบวนที่ 3 
                  - 16.30 น. พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ (พระราชพิธีทางการ) 
                      แต่งกายเต็มยสศ มหาจักรีบรมราชวงศ์ และช้างเผือก ไว้ทุกข์
                  - 22.30 พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ (พระราชพิธีจริง) 
                      แต่งกายปกติขาว ไว้ทุกข์
                วันศุกร์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2560
                   - 08.00 น. พระราชพิธีเก็บพระบรมอัฐิ ณ พระเมรุมาศท้องสนามหลวง
                   - 11.00 น. เชิญพระบรมอัฐิ ออกพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท จากพระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง ไปยังพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาาชวัง โดยริ้วขบวนที่ 4 
                   - 12.00 น. เชิญพระบรมอัฐิ เข้าสู่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ประดิษฐานบนแว่นฟ้าทองด้านทิศเหนือ และเชิญพระผอบพระบรมราชสรีรางคารไปยัง พระศรีรัตนเจดีย์ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
                         แต่งกายเต็มยศ ปฐมจุลจอมเกล้า และ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ ไว้ทุกข์
                วันเสาร์ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2560 
                    - เวลา 17.30 น. พระราชพิธีทรงบำเพ็ยพระราชกุศลพระบรมอัฐิ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
                         แต่งกายเต็มยศ มหาจักรีบรมราชวงศ์ และ ช้างเผือก ไว้ทุกข์
                วันอาทิตย์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2560
                    - 10.30 น. พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเลี้ยงพระ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
                    - 12.00 น. เชิญพระอัฐิออกพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทจากพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ไปยังพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทจากพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ไปยังพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง โดยริ้วขบวนที่ 5 
                    - 12.05 น. เชิญพระอัฐิเข้าสู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทประดิษฐานบนพระที่นั่งมุลสถานบรมอาสน์ ด้านทิศตะวันออก
                           แต่งกายเต็มยส ปฐมจุลจอมเกล้า และปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ ไว้ทุกข์
                    - 17.30 น. พระราชพิธีเชิญพระบรมราชสรีรางคารไปบรรจุ ณ วัดราชบพิธมหาสีมาราม และ วัด บวรนิเวศวิหาร โดยริ้วขบวนที่ 6  
                           แต่งกายเต็มยศ ปฐมจุลจอมเกล้า และปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ ไว้ทุกข์
            การแสดงมหรสพจะยึดตามธรรมเนียมปฏิบัติและโบราณราชประเพณีของพระมหากษัตริย์ สำหรับครั้งนี้เวทีโขนและหนังใหญ่ตั้งอยุ่ทางด้านทิศเหนือของท้องสรามหลวง เวทีละครทั้งหมดจะตั้งอยุ่ทางทิศตะวัออก และเวทีดนตรีสากลตั้งอยุ่ทางทิศตะวันตก ส่วนพระเมรุมาศซึ่งเป็นประธานในมณฑลพิธีตั้งอยู่ทางทิศใต้ เนื่องจากการจัดสร้างพระเมรุมาศและอาคารประกอบครั้งนี้ใช้พื้นที่ที่เป็นจำนวนมาก
             เวทีมหารสพทั้ง 3 เวที จะมีขนาดใหญ่กว่างานพระบรมศพ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชนนี, งานพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิสวาสราชนครินทร์, สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุด สิริโสภาพัฒณวดี และสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรนายก โดยจะประสานสำนักสถาปัตยกรรม กรมศิปลากร เพื่อกำหนดจุดสร้างเวทีอย่างชัดเจนอีกครั้ง ส่วนแบบโรงมหรสพโครงสร้างจอโขนและหนังใหญ่ ผุ้ทรงคุณวุฒิศิลปกรรมได้ออกแบบเสร็จแล้ว โดยส่วนนี้จะเป็นการแสดงนอกมณพลพิธี ส่วนการแสดงหน้าพระเมรุมาศจะเป้นการแสดงโขนชุดใหญ่ ตอนยกรบ และระบำอู่ทอง ซึ่งใช้นักแสดงเป็นจำนวนมาก
          การแสดงมหรสพสมโภชในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ บริเวณท้องสนามหลวงฝั่งทิศเหนือประกอบด้วยการแสดงโขนหน้าไฟหน้าพระเมรุมาศ เรื่องรามเกียรติ์ ชุดพระรามข้ามสมุทร, ยกรบ, รำลึกในพระมหากรุณา และระบำอู่ทอง ส่วนการแสดงมหรสพสมโภช ประกอบด้วยการแสดงหนังใหญ่ และโขนพระราชทาน ตอน รามาวตาร การแสดงละครหุ่นหลวงและหุ่นกระบอก และการบรรเลงดนตรีสากล "ธ คือ ดวงใจไทยทั่วหล้า" ล่าสุดได้จัดเตรียมผุ้แสดงทั้งใน่วยของสถาบันบัฒฑิตพัฒนศิลป์วิทยาลัยนาฎศิลป์ 12 แห่งทั่วประเทศ ประกอบด้วย ศิบปินแห่งชาติ ครูนาฎศิลป์ และนิสิต- นักศึกษา ทั้งหมดประมาณ 2.000 คน
           
โดยการแสดงโขนเบื้องต้นได้ประสารงานกับสำนักการสังคีต กรมศิปลากร ซึ่งมอบหมายให้ประเมษฐ์ บุณยะชัย ผุ้เชียวชาญด้านนาฎศิลป์ของสถาบันบัฒฑิตพัฒนศิลป์เป็นผุ้จัดทำบทโขนพระราชทานทุกตอนเพื่อกำหนดจำนวนผุ้แสดงด้านต่างๆ อาทิ ผุ้แสดงโขนพระราชทานทั้งตัวพระนาง เสนายักษ์ 18 มงกุฎ หนุมาน เสนาลิง สุครีพ ชมพูพาน ซึ่งนักแสดงบางส่วนเคยได้รับการคัดเลือกเป็นผู้แสดงโขนพระราชทานในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์          พระบรมราชินีสาถมาแล้ว ส่วนละครในเรื่องอิเหนา ตอนตัดดอกไม้ฉายกริช สถาบันบัฒฑิตพัฒนศิลป์จะเป็นผู้รับผิดชอบทั้งหมด นอกจากนี้ ยังมีผุ้แสดงละครนอก แสดงเรื่องมโนราห์ ผุ้แสดงบัลเลต์เรื่องมโนราห์ นักดนตรีสากล ส่วนนักดนตรีวงดนตรีไทยที่จะเข้าไปบรรเลงบรเวณพระเมรุมาศส่วนการแสดงหน้าพระเมรุมาศได้เตรียมผุ้สแดง แสดงโขนพระรามข้ามสมุทร,, ยกรบ, รำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และผู้แสดงระบำอู่ทอง ซึ่งจัดทำบทใหม่โดยใช้คุ่พระนางจำนวน 35 คู่ ถือว่าครั้งนี้ใช้ผุ้แสดงมากที่สุดเท่าที่สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์และวิทยาลัยนาฎศิลป์เคยจัดการแสดงมหรสพมา โดยขณะนี้ได้เริ่มทดสอบและคัดเลือกนักศึกษาเข้าเป็นผุ้รวมแสดงมหรสพสมโภช ทั้งโขน ละครใน ละครนอก หุ่นหลวง หุ่นกระ
บอก และมีการจัดทำสูจิบัตรผุ้แสดงแล้ว สำหรับการแสดงมหรสพสมโภชเป็นงานที่จัดขึ้นตามจากรีตประเพณีในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิพระบรมศพพระมหากษัตริย์ฉะนั้น ผุ้แสดงต้องมีทักษะความสามารถด้านนาฎศิลป์ และมีประสบการณ์การแสดงมาพอสมควร ซึ่งขณะนี้สถาบันวางผุ้แสดงแบล้วจากบทละครที่กำหนด ทั้งตัวพระ นาง ทหาร ระบำ แต่ละสถาบันทั้งครุและนักเรียนผุ้แสดงจะแยกกันซ้อมในที่ตั้ง เมื่อใกล้งานพระราชพิะีถวายพระเพลิงจะมีกำหนดการตรางซ้อมการแสดงร่วมกัน พร้อมดนตรีสด ผุ้เชียวชาญนาฎศิลป์ไทยและศิลปินแห่งชาติเป็นผุ้ควบคุม ซึ่งคาดว่าจะใช้ดรงละครวังหน้าฝึกซ้อมรวม การแสดงที่สนามหลวงจัดบนเวที มีการผุกโรแสดง ทั้งนี้การกำหนดวันซ้อมร่วมกนจะมีการแจ้งอีกครั้ง
             
           นอกจากนี้ สถาบันดนตรีกัลยาณีวัฒนา จะร่วมแสดงในเวทีดนตรีสากลด้วย ดดยจะมีวงดนตรี 7 วง ประกอบด้วยวงดนตรีสี่เหล่าทัพ วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ วงดนตรีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวงของสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา ทำการแสดงบทเพลงพระราชนิพนธ์ที่ไม่ซ้ำกัน ซึ่งในเบื้องตนจะมีนักศึกษาของสถาบันฯ และวงดุริยางค์เยาชนสถาบันดนตรีกัลยาณีวัฒนาจำนวนประมาณ 40 คน ที่มีความสามารถด้านขับร้องประสานเสรียงและเล่นดนตรีเข้าร่วมแสดงดนตรีในชุดดุจหยาดทิพย์ชโลมหล้า ร่วมกับวงดุริยางค์สากลของกรมศิลปากร สมชิกวง อ.ส.วันศุกร์ วงดนตรีสหายพัฒนา สถาบันบัฒฑิตพัฒนศิลป์ โรงเรียนราชินี และวงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ สำหรับบทเพลงที่นำมาบรรเลงจะเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ทั้งหมด ได้แก่ แผ่นดินของเรา, อเล็กซานเดอร์, ไร้จันทร์, ไร้เดือน
และ โนมูน นอกจากนี้ จะมีการแสดงบัลเลย์เรื่องมโนห์รา  หนึ่งในบทพระราชนิพนธ์ ซึ่งประกอบด้วย เพริง เนเธอร์ วอทท์, เดอะ ฮันเตอร์, คินาริ วอลท์, อะ เลิฟ สตอรี่, ภิรมย์รัก และ บลูเดย์ แล้วยังมีบทเพลงเทิดพระเกียรติที่ทางสถาบันฯ จะแสดง 2 เพลงคือ พระราชาผุ้ทรงะรรม และในหลวงของแผ่นดิน โดยนักร้องประสานเสียง 89 คน มีอาจารย์วานิช โปตะวณิช เป็นวาทยกร โดยหลังจากได้รับโน๊ตเพลงจากสำนักการสังคีต กรมศิลปากร แต่ละวงจะแยกกันฝึกซ้อมท้งนี้ ในเดือนกันยายน จะนัดฝึกรวมซ้อมใหญ่ ณ เวที จริง ก่อนวันประกอบพระ
ราชพิธีจริงวันที่ 26 ต.ค. นอกจากนี้ สถาบันฯ ยังได้รับมอบหมายให้จัดการแสดงดนตรีภายหลังพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพอีกด้วยดดยจะใช้วงดุริยางค์เยาวชนสถาบันดนตรีกัลยาณีวัฒนาทำการแสดงเพลงพระราชนิพนธ์ รวมถึงจะมีศิลปินรับเชิญจากต่างประเทศที่จะร่วมน้อมรำลึกถึงพระองค์ท่านด้วย และตลอดทั้งปีสถาบันตนตรีกัลยานิวัฒนาจะจัดกิจกรรมน้ำมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และอัญเชิญบทเพลงพระราชนิพนธ์มาแสดงทุกครั้ง
            เวทีตนตรีสากลในงานในงานมหรสพครั้งนี้ดนตรีทั้ง 7 วง จะแสดงบทเพลงพระราชนิพนธ์จำนวน 44 บทเพลง เริ่มการแสดงวงแรกตั้งแต่ 23.00 น. ของวันที่ี่ 26 ตุลาคม ต่อเนื่องถึงเวลา 06.00 น. วันที่ 27 ตุลาคมดดยงงของสถาบันกัลยาณิวัฒนาจะเปิดการแสดงเป็นวงแรก ตามด้วยวงดนตรีสี่เหล่าทัพ วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ ปิดท้ายด้วยวงดนตรีจุฬาลงกณ์มหาวิทยาลัย  โดยมีกรมศิปากรควบคุมตลอดการแสดงth.wikipedia.org/wiki/พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
    - ภาพจาก https://web.facebook.com/ArmyNews2017/
           

           

วันพุธที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2560

Royal Crematorium

           
พระเมรุมาศ ศูนย์รวมแห่งศาสตร์และศิลป์ทุกแขนงในการถวายพระเกียรติยศแด่พระเจ้าแผ่นดินหลังจากเสด็จสวรรคต รายละเอียดมากมาย รวมยกมาเป็นเกร็ดพึงรู้
           ตามโบราณราชประเพณีของไทย การก่อสร้างพระเมรุมาศ ได้รับอิทธิพลมาจากความคิดการปกครองแบบเทวนิยมท ใช้เปนที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพพระมหากษัตริย์และเจ้านายชั้นสูงมีแนวคิดมาจาก "เขาพระสุเมรุ" อันเป็นความเชื่อที่ว่า พระมหากษัตริย์เป็นสมมติเทพ เสด็จลงมายังดลก เมื่อสวรรคตก็มีการส่งเสด็จกลับเขาพระสุเมระตามเดิม
            พระเมรุมาศในพระราชพิธีพระบรมศพ สามารถสืบค้นย้อนไปได้ถึงสมัยสุโขทัย ดังที่ปรากฎการจัดพระราชพิธีพระบรมศพที่เก่าแก่ที่สุดใน หนังสือไตรภูมิกถา หรือ ไตรภูมิพระร่วง สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง การสร้างพระเมรุมาศยิ่งใหญ่
โอฬารมาก ปรากฎตามจดหมายเหตุ และพระราชพงศาวดารว่ พระเมรุมาสสูงถึง 2 เส้น มีประมณฑลกว้างใหญ่ เช่น พระเมรุมาศของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์งานพระบรมศพก็ยังคงรักษาธรรมเนียมดั้งเดิมไว้เช่นกัน ได้เริ่มเปลี่ยนแปลงในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นต้นมา
         
สำหรับ พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระเมรุมาศก็ยังยึดถือตามคติความเชื่อ และโบราณราชประเพณี อีกทั้งยังคงแก่นความสำคัญใการสะท้อนความจงรักภักดของปวงชนชาวไทยที่มีต่อพระองค์ท่าน ผ่านส่วนประกอบต่างๆ ที่ทำให้พระเมรุมาศสมพระเกี่ยรติที่สุด นับจากนี้ คือ 9 ใจความสำคัญของพระเมรุมาศ ที่เรียบเรียงมา
           1. พระเมรุมาศ เพรีบเหมือน เขาพระเมรุ ใจกลางหลักจักรวาล ตั้งอยู่เหนือน้ำ 84,000 โยชน์ มีภูเขารองรับ 3 ลูก โดยส่วนฐาน คือ ตรีกูฎ (สามเส้าหรือสามยอด) มีภูเขาล้อมรอบ 7 ทิว เรียกว่า สัตตบริภัฒฑคีรี ประกอบไปด้วยทิวเขา ยุคนธร กรวิก อสินธร สุทัศ เนมินธร วินตก และอัสกัณ มีเทวดาจตุมหาราชิกและบริวารสถิตอยู่ ซึ่งทิวเขาเหล่านั้นก็คือ อาคารประกอบ ได้แก่ประดุจโบสถ์วิหาร มีระเบียงล้อมรอบซึงเรียกว่าทับเกษตร หรือที่พัก
           บนยอดขาพระสุเมรุ คือ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ซึ่งยอดบนสูงสุดของพระเมรุมาศ มีการจารึกพระปรมาภิไธย และเศวตฉัตร
           การสร้างพระเมรุมาศในแต่ละครั้งถือเป็นงานใหญ่ มีหลักฐานปรากฎมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาสืบทอดเป็นแบบแผนให้กับงานพระราชพิธีจนมาถึงปัจจุบัน ถือเป็นงานสถาปัตยกรรมชั้นสูงที่ต้องเรียนรู้การสร้างอาคารหมู่และอาคารหลังเดี่ยวทั้งเล็กใหญ่ รู้กระบวนการช่างไทยทุกสาขา ทั้งด้านศิลปกรรม และสถาปัตยกรรมรวมกันทุกแขนง
          2. ลักษณะพระเมรุมาศที่ปรากฎมาแต่โบราณมีทั้ง พระเมรุทรงปราสาท และพระเมรุทรงบุษบก
พระเมรุ รัชกาลที่ 4
           พระเมรุปราสาท คือ อาคารพระเมรุมีรูปลักษณะอย่างปราสาท สร้างเรือนบุษบกบัลลังก์ คือ พระเมรุทองซ้อนอยู่ภายใน พระเมรุทองประดิษฐานบนเบญจา พระจิตกาธานรองรับพระโกศพระศพ ปิดทองล่องชาด พระเมรุทรงปราสาทนี้ยังแยกได้อีก 2 ลักษณะ คือ พระเมรุทรงปราสาทยอดปรางค์ และพระเมรุทรงปราสาทยอดมณฑป ซึ่งปรากฎในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์
           พระเมรุทรงบุษบก คือ พระเมรุที่สร้างบนพื้นที่ราบโดยดัดแปลงอาคารปราสาทเป็นเรือนบุษบกขยายพระเมรุทองในปราสาททีเป็นเรื่อนบุษบกบัลลังก์แต่เดิมให้ใหญ่ขึ้น เพื่อการถวายพระเพลิง ตังเบญจาพระจิตการธานรับพระโกศพระบรมศพ ซึงเกิดขึ้นครั้งแรกในงานถวาย พระเพลิง พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเหล้าเจ้าอยู่หัว
           สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ ทรงสันนิษฐานเกี่ยวกับ คติการสร้าง "พระเมรุ" ว่าได้ชื่อมา แต่การปลูกสร้
ปราสาทอันสูงใหญ่ ท่ามกลางปราสาทน้อย มีลักาณดุจเขาพระสุเมรุตั้งอยู่ท่ามกลางเขาสัตตบิรภัฒฑ์ล้อมรอบ จึงเรียกว่าพระเมรุ
พระเมรุ รัชกาลที่ 5
           ภายหลัง เมื่อทำย่อลง ไม่มีอะไรล้อม เหลือแต่ยอดแหลมๆ ก้ยังคงเรียกเมรุ ด้วยคนไทยมีความเชื่อและยึดถือเรื่องไตรภูมิตามคติทางพระพุทธศาสนาที่กล่าวถึงภาพจักรวาล มีเขาพระสุเมรุเป้นศูนย์กลางของภูมิทั้งสาม รายล้อมด้วยสรพพสิ่งนานา อันเป็นวิมานของท้าวจตุดลกบาล และเขาสัตตบริภัฒฑ์ดังนั้นจึงนำคติความเชื่อจาก ไตรภูมิมาเป็นแนวทางในการจัดพิธีถวายพระเพลิง เพื่อได้ถึงภพแห่งความดีงานอันมีแดนอยู่ที่เขาพระสุเมรุ สิ่งก่อสร้างในพระราชพิธีถวายพระเพลิง จะจำลองให้ละม้อยกับดินแดนเขาพระสุเมรุด้วย
           4. ความสำคัญของการจัดพระราชพิธีพระบรมศพนั้น นอกจากจะถือเป็นการถวายพระเกียรติยศ แสดงความเคารพอย่างสุสำหรับพระมหากษัตริย์แล้ว ในสมัยโบราณ พระราชพิธีนี้ ยังถือเป็นการประกาสความมั่นนคงของบ้านเมือง เนื่องจากเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นคาบเกี่ยวกับการเปลี่ยนแผ่นดินสืบสันตติวงศ์ต่อไป
            สวนหนึ่ง ดูจากการสร้างพระเมรุมาศประกอบพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพว่า สามารถทำได้ยิ่งใหญ่เพียงได เพราะส่วนที่บ่งบอกถึงญานะ และอำนาจของพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ ได้อย่างดีประการหนึ่ง จึงถือได้ว่ งานพระเมรุเป็นศักดิ์ศรีและเป็ฯเกี่ยรติยศที่ปรากฎแผ่ไพศาลตั้งแต่ต้นแผ่นดิน
       
 5.ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น นิยมปลูกสร้างเป็นรูปพระเมรุขนาดใหญ่ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ถือเป็น
จุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงการสร้งพรมรุมาศให้มีขนาด "ย่อมลง" อันเป็นไปตามพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวที่ทรงต้องการให้จัดงานแต่เหมาะสมมิให้สูงถึง 2 เส้นดังแกต่กาลก่อน ดดยยกพระเมรุชั้นนอกทรงปราสาทออกเสีย สร้างแต่องค์ใน คือ พระเมรุทองเหรือพรเมรุมาศ ภายในตั้งพระจิตกาะานสำหรับประดิษฐานพระโกศพระบรมศพ
            ครั้งถึงรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเหล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชันทึกตัดทอนการปลูกสร้างพระเมรุมาศ และการบำเพ็ญพระราชกุศลของพระองค์ลงอีกหลายประการ งานพระเมรุจึงลดขนาดลงตั้งแต่นั้นมา
       

นอกจากขนาดของพระเมรุมาศแล้ว ในสมัยงานพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวยังมีพระบรมราชโองการแสดงพระราชประสงค์ให้รวบรัดหมายกำหนดการให้น้อยลง เพื่อประหยัดตามกาลสมัย โดยพระราชพินัยกรรมระบุถึงการจัดงานพระบรมศพให้งดราชประเพณีเห่า ๆหลายอย่าง อาทิ การงดการโยงโปรย ยิกเลกนางร้องไห้ ซึ่งรบกวนพระราชหฤทัยตั้งแต่งานพระบรมศพพระราชบิดา เป็นเหตุให้ประเพณีดังกล่าวงดตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา การยกเลิกการถวายพระเพลิงพระบุพโพกลางแจ้งด้วยวิธีการเคี่ยว เป็นต้น
          ในอดีต การถวายพระเพลิงพระศพแต่โบราณ มีรายละเดียดมาก กำหนดเป็นงานใหญ่ในช่วงฤดูกาลที่ไม่มีฝนอย่างเดือนเมษายน ใช้เวลาประมาณ 14 วัน 14 คืน เป้นเกณฑ์ มักจะเร่ิมงาน ตังแต่ขึ้น 5 หรือ 6 ค่ำ ไปจนถึงแรม 4 ค่ำ ที่เป็นแบบนั้น ก็เพราะในสมัยโบราณ จำเป็นต้องอาศัยแสงจันทร์ช่วยให้ความสว่างด้วยนั่นเอง
         
สำหรับรายละเดียดในงานออกพระเมรุ จะเริ่มด้วยการอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุออกสู่พระเมรุพระราชาคณะสวดพระพุทธมนต์ในวันแรก แล้วค่อยจัดสมโภชพระบรมสารีริกธาตด้วยการจุดดอกไม้ไฟในค่ำวันที่ 23 ก่อนจะอัญเชิญพระบรมอัฐิออกสู่พระเมรุ  สมโภช 1 วัน กับ 1 คืน แล้วจึงอัญเชิญกลับ
          จากนั้นจึงอัญเชิญพระบรมศพออกจากพระมหาปราสาทไปสมโภช ณ พระเมรุมาศ 7 วัน 7 คืน โดยหลังจากถวายพระเพลิงเสร็จแล้ว ก็จะสมโภชพระบรมอัฐิ อีก 3 วัน 3 คืน รวม 14 วัน 14 คืน
          ปัจจุบัน มีการปรับเปลี่ยนรายละเอียด และตัดทอนพิธีกรรมหลายอย่าง  เช่น งดการอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ และพระบรมอัฐิออก สมโภชก่อนงานพระราชพิะีอัญเชิญพระบรมศพ พระศพ ทำให้ตัดทอนพิธีอื่นๆ  ตามมา ไม่ว่าจะเป็นการจุดดอกไม้ไฟสมโภช หรือ ลอการสมโภชพระศพเมื่อประดิษฐานบนพระเมรุแล้ว เป็นต้น
         8 . ในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยบเดช งานภูมิสถาปัตยกรรมเชื่เมดยงกับตัวอาคาร เข้ากับสิ่งที่แสดงถึงในหลวงรัชกาลที่ 9 อันมีความเกี่ยวพันกับโครงการพระราชดำริ ในพื้นที่ด้านทิศเหนือ เป็นทางเข้าหลักสู่พระเมรุมาศ
         มีการสร้างสระน้ำบริเวณ 4 มุม การจำลองนาขั้นบันได หญ้าแผก แก้มลิง และกังหันน้ำชัยพัฒนา รวมทั้งพันธุ์ข้าวจากภูมิภาคต่างๆ ได้แก่ พันธุ์ปทุมะานี 1 เป็นตัวแทนของข้าวภาคกลาง พันธ์ุข้าวขาวดอกมะลิ 105 เป็ตัวแทนของข้าวในภาคอีสานและหนือที่นิยมปลูกข้าวพันธุ์นี้ พันธุ์ข้าว กข 31 หรือพันธุ์ปทุมธานี 80 ที่ตั้งชื่อเพื่อร่วมเฉลิมพระเกี่ยรติในโอากสทรงเจริญพระชนมพรราครล 80 พรรษา โดยออกแบบแปลงนาเชิงสัญลักษณ์ให้เป็นเลขเห้าไทยสีดินทอง เป็นสัญลักษณ์สื่อว่าพระเมรุมาศนี้สร้างขึ้นเพื่อในหลวงรัชกาลที่ 9 กษัตริย์ฺนักพัฒนา
          9. พระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ประกอบด้วยอาคารทรงบุาบก จำนวน 9 องค์ ตั้งอยุ่บนฐานชาลารูปสีเหลี่ยมจัตุรัศ 3 ชั้น มีบันไดทางขึ้น ทั้ง 4 ทิศ ทิศตะวันตกหันหน้าเข้าพระที่นั่งทรงะรรม ทิศตะวันออกติดตั้งลิฟต์ และทิศเหนือติดตั้งสะานเกรินสำหรับเชิญพระบรมโกศจากราชรถปืนใหญ่ขึ้นบนพระเมรุมาศ
           โดยโครงสร้างพระเมรุมาศ ประกอบด้วย ลานอุตราวรรค หรือพื้นฐานพระเมรุมาศ มีสระอโนดาดทั้งสี่ทิศ และเขามอจำลอง มีประติมากรรมสัตว์หิมพานต์ ได้แก่ ช้าง โค สิงค์ ม้า แลสัตว์หิมพานต์ ตระกูลต่างๆ ประดับโดยรอบ
           ฐานชาลาชั้นที่ 1 มีฐานสิงห์เป็นรั่วราชวัตร แัตร แสดงอาณเขตพระเมรุมาศ และมีเทวดานั่งคุกเข่าถือบังแทรก
           ฐานชาลาชั้นที่ 2 มีหอเปลื้องทรงบุษบกรูแแบบเดี่ยกันตั้งอยู่ที่มุมทั้งสี่  ใช้สำหรับจัดเก็บพระโกศทองใหญ่และพระโกศไม้จันทน์ รวมถึงอุปกรณืสำหรับงานพระราชพิธี
           ฐานชาลาชั้น 3 ฐานบุษบกประธานประดับประติมากรรมเทพชุมนุม จำนวน 132 องค์โดยรอบรองรับด้วยฐานสิงห์ซึ่งประดับประติมากรรมครุฑยุดนาคดดยรอบอีกชั้นหนึ่ง มุมทั้งสี่ของฐานขั้นที่ 3 นี้ เป็นที่ตั้งของช่างทรงบุษบกยอดมณฑปชั้นเชิงกลอน 5 ชั้น
           จุดกึ่งกลางชั้นบนสุดมีบุษบกองคืประธานตั้งอยู่ เป็นอาคารทรงบุษบกยอดมณพปขั้นเชิงกลอน 7 ชั้น ภายในมีพระจิตกาธาน เป้นที่ประดิษฐานพระบรมโกศ ผนังโดยรอบเปิดโล่ง ติดตั้งพระวิสุตร (ม่าน) และฉากบังเพลิงเชียนภาพพระนารายณ์อวตารตอนบน และภาพโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริตอนล่างที่ยอดบนสุด ประดิษฐานนพปฎลมหาเศวตฉัตรwww.bangkokbiznews.com/news/detail/778316
            เย็นวันที 20 ต.ค. 2560 พล.อ. ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร รองนายกรัฐมนตรี กล่าวระหว่างตรวนความเรียบร้อยการก่อสร้าพระเมรุมาศ พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภุมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ว่า
           
การสร้างพระเมรุมาศ อาคารประกอบ ซ่อมสร้างราชรถ ราชยาน พระบรมโกศ และทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพถือว่าเสร็จสมบูรณืเรียบร้อยอย่างเป้ฯทางการ 100% หลังหน่วยงนที่เกี่ยวข้องร่วมมือร่วมใจกันตลอด 9 เพือนเต็มจนทุกอย่างเสร็จสิ้นสมูรณ์งดงามสมพระเกียรติ
             โดยในวันที่ 21 ต.ค. จะ่งมอบพท้ที่ให้ฝ่ายตำรวจ และเหลือเจ้าหน้าที่ไว้บำรุงรักษาให้ทุกอย่าวคงสภาพสมบูรณ์
             "สภาพดอกไม้จะบาน 100% คือวันที่ 26 ตุลาคม และจะสมบูรณ์เรื่อยไปจนถึงวันที่ 30 พศจิิกายน ซึ่งเป้นวันสุดท้ายของงานนิทรรศการ" พล.อ.ธนะศักดิ์ กล่าว
               พล.อ.ธนศักดิ์ กลาด้วยว่า ด้วยประบารมีทำให้ตลอดการทำงานก่อสร้างพระเมรุมาศ แม้แต่ช่างสักคนเดียวก็ไม่ถูกลวดเกี่ยว ตะปูดำ ทุกคนปลอดภัยทั้งหมด ส่วนกรณีฝนตกน้ำท่วมยืนบันว่าพร้อมรบมือและไม่กังวลเพราะแม้แต่ช่วงที่ฝนตกหนักที่สุดครั้งที่ผ่านมาก็สามารถรับอได้อย่างไม่มีปัญหา
               พล.อ.ธนศํกดิ์ ขอบคุณทุกคนที่เกี่ยวข้องรวมทั้งคนไทยทั้งประเทศพร้อมย้ำหลายครั้งตลอดการสัมภาษณ์ว่าผลงานทั้งหมดสำเร็จด้วยความร่วมมือของคนทั้งประเทศทีร่วมกันสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ แสดงให้ทั้งโลกเห็นว่าในเรื่งอของการเทิดทูนถาบันพระมหากษัตริย์ของคนไทยน้นเหนือสิ่งอื่นใด
             ทั้งนี้หลักเสร็จงานพระราชพิธีฯ จะจัดนิทรรศการเปิดให้ประชาชนได้เข้าชมระหวางวันที่ 2-30 พ.ย. 2560 โดยจะรักษาสภาพความงดงามสมบูรณ์ตลอดช่วงเวลาจัดงานนิทรรศการ ถ้าดอกไม้เหี่ยวก็จะเปลี่ยนให้เพื่อคงความงดงามสมบูรณ์ตลอดช่วงเวลาจัดงานนิทรรศการ ถ้าดอกไม้เหี่ยวก็จะเปลี่ยนให้เพื่อคงความงดงามให้ทุกคนได้ชมอย่างเท่าเที่ยมกัน สำหรับนิทรรศการดังกล่าวจะเปิดให้เข้าชมตั้งแต่ 7.00-22.00 น. ประชาชนได้เข้าชมรอบละ 5,000 คน ใช้เวลารอบละประมาณ 45 นาที แต่ถ้าประชาชนมามากอาจจะขยายเวลาปิดเลย 22.00 น. ออกไป แต่ทั้งนี้ช่วงเวลากการจัดนิทรรศการจะสิ้นสุดวันที่ 30 พ.ย. ยืนยันยังไม่มีการขยายเวลาออกไป
           " ณ ขณะ นี้ยืนยันว่า ยังเป็ฯ 2-30 พ.ย. ทุกคนควรจะมารับชม อย่างไปคิดว่าเดี๋ยวเขาก็ขยายเวลา เพราะขณะนี้ยืนยันว่านิทรรศการมีถึงวันที่ 30 พ.ย." พล.อ. ธนะศักดิ์ กล่าวthestandard.co/kingrama9-cremation-complete/

           

วันอังคารที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Trade Liberalization The Service Industry

         
การเปิดเสรีด้านการค้าสินค้าและรบริการ 12 สาขา อันได้แก่่ สาขาผลิตผลเกษตร สาขาประมง สาขาผลิตภัณฑ์ยาง สาขาสิ่งทอ สาขายานยนต์ สาขาผลิตภัฒฑ์ไม้ สาขาอิเล็ทรอนอกส์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาสุขภาพ สาขาการท่องเที่ยว สาขาการบิน และสาขาดลจิสติกส์ มีส่งให้ธุกิจนำเที่ยวพลอยได้รับผลกระทบต่อธุรกิจนำเที่ยวในด้านต่างๆ เช่น มคัคุเทศก์ ด้านนักท่องเที่ยว ด้านผลิตภัฒฑ์ท่องเที่ยว ด้านผุ้ประกอบการ และด้านรํบ การ้้าเสรีด้านบริากรทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานและการลงทุนในภุมิภาคอาเซียนอย่างหลีกเลี่ยวไม่ได ผุ้มีสวนเกี่ยวข้องกับธุรกิจนี้จึงจำเป้นต้องพัฒนาความรู้และความสามารถของตนเพื่อให้ได้ความได้เปรียบในการแข่งขัน ซึ่งมรรการดังกล่าวต้องอาศัยควสมสนับสนุนจากรัฐ ลจกางานวิจัยเรื่องนี้เป้ฯประโยชน์เชิงนโยบายและเป็นข้อคิดสำหรับธุรกิจนำเที่ยวในการรับมือกับเปิดการต้าเสรีด้านบริการ
            เนื่องจากประเทศแต่ละระเทศมีทรัพยากรไม่เท่ากัน จึงต้องแลกเปลี่ยนทรัพยากรที่ตนมีกบประเทศอื่น ซึ่งทำให้เกิดการค้าระห่างประเทศ ทั้งนี้ แต่ละประเทศจะทำการต้ากันตามสินค้าที่ตนผลิตได้ดีจนกระทั่งเมื่อ 30 ปีที่ผ่านมา ประมาณทศวรรษที่ 1980 สถานการณ์ทางการตาโลกได้เปลี่ยนแปลงไป
ประทศต่างๆ ประสบกับภาวะเศรษฐกิจถดถอย จึงต้องกำหนดมาตรการในการดีดกันทางการต้าในรูปต่างๆ เช่น ภาษีศุลกากร และรูปบบอื่น เป็นระบบที่เรียกว่า การต้าแบบที่มีการเจรจาทางการค้าระหว่างคู่ค้าหรือทวิภาคี
            การเจรจาแบบทวิภาคีทำให้เกิดการบิดเบือนเรื่องราคาสินค้าและราคาปัจจัยการผลิต อันนำไปสู่การจัดสรรทรัพยากรที่ไม่มีประสิทธิภาพ เมื่อปัญหานี้รุนแรงขึ้น ประเทศต่างๆ ในโลกจึงเจรจาร่วมกันเพื่อจัดกฎระเบียบทางการต้าระหว่างประเทศของโลกให้ดำเนินไปอย่างเป็นระเบียบและเป็นธรรมมากขึน ในรูปการเจรจาหลายฝ่าย หรือแบบพหุภาคี เช่น ข้อตกลงทั่วไปวาด้วยภาษาีศุลการกรและการต้า  ซึ่งเป็ฯที่มาขององค์การการต้าโลก WTO นอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจเสรี ซึ่งเป็นการรวมกลุ่ทางการต้าทางภูมิศาสตร์ หรือภูมิภาค แต่ไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจากมีเพียงประชาคมยุโรปหรือสหภาพยุโรปในปัจุจุบัน ต่อมามีการจัดตั้งในระดับภูมิภาค เช่น สหรัฐอเมริกาได้ตัดสินให้เม็กซิกและแคนาดาเข้าร่วมด้วย จึงกลายเป็น NAFTA นอกจากนี้ยังมี ASEAN, OPEC, BRICS,EU,P4 ฯลฯ
           จากสภาพการณ์ดังกล่าวนี้การเจรจาการต้าแกตต์รอบอุรกวัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเริมให้การต้าระหว่างประเทศของโลกเป็นไปโดยเสรีและเป็นธรรม ไม่สามารถบรรลุผลได้ตามกำหนดเวลา คือภายใน พ.ศ. 2533 และยังหาข้อยุติไม่ได้ ทำให้แต่ละประเทศไม่แน่ใจว่าผลการเจรจาจะอกมาในรูปแบบใดและ
จะเป็นประดยชน์ต่อประเทสของตนมากน้อยเพียงใด จึงต่างก็หันมาให้ความสนใจการเจรจาจะออกมาในรูปแบบใดและจะเป็นประดยชน์ต่อประเทศของตนมากน้อยเพียงใด จึงต่างก็หันมาให้ความสนใจกับการเจรจาสองฝ่่ายก่อน แล้วจึงขยายการต้าเสรีออกไปทำให้แนวคิดเรื่องการรวมกลุ่ทาางเศราฐกิจแพร่ขยายออกไป เพื่อประโยชน์และอำนาจในการเจรจาต่อรอง และสร้างคงามเข้มแย็งทางเศรษบกิจในกลุ่มประเทศสมาชิก การเปิดเสรีทางการต้าจึงเป้ฯการรวมตัวกันของประเทศต่างๆ เป็นหลุ่มเพื่อลดหรือชจัดอุปสรรคทางการค้าการลงทุน ซึ่งไม่ใช่เป็นเพียงเรื่องของภาษีแต่รวมไปถึงการอำนวนความสะดวก การกำหนดกฎเกณฑ์ และการร่วมมือทางเศราฐกิจด้วย...
           การเปิดเสรีด้านบริการของอาเซียน ซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญของประชาคมเศราฐกิจอาเวียนกรอบความตกลงด้านบริากรของอาเวียนริเริ่มขึ้นจากการประชุมสุดยอดอาเซียนที่กรุงเทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2538 โดยรัฐมนตรีเศราฐกิจอาเซียนจาก 7 ประเทศ ซึ่งได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บรูไน และเวียดนาม ได้ลงนามความตกลงดังกล่าว เมื่อ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2538 เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการบิการและพัฒนาประสิทธิภาพของผุ้ให้บริการ ในภุมิภาครวมถึงการเพ่ิมความเท่าเที่ยมในการบริการผ่านการออกระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ตามมาตครฐานด้านความตกลงทั่วไปวาด้วยการต้าบริการขององค์การการต้าโลก โดยตั้งเป้าหมายให้ความตกลงต่างๆ เป็นที่ยอมรับกันในภายใน พ.ศ. 2558 ในชั้นแรกความตคกลงว่าด้วยการต้าบริากรในอาเซียนได้ครอบคลุมถึงสาขาการบริารต่างๆ เช่น การเงิน การขน่งทางทะเล การขนส่งทางอากาศ การสื่อสาร โทรคมนาคม การท่องเที่ยว การก่อสร้างสาขาบริการธุรกิจ
           อย่างไรก็ดี ในการประชุมการเปิดเสรภาคบริการอาเซียนในรอบที่ 4 ในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2548-2549 ได้มีการขยายขอบเขตการเจรจาเปิดเสรีให้รวมทุกสาขาบริการ โดยเฉพาะในด้านการบริการและการท่องเที่ยว ที่เป็ฯสาขาสำคัญที่จะมีการเร่งรัดตามข้อตกลงทั้งในด้านการบริการในโรงแรม และร้านอาหาร การท่องเที่ยว ผุ้ประกอบการท่องเที่ยว และด้านมัคคุเทศก์ ซึ่งเป้นธุรกิจการบริการที่มีความดดดเด่นของภูมิภาคการเปิดเสรีภาคบริการเสรีในอาเวียน ยังได้กำหนดเป้าหมายระับการเปิดตลาดด้านการบริการที่จะให้ขจัดข้อกีดกันสำหรบการให้บริการข้ามพรมแดน ข้อจำกัดในการบิรโภคข้ามพรมแดน และการสร้างความเท่าเที่ยมให้กับนักลงทุนในอาเวียนในการจัดตั้งธุรกิจและถือ หุ้น ดดยเฉพาะในสาขาเร่งรัดด้านการบริากรและการท่องเที่ยวที่นักลงทุนอาเซียนจะมีโอกาสถือหุ้นในกิจการของสาขาดังกล่าวในแต่ละประเทศได้ร้อยละ 70 ใน พ.ศ. 2556 และสาขาอื่นๆ จะมีการปรับสัดส่นการถือหุ้นลักาณะนี้ได้ใน พ.ศ. 2558
            การเปิดเสรีทางการต้าภายใต้ประชาคมเศราฐกจิอาเซีนจะทำให้เกิดการไหลเวียนของสินค้าบริากร การลงทุน เพราะสินค้าที่จะไหลเข้ามาก็คือด้านการเกษตรที่ราคาถูกว่สินค้าเกษตณภายในประเทศ แต่สินค้าที่จะไหลออกก็คือด้านอุตสาหกรรมจากอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ รวมท้งการไหลเวียนของการลงทุน เมื่อภาคธุรกิจสามารถย้ายการลงุทนได้อย่างอิสระ ก็ย่อมเลือกประเทศ ที่ค่าแรงถูกที่สุดเพื่อให้ต้นทุนราคาถูกที่สุด เรียกได้ว่าเป้นการย้ายทุนหาแรงงาน ซึ่งแน่นอนว่าจะเกิดผลกระทบต่อแรงงานไทยแน่นอน ซึ่งนอกจากจะกระทบแรงงานไร้ฝีมือแล้ว ยังกระทบถึคงแรงงานฝีมือย่างแพทย์ พยาบาล หรือสายสุขภาพ  จาก ประเทศฟิลิปปิสน์ก็เริ่มทยอยเข้ามาในไทยแล้ว
     
 ส่วนดอากสที่ชุมชนจะได้รับจะพบว่ามีโอากสทางเศราฐกิจค่อนข้างน้อย สินค้าเกษตรราคาถูกที่เข้ามาอาจทำให้มีวัตถุดดิบราคาถูก แต่จะสามารถพัฒนาและยกระับได้อรือไม่ และยังมีโอากสได้แรงงานไร้ฝีมือในระคาถูกลงเพราะแรงงานจากประเทศอื่นเขามาในไทยอย่างเสรีมากขึ้น ที่ผ่านมาประเทสไทยมองการเข้าสู่ประชาคมเศราฐกจอาเซียนเพียงด้านเดียว คือด้านเศราฐกิจ ทั้งที่ยังมีอีกถึงสองด้าน ให้ต้องนึกถึง คือด้านการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน และด้านสังคมและวัฒนธรรม แต่ก่อนที่ประเทศไทยจะเปิดเสรีทางการต้าภายใตจ้ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน อย่างเต็มตัวนั้น ควรจะต้องเรียนรู้ประเทศเพื่อนบ้าน ทำความเข้าใจถึงวัฒนธรรม ความแตกต่างในด้านต่างๆ ระหว่างประเทศในอาเซียนเสียก่อน
           ใน พ.ศ. 2534 ประเทศไทยในฐานะประเทสสมาชิกได้เสนอแนวความคิดในการจัดตั้งแขตการต้าเสรีอาเซียน ในการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนครั้งที่ 23 ที่กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ที่ประชุมมีมติให้มีการจัดตั้งเขตการต้าเสรีอาเซียน และในปีต่อมา ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 4 ที่ประทเสสิงคดปร์ ได้มีการลงนามข้อตกลงว่าด้วยการใช้อัตราภาษีศุลกากรพิเศษที่เท่าเทียมกันสำหรับเขตการต้าเสรีอาเซียน เพื่อให้การค้าภายในอาเซียนเป็นไปโดยเสรีภายใต้อัตราภาาีศุลกากรระหว่างกันต่ำที่สุดและปราศจากข้อจำกัดที่ไม่ใช่ภาษีศุลกากร และเพื่อดึงดุดการลงทุนจากต่างประเทศให้เข้ามาสุ่ภูมิภาคอาเซียน รวมทั้งเพื่อเตียมพร้อมสำหรับสถานการณ์เศราฐกิจและการต้าดลกที่เสรียิ่งขึ้น จากผล
การเจรจาทางการต้าแกตต์รอบอุรุกวัย นอกจากนี้มาตการนี้ยังเป็นกลไกสำคัญให้ประเทศสมาชิกดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันภายในกำหนดระยะเวลา 15 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พงศ. 2536 ต่อมาใน พ.ศ. 2537 ในการประชุมรัฐนตรีเศราฐกจิอาเซียน ครั้งที่ 26 ที่จังหวัดเชียงใหม่ ได้มผลสรุปทางด้านการปรับปรุงระยะเวลาในการดำเนินการตามข้อตกลงว่าด้วยการใช้อัตราภาษีศลุกากรพิเศษที่เท่าเที่ยมกัน ดดยให้ลดระยะเวลาของการดำเนินการตามข้อตกลงอัตราภาษีพิเศษที่เท่ากันของประเทสสมชิกอาฟตา จาก 5 ปี เหลือ 10 ปี หรือให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2546 เพื่อให้ระยะเวลาในการปกิบัตตามข้อตกลงก่อนข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการต้าแกตต์
          โครงการเตรียมความพร้อมและสร้างเครอข่ายความร่วมมือภาคอุตสาหกรรมการผลิต เพื่อรองรับประชาคมเศราฐกิจอาเซียน สังคมและวัฒนธรรม และเมื่อการต้าระหวางประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันการต้ารุนแรงขึ้น ทำให้อาเวียนได้ไันมามุ่งเน้นการกระชับและขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกจิการต้าระหว่างกันมากขึ้น ทำให้อาเวียนได้หันมามุ่งเน้นการกระชับและขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการต้าระหว่างกันมากขึ้น อยางไรก็ตามก็ยังมีวัตถุประสงคืในเรื่องการส่งเสริมการพัฒนาเศราฐกจิ สังคมและวัฒศนธรรมในภุมิภาค ภาคการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคงในภูมิภาค และการใช้เป็นเวทีแก้ไขปัญฐหาความขัดแย้งภายในภูมิภาค
         
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา การดำเนินงานความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียนมีความคืบหน้ามาตามลำดับ ไม่ว่าจะเป็นการจัดทำเขตการต้าเสรีอาเซียน ซึ่งเร่ิมดำเนินการตั้งแต่ พ.ศ. 2535 การเจรจาเพื่อเปิดตลาดการต้าบริการ และการลงทุนในภุมิภาคจนถึงปัจจบัน ผุ้นำอาเซียนได้มุ่งให้ความสำคัญกับการดำเนินกาเพื่อนำไปสู่การเป็นประชาคมเศราฐกิจอาเซียนภายใน พงศ. 2558 ซึ่งเร็วขึ้นกว่ากำหนดการเดิมที่ผุ้นำอาเซียนได้เคยประกาศแสดงเจตนารมณ์ไว้ตามแถลงการณ์บาหลี

            - บางส่วนจาก "ผลกระทบของการเปิดเสรีในอุตสาหกรรมการบริการของอาเซียนที่มีต่อธุรกิจนำเที่ยวในประเทศไทย", พีรยุทธ์ พัฒน์ธนญานนท์, วารสารวิชาการการตลาอและการจัดการ ม.เทโคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม มิถุนายน พ.ศ.2558.

วันจันทร์ที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2560

SEAN Framework Agreement on Services (AFAS)

          การเปิดเสรีการบริากรด้านท่องเที่ยวนั้น มีผลกระทบทั้งในด้านบวกและด้ารลบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทย ดังนั้น ผุ้ประกอบการธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวขงไทย จะต้องเตรียมวางแผนทางธุรกิจเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นจาก AEC
          การเปิดเสรีบริการด้านการท่องเที่ยว จะเป็นการเปิดในลักษณะของการเคลื่อนย้ายการลงทุน ซึ่งตามข้อตกลงใน  AEC Blueprint คือ ลุดอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาดในด้านต่างๆ ลง และเพ่ิมสัดส่วนการถือหุ้นให้กับบุคคลหรือนิติบุคคลสัญชาติอาเซียน ดดยสามารถือหุ้นได้สูงถึงร้อยละ 70 ซึ่งภายใต้รกอบ AEC ธุรกิจท่องเที่ยวและยริการที่เกี่ยวเนื่องถูกจัดให้อยู่ในสาขาเร่วงรัดการรวม กลุ่ม เช่นเดียวกับภาคบริการอื่นๆ อีก 4 สาขา ได้แก่ คอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม บริการสุขภาพ ากรขนสงทางอากาศ และโลจิสติกส์ ซึ่งกำหนดให้ยกเลิกเงือนไขต่างๆ ที่เป้นข้อจำกัดทั้งหมด รวมทั้ง ทยอยเพ่ิมสัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนอาเวียนให้สูงขึ้นเป้นร้อยลบ 70 ในปี 2553 แต่ในปัจจุบันก็บังมีข้อจำกดอยู่ เช่นการกำหนดมาตรฐานสำหรับผุ้ปรกอบวิชาชีพในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของแต่ละประเทศในอาเซียน อาทิ พนักงานทำความสะอาด ผุ้จัดการแผนกต่างๆ เป้นต้น ทั้งนี้เพื่อท้อายที่สุดจะสามารถผลักดันให้มีการเคลื่อนย้ายผุ้ให้บริการที่ ได้รับการรับรองคุณสมบัิตวิชาชีพ ภายในภุมิภาคได้อย่งเสรี
           สัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนสัญชาติอาซียน ตามแผน AEC Blueprint(สาขาธุรกิจท่องเที่ยว)
           แม้ว่าตามแผนงาน AEC Blueprint ประเทศไทยควรจะอนุญาตใหนักลงทุนอาเซียนสามารถถือหุ้นได้ร้อยละ 70 ตั้งแต่ปี 2553 แต่ปัจจุบันในปี 2555 ประเทศไทยยังคงอนุญาตให้ถือหุ้นได้เพียงร้อยละ 49 เนื่องมาจากกฎหมายภายในประเทศอยู่ระหว่างการพัฒนาและการพัิจารณาของรัฐสภา
            ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ได้วิเคราะห์ผลกระทบจากการเปิดเสรีบริการด้านท่องเที่ยว ที่จะเกิดขึ้นกับธุรกิจของปทไยในแต่ละาขาที่เกี่ยวข้องโดยสังเขป ดังนี้
            ธุรกิจโรงแรม การเปิดเสรีในส่วนของธุรกิจโรงแรมระหว่งประเทศสมาชิกอาเซียน มีประเด็นสำคัญในเรื่องของสัดส่วนการถือหุ้นของชาวต่างชาติที่ยังมิได้เป้นไปตามเป้าหมายที่กำหนด คือ ประเทศสมาชิกอาเซียนเปิดให้เพ่ิมสัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนอาซียนเป้นร้อยละ 70 ในปี 2558 ในสาขาธุรกิจท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวเนื่อง โดยปัจจุบัน ประเทศมาชิกตกลงในเรื่องสัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนต่างชาติ ดังนี้ ประเทศมาเลเซียอนุญาตให้ชาวต่างชาติร่วมทุนกับนักธุรกิจมาเลเซียและถือหุ้น ได้ไม่เกินร้อยละ 51 (เฉพาะโรงแรมระดับ 4-5 ดาว) ส่วนประเทศสิงคโปร์ไม่มีข้อจำกัดใดๆ สำหรับการลงทุนของชาวต่างชาติในธุรกิจโรงแรม ขณะที่ประเทศไทยเองก็กำหนดสัดสวนการถือหุ้นของชาวต่างชาติให้ถือได้ไม่เกินร้อยละ 49 (กรณีที่เป็นบริษัทจำกัด)
           
 ปัจจุบันนักลงทุนไทยสามารถเข้าไปตั้งธุรกิจท่องเที่ยวและบริการโดยเป็นเจาของ 100% หรือเป็นพันธมิตรทางธุรกิจในประเทศเวียดนามได้ แต่มีเงื่อนไขว่านักลงทุนต้องดำเนินการสร้าง ปรับปรุง ฟื้นฟู แล้วจึงจะได้กรรมสิทธิ์หลังจากนั้น อย่างไรก็ตาม ภาครัฐของแต่ละประเทศก็มีแผนงานดำเนินการเพื่อผลักดันให้นักลงทุนต่างชาติ สามารถถือหุ้นได้สูงถึงร้อยละ 70 ตามเป้าหมายของประเทศอาเวียนในการเปิดเสรีการบริการด้านท่องเที่ยว
             สำหรับผลของการเปิดเสรีในส่วนธุรกิจโรงแรมที่จะส่งผลกระทบต่อธุรกิจโรแรมของไทยนั้น ศูนบ์วิจัยกสิกรไทย มีความเห้นว่าปัจจุบนธุรกิจโรงแรม ในประเทศไทยมีการแข่งขันกันอย่างเชข้มข้นในทุกระดับราคาและทุกกลุ่มลูกค้า ซึ่งแ้แต่ผุ้เล่นรายใหญ่ที่จะเน้นการพัมนาโรงแรมระดับบนเองยังได้ลงมาทำ ตลาดโรงแรมระดับกลางเพื่อให้ครอบคลุมุทกตลาด นอกจากนี้ ผุ้ประกอบการรายใหญ่ยังได้จับมือกัน เช่น โรงแรมต่าประเทศ เพื่พขยายฐานตลาดให้กวางขึ้น ส่งผลกระทบต่อากรทำธุรกิจโรงแรมของผุ้ประกอบการเอสเอ็นอีในไทยอยู่ค่อยข้าง มาก ซึงส่วนใหญ่เป็โรงแรมขยาดเล็กที่มีพนักงานประมาณ 10-15 คน
            ดังนั้นเมื่อมีการเปิดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแล้ว จะยิ่งเพ่ิมระดบความรุนแรงของการแข่งขันด้านการตลาดของธุรกิจโรงแรมโดยเฉพาะกลุ่ม เช่น บริหารโรงแรมขั้นนำจากต่างประเทส (ที่มีวามพร้อมทั้งด้านเงินทุนและบุคลากร รวมท้งความได้เปรียบด้านการตลาด) มีแนวโน้มจะขยายการลงทุนและขยายเครือข่ายการบริหารโรงแรม เข้ามาในตลาดระดบกลางเพิ่มขึ้น ทำให้ผุ้ประกอบการ
โรงแรมระดับกลฃางลงมาของไทย ซึ่งเสียเปรียบด้านการตลาด และส่วนใหย่มีข้อจำกัดด้านเงินทุน จะประสบปัญหาอัตราการเข้าพักลดลง และนำไปสู่การแข่งขันด้านราคาห้งอพักมากขึ้น ก่อให้เกิดปญหารการขาดสภาพคล่องได้ในที่สุด เปิดโอากาศให้คู่แข่งซึ่งเป้ฯบริษัทข้ามชาติามารถดำเนินการซื้อหรือควบรวม กิจการได้ง่ายขึ้น
             ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว ผุ้ประกอบการธุรกิจโรงแรมขนาดกลางและขนาดย่อมที่บริาหารกิจการเอง ต้องเร่งพัฒนและปรบตัวเพื่อให้ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการเปิดเสรีฯ โดนมีแนวทางดังนี้
             - วิเคราะห์ศักยภาพของกิจการ เพื่อชูความได้เปรีบเหรือจุดแข้.ของกิจการ เป้นจุดขายที่แตกต่างและโดดเดน อาทิ คุณภาพกรให้บริการของคน ไทยที่โดดเด่นในห้านการมีจิตใจในการให้บริการ ความได้เปรียบด้านราคาที่มีความคุ้มค่าการบริการ ควาไ้เปรีบด้านทำเลที่ตั้ง ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ตามแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ที่มีให้ เลือกอย่างหลกหลายแตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาค
         
  - วางตำแหน่งของกิจการที่เหมาะสม และกำหนดตลาดเป้าหมายให้ชัดเจน่า จะเน้นให้บริการลูกค้าในตลาดนักท่องเทียวทั่วไปซึ่งเป้ฯตลาดที่มีขนาดใหย่ และมักเป้ฯนักท่องเทียวที่เพิ่งเดินทงมาเที่ยวประเทศไทยเป็นครั้งแรก หรือนักท่องเที่ยเวเฉพาะกลุ่ม(อาทิกลุ่มนักธุรกิจ กลุ่มประชุมสัมนา กลุ่มท่องเทียวเพื่อเป็นรางวัล กลุ่มคู่ฮันนีมูล กลุ่มจัดงานแต่งงาน กลุ่มท่องเทียวเชิงสุขภาพ กลุ่มพำนักท่องเที่ยวระยะยาว กลุ่มทั้วร์กอล์ฟ กลุ่มทั่วร์ดำนำ้ เป็นต้น) ซึ่งเป็นตลาดที่มีขนาดเล็กแต่มีกำลังซ์้อูงส่วนใหญ่จะเป้นัก่องเที่ยว กลุ่มเที่ยวซ้ำ(คือ เคยเดินทางมาเที่ยวเมืองไทยแล้ว) และปรับแผนกาบิรการและแผนการตลาดใหสอดคลองกับตลาดเป้าหมาย และการปรับเปลี่ยนของตลาด เช่นในปัจจุบันที่ตลาดยุโรปกำลังประสบปัญหาเศราฐกิจ และนิยมเดินทางท่องเที่ยวระยะสั้นเพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินาง บรรดาผุ้ประกอบการควรหันไปขยายตลาดท่องเทียวระยะใกล้ในภูมิภาคเอเชีย ที่ยังเติบโตต่อเนื่อง
            - พัฒนาทักษะการใช้ภาษาสากลและภาษาในกลุ่มอาเซียน อาทิ มาเลย์ พม่าทั้งนี้ หากผุ้ปรกอบการมีงบประมาณไม่เพียงพอในการพัฒนาทักษะด้านภาษา อาจจะพิจารณานำแนวคิดของการับสมัครอาศาสมัครที่มีควาสามารถด้านภาษามาปรับใช้ แต่ต้องมีการฝึกอบรมทักษะด้านบริการให้กับกลุ่มอาสาสมัครเหล่านี้ก่อน
            - การสร้างพันธมิตรทางธุรกิจกับผุ้ประกอบการทั้งในและนอกประทศน่าจะช่วยให้ ผุ้ประกอบการมีศักยภาพในการแข่งขันและเพ่มทางเลือกให้กับ ลูกค้าได้มากขึ้น เช่น นำเสนอแพ็กเกจห้องพักราคาเดียวแต่สามารถเลือกที่พักได้หลายแห่งในต่างทำเล ทึ่ดั้ง (อาทิ ชายทะเล เกาะ ภูเขา ป่า) แต่อยู่ในเครือข่ายเดียวกัน เป็นต้น
            นอกจากนี้ ผู้ประกอบการควติดตาม้อมูลข่าวสาร ช่องทางการดำเนินธุรกิจ และแนวทางการปรับตัว เพื่อให้ผู้ประกอบการมีศักยภาพในการแข่งขันอย่างยั่งยืน เพราะากรเปิดเสรยังคงจะดำเนินต่อไป ไม่ว่าจะเป็น อาเซียน บวก สาม หรือ อาเซียน บวก หก
           ธรุกิจนำเที่ยว เป็นธุรกิจที่ใหการบริากรอำนวนความสะดวกแกนักท่องเที่ยว อาทิ การให้ข้อมุลด้านการท่องเที่ยวเพื่อประกอบการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยว การวางแผนการเดินทาง การบริกรด้านทีพัก และจัดแพ็กเกจท่องเทียว เป็นต้น ธุรกิจนำเทียวแบ่งออกตามลักษณะของการจัดบริการท่องเที่ยวได้แก่
           ธุรกิจท่องเทียวภายในประเทศ คือ การจัดนำนักท่องเที่ยวที่มีภุมิลำเนาในประเทศ เดินทางไปยังแหล่งท่องเที่ยว ภายในประเทศ
           ธุรกิจนำนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาจากต่างประเทศเดินทางไปยังแล่งท่องเที่ยวในประเทศ
           ธุรกิจนำนักท่องเทียวคนไทยเดินทางไปยังแหล่งท่องเที่่ยวต่างประเทศ
         
 สำหรับการเปิดเสรีประชาคมเศราฐฏิจอาเซียนในหมวดการนำเที่ยว ในปัจจุบันประเด็นของสัดส่วนการถือหุ้นของชาติสมาคมอาเวียนยังมีข้อจำกัด และเงือนไขบางประการ ได้แก่ ประเทศมาเลเซียอนุญาตให้ชาวต่างชาติร่วมทุนกับนุกธุรกิจชาวมาเลเซียก่อตั้ง บริษัทนำเที่ยว โยสามารถถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 51 ขณะที่ประเทศไทย กำหนดให้คณะผุ้บิรหารครึ่งหนึ่งต้องเป็นคนไทย ส่วนประเทศสิงคโปร์ละเวียดนามไม่มีข้อกำหนดใดๆ สำหรับชาวต่างชาติที่ต้องการประกอบธุรกิจนี้
          ทั้งนี้ การประกอบธุรกิจนำเที่ยวในไทยมีจำนวนค่อนข้างมาก เนื่องจากประเทศไทยมีแหล่งท่องเที่ยวให้เลือกอย่งหลากหลาย โดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวนงาม และเ็นทีนิยมของนักท่องเทียวทั้งคนไทยและต่างชาิต โดยข้อมูลล่าสุดเดือน เมษยน พ.ศ. 2555 จากสำนักงานทะเบียบและธุรกิจนำเที่ยว พบว่า มีผุ้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวในประเทศไทยมากถึง 10,507 ราย ซึ่ง่วนใหญ่เป็นผุ้ประกอบการขนาดเล็ก ส่วนจำนวนมัคคุเทศก์ชาวไทยมีกว่า 58,324 ราย ซึ่งร้อยละ 65 สามารถพูดภาษาอังกฤษได้แต่ปัจจุบันอาชีพมัคคุเทศก์ชาวไทยยังมีำม่เพียงพอต่อความต้องการ เพราะส่วนหใญ่จะประกอบอาเชีพนี้เป็นอาชีพอิสระ จึงค่อนข้างเป็นอุปสรรคในการพัฒนาธุรกิจนำเที่ยวของไทยให้มีความพร้อมต่อการเปิดเสรีได้
             ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มีควาเห้นว่า การเปิดเสรีประชาคมเศราฐกิจอาเซียนจะทำให้ผุ้ประกอบการธุรกิจนำเี่ยวรายใหญ่จากต่่างประเทศสามารถเข้ามาลงทุนเปิดสาขาบริษัทนำเที่ยวในประเทศไทยไ้ มากขึ้นแม้จะมีข้อกำหนดเกี่ยวกับผุ้บริหารและอาชีพมัคคุเทศก์เป็นอาชีพที่สงวนไม่อนุญาตให้คนต่างด้าวก็ตาม ซึ่งผุ้ประกอบการจากต่างประเทศเหล่านี้อาจจะกลายมาเป็นคู่แข่งที่สำคัญของบริษัทนำเที่ยวในไทย เนืองจกาบริษัทนำเที่ยวต่างชาติจะมีจุดเด่น คือมีฐานลูกค้าในประเทศของตน และจาการที่เป้นผุ้ประกอบการรยใหญ่ ทำให้อำนาจต่อรองในเรื่องของราคามีค่อนข้างสูง ซึ่งก็อาจมีผลกระทบต่อบริษัทนำเที่ยวของคนไทยได้เช่นกัน
            ดังนั้น ผุ้ประกอบการควรจะต้องเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจมีผลต่อธุรกิจของตนด้วยเช่น กัน เช่น
           
- ส่งเสริมการนำเที่ยวเฉพาะด้าน หรือเน้นลูกค้าเฉพาะกลุ่่ม เช่น การนำเสนอการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแก่ลูกค้ากลุ่มนักท่องเที่ยวจาประเทศใน กลุ่มภูมิภาคตะวันออกกลาง ที่ปัจจุบันิยมเดินทางเข้ามารับบริการด้านการแพทย์ในประเทศไทยอยู่แล้ว หรือลูกค้ากลุ่มที่มีศักยภาพทางการเงินจากประเทศเพื่อบ้านที่มีพรมแดนติด กับไทย ทำให้สะดวกในการเดินทาง อาทิ นักท่องเที่ยวในตลาดระับบนของพม่าซึ่งปัจจุบันนิยมเดินทางมาเที่ยวกรุงเทพฯ และรายการนำเที่ยวที่ได้รับความนิยม คือ ไหว้พระในวัดพระแก้ว ชมพระบรมมหาราชวัง จับจ่ายซ์้อสินค้าในศูนย์การ้าชั้นนำนย่านราชประสงค์ และเที่ยวชายทะเลแถบพัทยา ขณะที่นักท่องเที่ยวในตลาดระดับกฃางที่กำลังเติบโตอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ทั้งลาวและพม่ จะนิยมเดินทางข้ามพรมแดนมาท่องเที่ยวพักผ่อน และจับจ่ายซื้อสินค้า รวมทั้งเข้ามารับบริากรด้านการแพทย์ในประเทศไทย ตามเมืองท่องเที่ยวหลักใกล้พมแดน เช่น อุดรธานี ขอนแก่น เชียงราย เชียงใหม่และแม่สอด เป็นต้น
       
- สร้างพันธมิตรทางธุรกิจทั้งภายในกลุ่มธุรกิจเดียวกนและกลุ่มธุรกิจอื่นที่ เกี่ยวข้อง เช่นหากมุ่งเน้นกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ก็ควรจะเป้นพันธมิตรกับหลากหลายโรงพยาบาล หรือธุรกิจบิรการรถเช่า เพื่อบริการรับ-ส่งลูกค้าจากนามบินไปโรงพยาบาล หรือไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ
          - ส่งเสริมการตลาดผ่าน โซเชียล มีเดีย มาเก็ตติ้ง ที่น่าจะเหมาะกับผุ้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก เพราะสามารถลดต้นทุนการทำประชาสัมพันธ์และเข้าถึงลูกค้าทุกกลุ่มได้เป็นอย่างดี
          อย่างไรก็ดี การใช้ื่อออนไลน์ก็มีข้อพึงระวังเพราะหากลูค้าเกิดความไม่พอใจการให้บริการก็อาจจะใช้โลกออนไลน์นี้ในการแสดงความคิดเห็นได้เช่นเดียวกัน ฉะนั้น การรักษาคุณภาพการบริากรให้ได้มาตรฐานสากลเป็นสิ่งที่ผุ้ประกอบการพึง ปฏิบัติย่างต่อเนื่องรวมถึงการพัมนาและให้ข้อมูลล่าสุดผ่านทางเว็บไซตผุ้ประกอบการเืพ่อส่งเสริมให้เป็นอีกหนึ่งช่องทางในการติดต่อและสื่อสารกับลูกค้าโดยตรง
ttmemedia.wordpress.com/2012/06/18/ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน-2/

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...