วันพุธที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Eastren front
22 มิถุนายนเริ่มปฏิบัติการบาร์บารอสซ่า กองทัพเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายอักษะรุกรานสหภาพโซเวียตโดยแบ่งการโจมตีอกเป็นสามทางพุ่งเป้าหมายไปยังนครเลนินกราด กรุงมอสโกและแหล่งน้ำมันแถบเทือกเขาคอเคซัส กองทัพเยอรมันบางส่วนได้รับอนุญาตให้ใชบ้ดอนแดนฟินแลนด์ในการโจมตีสหภาพโซเวียต
ฮังการีและสโลวาเกียประกาศสงครามกับสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียตท้งระเบิดกรุงเฮลชิงกิฟินแลกน์ประกาศสงครามต่อสหภาพโซเวียต สงครามต่อเนื่องเริ่มขึ้น อังเบเนียประกาศสงครามกับสหภาพโซเวียต
กรกฎาคมกองทัพเยอรมันบุกกรุงริกา เมืองหลวงของลัตเวีย ระหว่างทางไปโจมตีนครเลนินกราด สตาลินประกาศ “นโยบายเผาให้ราบ”กองทัพเยอรมันเคลื่อนทัพถึงแม่น้ำดไนเปอร์ ไอช์แลนด์ถูกยึดครองโดยสหรัฐอเมริกา ยูโกสลาเวียถูกผนวกเข้ากับประเทศต่าง ๆ ที่เป็นฝ่ายนิยมอักษะ
กองทัพเยอรมันแย่งเลนินกราดออกจากส่วนที่เหลือของสหภาพโซเวียต อังกฤษและสหภาพโซเวียตลงนามในข้อตกลงป้องกันร่วมกันโดยให้สัตยาบันว่าจะไม่ลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพแยกต่างหากกับเยอรมนี
กองทัพแพนเซอร์ยึดเมือมินสก์ และเปิดทางไปสู่ยูเครน กองทัพแดงโจมตีโต้แถบเลนอนกราด
สิงหาคม ทหารโซเวียตถุกลอมโดยทหารเยอรมันและจับเชลยศึกได้กว่า สามแสนนายเมืองโอเรลถูกยึดเยอรมนียึดเมืองสโมเลนสก์ฮิตเลอร์ย้ายกำลังบางส่วนจากกองทัพกลุ่มกลางไปช่วยกองทัพกลุ่มเหนือและกองทัพกลุ่มใต้ กองทัพเยอรมันเคล่อประชิดนครเลนินกราด ประชาชนรีบสร้างเครื่องกีดขวางข้าศึก เครื่องอินิมาถูกยุด
กันยายน ทัพฟินแลนด์เข้าช่วยเลนินกราดถูกตัอขาดจากโลกภายนอก การปิดล้อมเลนินกราดเริ่มต้นขึ้น ทัพเพยอมันล้อมกรุงเคียฟ ..ยึดกรุงเคียฟ สหภาพโซเยตสูญเสียทหารจำนวนมากในกรปอ้งกัน
ตุลาคม ปฏิบัติการไต้ฝุ่น กองทัพกลุ่มกลางของเยอมนีเริ่มการโจมตีกรุงมสโกเต็มขั้น จอจี้ร์ ซูคอฟเป็นผู้บัชาการกองทัพโซเวียตป้องกันมอสโก ทางใต้กองทัพเยอรมันรุกไปถึงทะเลอซอฟและยึดเมืองมาริอูพอล รัฐบาลโซเวียตย้ายไปยังเมืองคุยบีเซฟ ริ่มฝั่งน้ำโวลกา แต่สตาลินยังอยุ่ในมอสโก ส่วประชาชนเตรียมกับดักรถถังเพื่อรับมือกับกองทัพเยอรมัน กองกำลังเสริมกองทัพแดงจากฤซบีเรียเดินทางถึงกรุงมอสโก มอสโกประกาศกฎอัยการศึก รอสสตอฟ อดน วอน ถูกยึดครองกองทัพกลุ่มใต้เคลื่อทัพไปถึงเมืองซาเวสโตปอล ในคาบสมุทรไครเมียแต่ไม่มีรถถังในการบุก โรสเวลต์อนุมัติเงินกว่า พันล้านดอลล่าร์ตามนโยบายใหเช้ายืมแก่โซเวียต
พฤศจิกายน
เยอรมันยึดเมืองเคิร์สก์ สตาลินกล่าวปราศรัยต่อประชาชนโซเวียตเป็นครั้งที่สองระหว่างการปกครองนสามทศวรรษ
ยุทธการมอสโก อุณหภูมิใกล้มอสโกลต่ำลงถึง ลบสิบสององศาเซลเซียสทหารสกีถูกส่งออกไปโจมตีเยอรมัน
ธันวาคม ทัพเยอรมันอยู่ห่างจากมอสโก 11 ไมล์กองทัพโซเวียตตีโต้ในช่วงทีเกิดพายุหิมะครั้งใหญ่สหราชอาณาจักรประกาศสางครามกับฟินแลนด์
การรุกมอสโกฟยุดชะงักอย่างสมบูรณ์
มกราคม 42
กองทัพแดงเริ่มรุกคืบครั้งใหญ่ภายใต้การนำของนายพลจอจีร์ จูคอฟ ฮิตเลอร์ปราศรัยที่เบอร์ลิน เกียวกับการทำลายล้างชาวยิว และแจ้งว่าความล้มเหลวในการบุกโซเวียตเนื่องจากสภาพอากาศไม่ดี เยอรมันถอนทัพจากแนวรบตะวันออกหลายจุด
กุมภาพันธุ์
กองทัพเยอรมันในสหภาพโซเวียตถูกขับออกจากเคิร์สค์ ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในแผนการของเยอรมัน
มีนาคม
การรุของกองทัพแดงในคาบสมุราไครเมียเริ่มต้นขึ้น
เมษายน
กองทัพเยอรมนเริ่มการบุกในคาบสมุทรไครเมีย
พฤษภาคม กองทัพโซเวียตเริ่มการโจมตีครั้งใหญ่ทีเมืองคาร์คอฟ มีการตกลงระหว่าง อังกฤษ-โซเวียต กองทัพเยอรมันได้รับชัยชนะทีเมืองคาร์คอฟ
มิถุนายน
กองทัพเยอรมันมุ่งนห้าไปยังเมืองรอสตอฟ ปฏิบัติการสีน้ำเงินเริ่มต้นขึ้น โดยมี่เป้าหมายที่จะยึดครองสตาลินกราดและเทือกเขาคอเคซัส
กรกฎาคม
กองทัพเยอรมันสามารถยึดเมืองซาเวสโตปอลได้สำเร็จเป็นการยุติการรบต้านทานของทหารโซเวียตในคาบสมุทรไครเมีย กองทัพเยอรมันยึดเมืองรอสตอฟ ดอน วอน กองทัพโซเวียตล่าถอยไปตามแม่น้ำดอน
สิงหาคม
จอมพล เกออร์กี จูคอฟ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการการป้องกันในนครสตาลินกราด สตาลินกราดถูกทิ้งระเบิดอย่างหนักจากกองทัพอากาศเยอรมัน ลักเซมเบิร์กถูกผนวดเข้ากับเยอรมนีเอย่างเป็นทางการ
กันยายน
สตาลินถูกปิดล้อม นายพล วาซิลี ซุยคอฟได้รับแต่งตั้งให้บัญชากากรการป้องกันเมือง กองทัพเยอรมันบางส่วนถูกผลักดันออกไป ทหารโซเวียตส่งกำลังข้ามแม่น้ำโวลก้าในยามค่ำคืน
ตุลาคม
การรุกของกองทัพเยอรมันในสตาลินกราดหยุดชะงัก
พฤศจิกายน
กองทัพโซเวียตภายใต้การบัญชาการของจอมพล เกออร์กี จูคอฟ เร่มต้น ปฏิบัติการยูเรนัสโดยมีเป้าหมายเพื่อโอบล้อมกองทัพเยอรมันในสตาลินกราด กองทัพเยอรมัถูกปิดล้อมที่นครสตาลินกราด ฮิตเลอร์สั่งให้นายพลพอลลัสห้ามถอยออกจากนคร…
จากความพ่ายแพ้ที่สตาลินกราดทำให้เเนวรบรุสเซียเปลี่ยนแปลงไปจากครั้งปฏิบัติการบาร์บารอสซากองทัพรุสเซียล้ำเข้ามาในแดนเยอรมัน ซึ่งฮิตเลอร์ต้องการกำจัดและเป็นที่มาของ ปฏิบัติ ซิทาเดล และการปะทะที่เคิสก์ซึ่งหลายคนกล่าวว่าเป็นการปะทะกันทางรถถังที่ใหญ๋ที่สุด และเป็นชุดปฏิบัติที่มีราคาเเพงที่สุดภายในวันเดียว ฮิตเลอร์ต้องการจะเปลี่ยนโฉมหน้าการรบทางด้านตะวันออกอย่างสิ้นเชิง จึงระดมกำลังกว่าเก้าแสนนาย ฝ่ายรัสเซียหนึ่งล้านเจ็ดแสนกว่านาย การปะทะกันได้รับความสูญเสียอย่างหนักทั้งสองฝ่ายในขณะที่ฝ่ายรัสเซียมีกำลังสนับสนุนและพร้อมที่จะทำการรบอีกมหาศาล โดยที่เยอรมันยากจะหากำลังทดแทนที่สูญเสียไป ชัยชนะจึงตกเป็นของรัสเซีย
จากการที่ชนะเยอรมันได้เด็ดขาดรัสเซียจึงสามารถริเริ่มการปฏิบัติการในเชิ่งรุกซึ่งเป็นเวลาของรัสเซียในช่วงสงครามที่เหลืออยู่
วันอังคารที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Kursk
กองทัพเยอรมันสูญเสียอย่างหนัก และกองพลที่ 6 ในสตาลินกราดถูกบีบให้ยอมจำนนแนวรบด้านตะวันออกถูกผลักดันไปยังบริเวณก่อนการรุกในฤดูร้อน การตีโต้ของโซเวียตหยุดชะงัก กองทัพเยอรมันโจมีตีอาร์คอฟอีกครั้งเกิดเป็นแนวรบที่ยื่นเข้าไปในดินแดนของโซเวียตรอบเคิสก์
กองกำลังเยอรมันและโซเวียตเผชิญหน้ากันในแนวรบด้านตะวันออก บริเวณย่านชานนครเคิสก์ ห่างจากกรุงมอสโกไปทางใต้ ซึ่งเป็นชุดปฏิบัติการสงครามยานเกราะที่ใหญ่ที่สุด รวมถึงยุทธการโปรโฮรอฟกา และการสงครามทางอากาศวันเดียวราคาแพงที่สุดในประวัติศาสตร์ เป็นยุทธการครั้งสุดท้ายของเยอรมันที่ดำเนินการในยุทธภูมิด้านตะวันออก ชัยชนะที่เด็ดขาดของโซเวียตเป็นผลให้กองทัพแดงมีการริเริ่มทางยุทธศาสตร์ในช่วงที่เหลือของสงคราม
- เยอรมัน
เนื่องจากความพ่ายแพ้ในสมรภูมิสตาลินกราดแนวรบด้านรัสเซียจึงเปลี่ยนแปลงไปมากนับจากเริ่มปฏิบัติการบาร์บารอสซา จึงมีการวางแผนการรุกครั้งใหญ่ที่เคิสก์
ฮิตเลอร์ต้องการจะทำลายกองทัพรัสเซียในบริเวณส่วนที่ยื่นเข้ามา จึงวางยุทธการ ซิทาเดล Citadel เพื่อโจมตีกองทัพรัสเซีย ด้วยกำลังจำนวนมาก Salient หรือส่วนของกองทัพรัสเซียที่ยื่นเข้าในเขตเยอรมัน ซึ่งฮิตเลอร์ต้องการทำลายกองทัที่อยู่ในส่วนนี้ให้หมดไป ด้วยการให้กองทัพเยอรมันที่อยูด้านบนตีลงมา และกองทัพเยอรมันที่อยู่ด้านล่างตีขึนไปแล้วบรรจบกัน ซึ่งประสบผลสำเร็จ ทหารรัสเซียส่วนที่ยื่นเข้ามา จะถูกตัดขาดและถูกโอบล้อม อย่างไรก็ดี นายพลเยอรมัน เห็นว่า เยอรมันยังไม่พร้อมที่จะทำการรุดใดๆ ในขณะนั้น แต่ฮิตเลอร์ยังคงยืนกรานที่จะเปิดยุทะการซิทาเดล ฮิตเลอร์หวังว่า การรบครั้งนี้จะเปลียนแปลงสงครามทางด้านตะวันออกได้อย่งสิ้นเชองอีกทั้งจะเป็นการหยุดการรุกคืบของรัสเซียเข้ามาดินแดนเยอรมัน
ทางฝ่ายเยอรมันประกอบด้วยทหาร กว่า 900,000 นาย รถถังกว่า 2,700 คัน ปืนใหญ่อีกกว่า 10,000 กระบอก ความเคลื่อนไหวครั้งนี้ล่วงรู้ถึงฝ่ายรัสเซีย
รัสเซียจึงเตรียมกำลังพลกว่า 1,700,000 นาย รถถังกว่า 3,300 คัน ปืนใหญ่อีกกว่า 20,000 กระบอกและเครื่องบินอีกกว่า 2,000 ลำ กับระเบิดกว่าครึ้งล้านลูก พร้อมด้วยแนวรบ 6 ชั้น ประกองด้วยสนามเพลาะ แนวทุ่นระเบิด คูดักรถถัง โดยเมื่อแนวแรกถูกทำลาย กำลังพลจากแนวแรกจะถอยไปสมทบกับแนวที่สอง ระหว่างที่เยอรมันเคลื่อนที่จากแนวแรกไปแนวสอง จะพบกับการระดมยิงด้วยปืนใหญ่อย่างหนัก เมือถึงแนวที่สอง ทหารเยอรมันจะเริ่มบอบช้ำ ในขณะที่ทหารรัสเซียจะมีกำลังพลจากแนวแรกมาเพ่มจะยิ่งแข็งแกร่งขึ้น สรุปก็คือ ยิ่งรุกก็จะทำให้กำลังอ่อกล้า ในขณะที่การตั้งรับจะเข้มแข็งขึ้น
การจัดรูปขบวนรถถังของเยอรมันเป็น 2 รูปแบบ แบบแรกใช้ แพนเซอร์ 6-Tiger เป็นกำลังหลักอยูตรงกลาง ของรูปขบวน มีแพนเซอร์ 5 แพนเทอร์ อยู่ที่ปีกทั้งสองข้าง รูปแบบที่สอง แพนเซอร์ 4 แพนเทอร์ เป็นกำลังหลักอยูส่วนกลางของรูปขบวน และ แพนเซอร์ 3 แพนเซอร์ 4 เป็นกำลังส่วนปีกทั้งสอง ซึ่งเป็นรูปขบวนที่ทรงประสิทธิภาพมาก อำนาจการยิงอยู่ตรงกลาง เหมาะกับการเจาะแนวตั้งรับของรัสเซีย รถถังมีวามเร็วอยู่ปีก พร้อมจะโอบล้อม เข้าตีตลบ แลพทำลายกำลังที่ถูกโอบล้อม
ข้อบกพร่องคือ แพนเซอร์ 5 แพนเทอร์ ทีเครื่องยนต์ที่วางใจไม่ได้ เพราะเพิ่งออกจากโรงงาน การตรวจสอบไม่เพียงพอ และ แพนเซอร์ 6 ไทเกอร์ ช้าเกินไปในสมรภุมิที่เป็นทุ่งโล่ง ปกคลุ่มด้วยทุ่งหญ้าและไร้ข่าวโพด ในสมรภูมิ เคิสก์แนวรับรัสเซียสามารถมองเห็นรถถังเยอรมันได้ในระยะไกล
ในการรุกของเยอรมัน ในวันที่ 5 มิถุนา รัสเซียสืบรู้ความเคลื่อนไหวของเยอรมัน จึงเตรียมการต้อนรับด้วยระดมยิงด้วยปืนใหญ่ เพื่อทำลายการเตรียมเข้าตี กำลังพลเยอมรันเกิดการสับสนอย่างหนัก แตก็สามารถปรับกำลังได้อย่างรวดเร็วและทำการรุกไปข้างหน้า ทุ่นระเบิดทำความเสียหายให้แก่กองรถถังเยอรมันเป็นอย่างมาก
SS ที่ 3 เป็นกองพลที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด สามารถรุกคืบไปได้ มากแต่ก็สูญเสียอย่งหนัก เอส เอสที่ 1 และ 2 เสียหายอย่างหนักและรุกคืบหน้าได้ไม่มาก ทหารยานเกราะ เอส เอส ทำการรบอย่างห้าวหาญ ในที่สุดกำลังยานเกราะของทั้งสองฝ่ายก็พบกันที่เมือง Prokhorvka และเริ่มทำการรบกันอย่างหนักหน่วง แลยคนเชื่อว่าการรบนี้เป็นการรบทางรถถังที่ใหญ่ที่สุดในโลกนับแต่มีการต่อสู้ด้วยรถถังมา ความสูญเสียของทั้งสองฝ่ายเสียหายหนักทั้งคู่
แต่เมื่อการรบยืดยาวออกไปรัสเซียก็ทุ่มเทกำลังทั้งหมดในการต่อต้านเยอรมัน ในวันแรก เอส เอสรุกได้ไม่มากนัก 13 มิถุนายน ฮิตเลอร์สั่งยกเลิกยุทธการ Citadel เนื่องมาจากความสูญเสียที่เพื่มมากขึ้นของเยอรมัน ผู้เสียชีวิต กว่า แสนคน โดยฝ่ายรัสเซีย กว่า 250,000 คน และบาดเจ็บกว่า 600,000 คนรถถังรัสเซียกว่าครึ่งที่เข้าร่วมสงครามถูกทำลาย การสูญเสียของเยอรมันยากที่จะหากำลังทดแทนได้ ซึ่งต่างจากรัสเซียที่พร้อมและเตรียมกำลังจะมาเสริมอีกมหาศาล
กองกำลังเยอรมันและโซเวียตเผชิญหน้ากันในแนวรบด้านตะวันออก บริเวณย่านชานนครเคิสก์ ห่างจากกรุงมอสโกไปทางใต้ ซึ่งเป็นชุดปฏิบัติการสงครามยานเกราะที่ใหญ่ที่สุด รวมถึงยุทธการโปรโฮรอฟกา และการสงครามทางอากาศวันเดียวราคาแพงที่สุดในประวัติศาสตร์ เป็นยุทธการครั้งสุดท้ายของเยอรมันที่ดำเนินการในยุทธภูมิด้านตะวันออก ชัยชนะที่เด็ดขาดของโซเวียตเป็นผลให้กองทัพแดงมีการริเริ่มทางยุทธศาสตร์ในช่วงที่เหลือของสงคราม
- เยอรมัน
เนื่องจากความพ่ายแพ้ในสมรภูมิสตาลินกราดแนวรบด้านรัสเซียจึงเปลี่ยนแปลงไปมากนับจากเริ่มปฏิบัติการบาร์บารอสซา จึงมีการวางแผนการรุกครั้งใหญ่ที่เคิสก์
ฮิตเลอร์ต้องการจะทำลายกองทัพรัสเซียในบริเวณส่วนที่ยื่นเข้ามา จึงวางยุทธการ ซิทาเดล Citadel เพื่อโจมตีกองทัพรัสเซีย ด้วยกำลังจำนวนมาก Salient หรือส่วนของกองทัพรัสเซียที่ยื่นเข้าในเขตเยอรมัน ซึ่งฮิตเลอร์ต้องการทำลายกองทัที่อยู่ในส่วนนี้ให้หมดไป ด้วยการให้กองทัพเยอรมันที่อยูด้านบนตีลงมา และกองทัพเยอรมันที่อยู่ด้านล่างตีขึนไปแล้วบรรจบกัน ซึ่งประสบผลสำเร็จ ทหารรัสเซียส่วนที่ยื่นเข้ามา จะถูกตัดขาดและถูกโอบล้อม อย่างไรก็ดี นายพลเยอรมัน เห็นว่า เยอรมันยังไม่พร้อมที่จะทำการรุดใดๆ ในขณะนั้น แต่ฮิตเลอร์ยังคงยืนกรานที่จะเปิดยุทะการซิทาเดล ฮิตเลอร์หวังว่า การรบครั้งนี้จะเปลียนแปลงสงครามทางด้านตะวันออกได้อย่งสิ้นเชองอีกทั้งจะเป็นการหยุดการรุกคืบของรัสเซียเข้ามาดินแดนเยอรมัน
ทางฝ่ายเยอรมันประกอบด้วยทหาร กว่า 900,000 นาย รถถังกว่า 2,700 คัน ปืนใหญ่อีกกว่า 10,000 กระบอก ความเคลื่อนไหวครั้งนี้ล่วงรู้ถึงฝ่ายรัสเซีย
รัสเซียจึงเตรียมกำลังพลกว่า 1,700,000 นาย รถถังกว่า 3,300 คัน ปืนใหญ่อีกกว่า 20,000 กระบอกและเครื่องบินอีกกว่า 2,000 ลำ กับระเบิดกว่าครึ้งล้านลูก พร้อมด้วยแนวรบ 6 ชั้น ประกองด้วยสนามเพลาะ แนวทุ่นระเบิด คูดักรถถัง โดยเมื่อแนวแรกถูกทำลาย กำลังพลจากแนวแรกจะถอยไปสมทบกับแนวที่สอง ระหว่างที่เยอรมันเคลื่อนที่จากแนวแรกไปแนวสอง จะพบกับการระดมยิงด้วยปืนใหญ่อย่างหนัก เมือถึงแนวที่สอง ทหารเยอรมันจะเริ่มบอบช้ำ ในขณะที่ทหารรัสเซียจะมีกำลังพลจากแนวแรกมาเพ่มจะยิ่งแข็งแกร่งขึ้น สรุปก็คือ ยิ่งรุกก็จะทำให้กำลังอ่อกล้า ในขณะที่การตั้งรับจะเข้มแข็งขึ้น
การจัดรูปขบวนรถถังของเยอรมันเป็น 2 รูปแบบ แบบแรกใช้ แพนเซอร์ 6-Tiger เป็นกำลังหลักอยูตรงกลาง ของรูปขบวน มีแพนเซอร์ 5 แพนเทอร์ อยู่ที่ปีกทั้งสองข้าง รูปแบบที่สอง แพนเซอร์ 4 แพนเทอร์ เป็นกำลังหลักอยูส่วนกลางของรูปขบวน และ แพนเซอร์ 3 แพนเซอร์ 4 เป็นกำลังส่วนปีกทั้งสอง ซึ่งเป็นรูปขบวนที่ทรงประสิทธิภาพมาก อำนาจการยิงอยู่ตรงกลาง เหมาะกับการเจาะแนวตั้งรับของรัสเซีย รถถังมีวามเร็วอยู่ปีก พร้อมจะโอบล้อม เข้าตีตลบ แลพทำลายกำลังที่ถูกโอบล้อม
ข้อบกพร่องคือ แพนเซอร์ 5 แพนเทอร์ ทีเครื่องยนต์ที่วางใจไม่ได้ เพราะเพิ่งออกจากโรงงาน การตรวจสอบไม่เพียงพอ และ แพนเซอร์ 6 ไทเกอร์ ช้าเกินไปในสมรภุมิที่เป็นทุ่งโล่ง ปกคลุ่มด้วยทุ่งหญ้าและไร้ข่าวโพด ในสมรภูมิ เคิสก์แนวรับรัสเซียสามารถมองเห็นรถถังเยอรมันได้ในระยะไกล
ในการรุกของเยอรมัน ในวันที่ 5 มิถุนา รัสเซียสืบรู้ความเคลื่อนไหวของเยอรมัน จึงเตรียมการต้อนรับด้วยระดมยิงด้วยปืนใหญ่ เพื่อทำลายการเตรียมเข้าตี กำลังพลเยอมรันเกิดการสับสนอย่างหนัก แตก็สามารถปรับกำลังได้อย่างรวดเร็วและทำการรุกไปข้างหน้า ทุ่นระเบิดทำความเสียหายให้แก่กองรถถังเยอรมันเป็นอย่างมาก
SS ที่ 3 เป็นกองพลที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด สามารถรุกคืบไปได้ มากแต่ก็สูญเสียอย่งหนัก เอส เอสที่ 1 และ 2 เสียหายอย่างหนักและรุกคืบหน้าได้ไม่มาก ทหารยานเกราะ เอส เอส ทำการรบอย่างห้าวหาญ ในที่สุดกำลังยานเกราะของทั้งสองฝ่ายก็พบกันที่เมือง Prokhorvka และเริ่มทำการรบกันอย่างหนักหน่วง แลยคนเชื่อว่าการรบนี้เป็นการรบทางรถถังที่ใหญ่ที่สุดในโลกนับแต่มีการต่อสู้ด้วยรถถังมา ความสูญเสียของทั้งสองฝ่ายเสียหายหนักทั้งคู่
แต่เมื่อการรบยืดยาวออกไปรัสเซียก็ทุ่มเทกำลังทั้งหมดในการต่อต้านเยอรมัน ในวันแรก เอส เอสรุกได้ไม่มากนัก 13 มิถุนายน ฮิตเลอร์สั่งยกเลิกยุทธการ Citadel เนื่องมาจากความสูญเสียที่เพื่มมากขึ้นของเยอรมัน ผู้เสียชีวิต กว่า แสนคน โดยฝ่ายรัสเซีย กว่า 250,000 คน และบาดเจ็บกว่า 600,000 คนรถถังรัสเซียกว่าครึ่งที่เข้าร่วมสงครามถูกทำลาย การสูญเสียของเยอรมันยากที่จะหากำลังทดแทนได้ ซึ่งต่างจากรัสเซียที่พร้อมและเตรียมกำลังจะมาเสริมอีกมหาศาล
วันจันทร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII: North Africa CamPaign
1940
ตุลาคม อิตาลีโจมตีกรีซจากดินแดนยึดครองอัลเบเนีย ฮิตเลอร์โกรธมากในการเริ่มต้นสงครามครั้งนี้
- พฤจิกายน กองทัพกรีซโจมตีครั้งใหญ่ตามแนวชายแดนอัลเบเนีย
- ธันวา ปฏิบัติการเข็มทิศ ทหารอังกฤษและอินเดียเริ่มการโจมตีกองทัพอิตาลีในอียิปต์กองทัพอิตาลีถูกบังคับให้ล่าถอยไปยังลิเบีย กองทัพอิตาลีล่าถอยจากกรีซไปยังอัลเบเนีย ทหารกรีซเริ่มการโจมตีอัลเอบเนีย กองทัพอังกฤษเริ่มทำการรบในลิเบีย ระหว่างสงครามอิตาลี –กรีซ ทหารกรีซยึดครองอับเบเนียได้หนึ่งในสี่ของดินแดนทั้งหมดอิตาลีเรียร้องกำลังสนับสนุนจากเยอรนี
1941
- มกราคม กองทัพเครือจักรภพอยู่ห่างจากโทรบรุค 70 ไมล์ภายหลังจากการรุกในปฏิบัติการเข็มทิส กองทัพเครือจักรภพสามารถยึดสนามบินใกล้กับเมืองโทรบรุค กองพลอินเดียที่ 4 และ 5 โจมตีเอธิโอเปียภายใต้การขึดครองของอิตาลีจากซูดาน ฮิตเลอร์ยอมส่งกำลังสนับสนุนมาช่วยเหลือกองทัพอิตาลีในแอฟริกาเหนือ โทรบรุคถูกกองทัพเครือจักรภพตีแตก กองทัพอังกฤษยึดเมืองเดอร์นา ห่างไปทางตะวันตกของโรบรุค 100 ไมล์
- กุมภาพันธุ์ เออร์วิน รอมเมล ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บญชาการกองทัพเยอืรมนในแอฟริกาเหนือ หลังจากการสู้รบอยางหนักเป็นเวลาหลายวันกองทัพน้อยที่ 13 แห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งขึ้นตรงกับกองกำลังทะเลทรายตะวันตก ได้ทำลายกองทัพที่ 10 แห่งอิตาลี ได้ระหวางยุทธการแห่งบีดา ฟอมม์ ทหารอังกฤษสามารถจับกุมเชบยศึกได้กว่า หนึ่งแสนสามหมื่นนาย นายพลรอมเมลเดินทางถึงทริโปลี ประเทศลิเบีย กองทัพอังกฤษรุกเข้าดซมาลิแลนด์อาณานิคมของอิตาลีในแอฟริกาเหนือและเคลื่อนทัพไปทางทิศตะวันออก กองทัพอังกฤษอ่อนแอเนื่องจากได้ส่งกองกำลังบางส่วนไปสนับสนุนการรบในกรีซ กองทัพอังกฤษสามารถยึดโมกาดิชูเมืองหลวงของโซมาลิแลนด์ได้สำเร็จ
- มีนาคม การรุของอิตาลีตามแนวรบอัลเบเนียเริ่มต้นขึ้น กองทัพอตาลีและกองทัพอังกฤษปะทะกันในเอริเตรีย กองกำลังแพนเซือร์ของเยรมนีมาถึงแอฟริกาเหนือกองทัพเยอรมันเริ่มการบุกโดยใช้ยาเกราะ การรุกของอิตาลีในอัลเบเนียยุติลงด้วยความสูญเสียมหาศาลและไม่อาจเปลี่ยนโฉมหน้าของการรบได้
- เมษายนกองทัพอิตาลีพ่ายแพ้ในแอดดิส อะบาบา ประเทศเอธิโอเปีย กองทัพเยอรมันเริ่มการปิดล้อมเมืองทาโทรบรุคกองทัพเยอรมันอีกส่วนหนึ่งเคลื่อทัพไปยึดค่ายคาพุสโซและ..ประชิดชายแดอียิปต์ การโจมตีเมืองโทรบรุคของกองทัพเยอรมันล้มเหลว รับบาลกรซหลบหนีไปยังเกาะครีต กองทัพอังกฤษและออสเตรเลียอพยพจากกรีซมายังเกาะครีตและอียอปต์ นายพลรอมเมลได้รับชัยชนะครั้งใหญ่ที่ช่องเขาฮิลฟายทางผ่านไปสู่ชายแดนอียิปต์ นายพลรอมเมลโจมตีแนวป้องกันกาซาลา กรุงเอเธนส์ถูกยึดครองโดยกองทัพเยอรมัน กรีซยอมจำนน
- พฤษภาคม กองทัพอิตาลีและกองทัพอังกฤษปะทะกันในเอธิโอเปีย กองทัพเยอรมันภายใต้การบัญชากากรของนายพลรอมเมลพ่ายแพ้หลังถูกโจมตีโต้ “ปฏิบัติกาเบรวิตี”ที่ช่องเขาฮิลฟายา ทั้งสองฝ่ายผลัดเปลี่ยนกันยึดครองค่ายคาพุสโซ่และช่องเขาฮิลฟายา พลร่มเยอรมันถูส่งไปยังเกาะครีตในยุทธการเกาะครีต รัฐบาลกรีซหลบหนีไปอียอปต์ กองทัพอังกฤและเครื่อจักรภพอยพยออกจากเกาะครีต การโจมตีโต้กลับของอังกฤษ “ปฏิบัติการเบรวิตี”ล้าเหลว
- มิถุนายน กองทัพเครื่อจักรภพอพยพออกจากเกาะครีตสำเร็จ ป
- ตุลาคม เกิดการรบครั้งใหญ่ในลิเบีย รอมเมลพยายามต่อต้าน “ปฏิบัติการนักรบศักดิ์สิทธิ์”ใกล้กับเมืองโทรบรุค กองทัพอิตาลีกองสุดท้ายยอมจำนนในเอธิโอเปีย
- พฤศจิกายน “ปฏิบัติการนักรบศักดิ์สิทธิ์ กองทัพอังกฤษเคลื่อนทัพข้ามลิเบียและสามารถปลดปล่อยการปิดล้อมโทรบรุคได้ชั่วคราว กองทัพเยรมันรุกเข้าไปในอียิปต์เป็นระยะทางกว่า 15 กิโลเมตร
1942
- กุมพาพันธ์ กองทัพเยรมันภายใต้การบัญชาการของนายพลรอมเมลยึดเมืองเอล กาซาลาที่ชายแดลิเบีย
- มิถุนายน กองทัพเยอรมันขับไล่กองทัพสัมพนธมิตรออกจากแนวกาซาลา กองทัพเยอรมันสามารถยึดเมืองโทรบรุคืนได้ กองทัพอังกฤษล่าถอยไปยังอียิปต์ด้วยขวัญกำลังใจที่ตกต่ำ กองทัพอังกฤษล่าถอยไปยังเมือง เอลอาลาเมน ซึ่งอยู่ห่างจากนครอเล็กซานเดรีย 60 ไมล์เพื่อเตรียมตัวต่อสู่ครั้งสุดท้าย กองทัพเยอรมันเคลื่อนทัพมาถึงอล อาลาเมน
- กรกฎาคม ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่งเริ่มต้นขึ้นเมืองนายพลรอมเมลเริ่มการโจมตีแนวตั้งรับของอังกฤษเป็นครั้งแรก กองทัพเยอรมันหยุดชะงักที่เอล อาลาเมน เนื่องจากขาดแคลนเครื่องกระสุน
- สิงหาคม ยุทธการแห่งเอว ฮิลฟา ไม่ไกลจากเอล อาลาเมนเกิดขั้น เป็นความพยายามที่จะเจาะทะลุแนวป้องกันของอังกฤษ
- กันยายน นายพลรอมเมลถูกส่งกลับเยอรมนีเพื่อรักษาตัว
- ตุลาคม ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้น ฝ่ายสัมพันธมิตรทิ้งระเบิดที่ตั้งของกองทัพเยอรมันอ่างหนัก นายพลรอมมลถูกส่งตัวกลับไปบัญชากากรบที่เอล อาลาเมน แม้ว่าจะยังไม่หายจากอาการเจ็บป่วย ยานเกราะฝ่ายสัมพันธิตรเจาฝ่านแนวตั้งรับของเยรมนี ทุ่งระเบิดไม่ประสบผลในสำเร็จ
- พฤศจิกายน ฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มตีออกจากเอง อาลาเมนกองทัพเยอรมันล่าถอยจาเอล อาลาเมนในยามค่ำคืน ปฏิบัติการคบเพลิง ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่อัลจีเรียและโมร็อกโก พลโทมอนโกเมอรรีเริ่มต้นการบุกที่โซลลุมตามแนวชายแดนลิเบีย - อียิปต์เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นอัศวินและเลื่อยศขึ้นเป็นพลเอก กองทัพที่แปดแห่งสหราชอาณาจักรปลดปล่อยนครโทรบรุค กองทัพอังกฤษมุ่งหน้าไปตูนีเซียต่อ
1943
- มกราคม ทัพอังกฤษเริ่มต้นการรุกรามทริโปลีทัพสัมพันธิมิตรยึดทริโปลี ในลิเบียไว้ได้
- กุมภาพันธ์ รอมเมลถอนทัพออกไปทางตูนีเซีย และเร่มสร้างแนวป้องกันใหม่กองทัพสัมพันธมิตรเคลื่อพลไปตูนิเซียเป็นแรกภายในเวลา 2 วัน สัมพันธมิตรยึดครองลิเบียไดว้ได้โดยสมบูรณ์ รอมเมลถอนกำลังกลบขึ้นไปทางเหนือจากแนวป้องกันในตูนิเซีย
แอตแลนติกจึงกลายเป็นสมรภูมิที่เยอรมันและอังกฤษต่อสู้กับเพื่อแย่งชิงเส้นทางเดินเรือในมหาสมุทรแอตแลนติกเพื่อกีดกันการลำเลียงเสบียงและกำลังเสริมซึ่งเป็นสมรภูมิทั้งกองทัพเรือและกองทัพอากาศ ตลอดช่วงเวลาตั้งแต่ ปี 1940-1943 อย่างไรก็ตามเส้นทางเดินเรือดังกล่าวได้รับการคุ้มครองโดยกองทัพของประเทศอังกฤษและแคนาดา
เยอรมันพ่ายแพ้ที่ตูนิเซียเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้นำสัมพันธมิตร ในการบุกแผนดินใหญ่ภาคพื้นยุโรป “การประชุมที่คาซาบลังก้า” เป็นจุดเริ่มต้นของแผนการบุกชิชิลี
“ปฏิบัติการมินซ์มีท”เป็นการหลอกล่อเยอรมันว่าจะยกทัพไปเกาะครีต หรือที่ที่ไม่ใช่ชิชิลี อิตาลีถูกเชอร์ชิลเรียกว่า “จุดอ่อนแห่งยุโรป”ซึ่งเป็นเป้าหมายต่อไปในการบุกฝ่ายอักษะ
ตุลาคม อิตาลีโจมตีกรีซจากดินแดนยึดครองอัลเบเนีย ฮิตเลอร์โกรธมากในการเริ่มต้นสงครามครั้งนี้
- พฤจิกายน กองทัพกรีซโจมตีครั้งใหญ่ตามแนวชายแดนอัลเบเนีย
- ธันวา ปฏิบัติการเข็มทิศ ทหารอังกฤษและอินเดียเริ่มการโจมตีกองทัพอิตาลีในอียิปต์กองทัพอิตาลีถูกบังคับให้ล่าถอยไปยังลิเบีย กองทัพอิตาลีล่าถอยจากกรีซไปยังอัลเบเนีย ทหารกรีซเริ่มการโจมตีอัลเอบเนีย กองทัพอังกฤษเริ่มทำการรบในลิเบีย ระหว่างสงครามอิตาลี –กรีซ ทหารกรีซยึดครองอับเบเนียได้หนึ่งในสี่ของดินแดนทั้งหมดอิตาลีเรียร้องกำลังสนับสนุนจากเยอรนี
1941
- มกราคม กองทัพเครือจักรภพอยู่ห่างจากโทรบรุค 70 ไมล์ภายหลังจากการรุกในปฏิบัติการเข็มทิส กองทัพเครือจักรภพสามารถยึดสนามบินใกล้กับเมืองโทรบรุค กองพลอินเดียที่ 4 และ 5 โจมตีเอธิโอเปียภายใต้การขึดครองของอิตาลีจากซูดาน ฮิตเลอร์ยอมส่งกำลังสนับสนุนมาช่วยเหลือกองทัพอิตาลีในแอฟริกาเหนือ โทรบรุคถูกกองทัพเครือจักรภพตีแตก กองทัพอังกฤษยึดเมืองเดอร์นา ห่างไปทางตะวันตกของโรบรุค 100 ไมล์
- กุมภาพันธุ์ เออร์วิน รอมเมล ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บญชาการกองทัพเยอืรมนในแอฟริกาเหนือ หลังจากการสู้รบอยางหนักเป็นเวลาหลายวันกองทัพน้อยที่ 13 แห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งขึ้นตรงกับกองกำลังทะเลทรายตะวันตก ได้ทำลายกองทัพที่ 10 แห่งอิตาลี ได้ระหวางยุทธการแห่งบีดา ฟอมม์ ทหารอังกฤษสามารถจับกุมเชบยศึกได้กว่า หนึ่งแสนสามหมื่นนาย นายพลรอมเมลเดินทางถึงทริโปลี ประเทศลิเบีย กองทัพอังกฤษรุกเข้าดซมาลิแลนด์อาณานิคมของอิตาลีในแอฟริกาเหนือและเคลื่อนทัพไปทางทิศตะวันออก กองทัพอังกฤษอ่อนแอเนื่องจากได้ส่งกองกำลังบางส่วนไปสนับสนุนการรบในกรีซ กองทัพอังกฤษสามารถยึดโมกาดิชูเมืองหลวงของโซมาลิแลนด์ได้สำเร็จ
- มีนาคม การรุของอิตาลีตามแนวรบอัลเบเนียเริ่มต้นขึ้น กองทัพอตาลีและกองทัพอังกฤษปะทะกันในเอริเตรีย กองกำลังแพนเซือร์ของเยรมนีมาถึงแอฟริกาเหนือกองทัพเยอรมันเริ่มการบุกโดยใช้ยาเกราะ การรุกของอิตาลีในอัลเบเนียยุติลงด้วยความสูญเสียมหาศาลและไม่อาจเปลี่ยนโฉมหน้าของการรบได้
- เมษายนกองทัพอิตาลีพ่ายแพ้ในแอดดิส อะบาบา ประเทศเอธิโอเปีย กองทัพเยอรมันเริ่มการปิดล้อมเมืองทาโทรบรุคกองทัพเยอรมันอีกส่วนหนึ่งเคลื่อทัพไปยึดค่ายคาพุสโซและ..ประชิดชายแดอียิปต์ การโจมตีเมืองโทรบรุคของกองทัพเยอรมันล้มเหลว รับบาลกรซหลบหนีไปยังเกาะครีต กองทัพอังกฤษและออสเตรเลียอพยพจากกรีซมายังเกาะครีตและอียอปต์ นายพลรอมเมลได้รับชัยชนะครั้งใหญ่ที่ช่องเขาฮิลฟายทางผ่านไปสู่ชายแดนอียิปต์ นายพลรอมเมลโจมตีแนวป้องกันกาซาลา กรุงเอเธนส์ถูกยึดครองโดยกองทัพเยอรมัน กรีซยอมจำนน
- พฤษภาคม กองทัพอิตาลีและกองทัพอังกฤษปะทะกันในเอธิโอเปีย กองทัพเยอรมันภายใต้การบัญชากากรของนายพลรอมเมลพ่ายแพ้หลังถูกโจมตีโต้ “ปฏิบัติกาเบรวิตี”ที่ช่องเขาฮิลฟายา ทั้งสองฝ่ายผลัดเปลี่ยนกันยึดครองค่ายคาพุสโซ่และช่องเขาฮิลฟายา พลร่มเยอรมันถูส่งไปยังเกาะครีตในยุทธการเกาะครีต รัฐบาลกรีซหลบหนีไปอียอปต์ กองทัพอังกฤและเครื่อจักรภพอยพยออกจากเกาะครีต การโจมตีโต้กลับของอังกฤษ “ปฏิบัติการเบรวิตี”ล้าเหลว
- มิถุนายน กองทัพเครื่อจักรภพอพยพออกจากเกาะครีตสำเร็จ ป
- ตุลาคม เกิดการรบครั้งใหญ่ในลิเบีย รอมเมลพยายามต่อต้าน “ปฏิบัติการนักรบศักดิ์สิทธิ์”ใกล้กับเมืองโทรบรุค กองทัพอิตาลีกองสุดท้ายยอมจำนนในเอธิโอเปีย
- พฤศจิกายน “ปฏิบัติการนักรบศักดิ์สิทธิ์ กองทัพอังกฤษเคลื่อนทัพข้ามลิเบียและสามารถปลดปล่อยการปิดล้อมโทรบรุคได้ชั่วคราว กองทัพเยรมันรุกเข้าไปในอียิปต์เป็นระยะทางกว่า 15 กิโลเมตร
1942
- กุมพาพันธ์ กองทัพเยรมันภายใต้การบัญชาการของนายพลรอมเมลยึดเมืองเอล กาซาลาที่ชายแดลิเบีย
- มิถุนายน กองทัพเยอรมันขับไล่กองทัพสัมพนธมิตรออกจากแนวกาซาลา กองทัพเยอรมันสามารถยึดเมืองโทรบรุคืนได้ กองทัพอังกฤษล่าถอยไปยังอียิปต์ด้วยขวัญกำลังใจที่ตกต่ำ กองทัพอังกฤษล่าถอยไปยังเมือง เอลอาลาเมน ซึ่งอยู่ห่างจากนครอเล็กซานเดรีย 60 ไมล์เพื่อเตรียมตัวต่อสู่ครั้งสุดท้าย กองทัพเยอรมันเคลื่อนทัพมาถึงอล อาลาเมน
- กรกฎาคม ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่งเริ่มต้นขึ้นเมืองนายพลรอมเมลเริ่มการโจมตีแนวตั้งรับของอังกฤษเป็นครั้งแรก กองทัพเยอรมันหยุดชะงักที่เอล อาลาเมน เนื่องจากขาดแคลนเครื่องกระสุน
- สิงหาคม ยุทธการแห่งเอว ฮิลฟา ไม่ไกลจากเอล อาลาเมนเกิดขั้น เป็นความพยายามที่จะเจาะทะลุแนวป้องกันของอังกฤษ
- กันยายน นายพลรอมเมลถูกส่งกลับเยอรมนีเพื่อรักษาตัว
- ตุลาคม ยุทธการแห่งเอล อาลาเมนครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้น ฝ่ายสัมพันธมิตรทิ้งระเบิดที่ตั้งของกองทัพเยอรมันอ่างหนัก นายพลรอมมลถูกส่งตัวกลับไปบัญชากากรบที่เอล อาลาเมน แม้ว่าจะยังไม่หายจากอาการเจ็บป่วย ยานเกราะฝ่ายสัมพันธิตรเจาฝ่านแนวตั้งรับของเยรมนี ทุ่งระเบิดไม่ประสบผลในสำเร็จ
- พฤศจิกายน ฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มตีออกจากเอง อาลาเมนกองทัพเยอรมันล่าถอยจาเอล อาลาเมนในยามค่ำคืน ปฏิบัติการคบเพลิง ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่อัลจีเรียและโมร็อกโก พลโทมอนโกเมอรรีเริ่มต้นการบุกที่โซลลุมตามแนวชายแดนลิเบีย - อียิปต์เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นอัศวินและเลื่อยศขึ้นเป็นพลเอก กองทัพที่แปดแห่งสหราชอาณาจักรปลดปล่อยนครโทรบรุค กองทัพอังกฤษมุ่งหน้าไปตูนีเซียต่อ
1943
- มกราคม ทัพอังกฤษเริ่มต้นการรุกรามทริโปลีทัพสัมพันธิมิตรยึดทริโปลี ในลิเบียไว้ได้
- กุมภาพันธ์ รอมเมลถอนทัพออกไปทางตูนีเซีย และเร่มสร้างแนวป้องกันใหม่กองทัพสัมพันธมิตรเคลื่อพลไปตูนิเซียเป็นแรกภายในเวลา 2 วัน สัมพันธมิตรยึดครองลิเบียไดว้ได้โดยสมบูรณ์ รอมเมลถอนกำลังกลบขึ้นไปทางเหนือจากแนวป้องกันในตูนิเซีย
แอตแลนติกจึงกลายเป็นสมรภูมิที่เยอรมันและอังกฤษต่อสู้กับเพื่อแย่งชิงเส้นทางเดินเรือในมหาสมุทรแอตแลนติกเพื่อกีดกันการลำเลียงเสบียงและกำลังเสริมซึ่งเป็นสมรภูมิทั้งกองทัพเรือและกองทัพอากาศ ตลอดช่วงเวลาตั้งแต่ ปี 1940-1943 อย่างไรก็ตามเส้นทางเดินเรือดังกล่าวได้รับการคุ้มครองโดยกองทัพของประเทศอังกฤษและแคนาดา
เยอรมันพ่ายแพ้ที่ตูนิเซียเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้นำสัมพันธมิตร ในการบุกแผนดินใหญ่ภาคพื้นยุโรป “การประชุมที่คาซาบลังก้า” เป็นจุดเริ่มต้นของแผนการบุกชิชิลี
“ปฏิบัติการมินซ์มีท”เป็นการหลอกล่อเยอรมันว่าจะยกทัพไปเกาะครีต หรือที่ที่ไม่ใช่ชิชิลี อิตาลีถูกเชอร์ชิลเรียกว่า “จุดอ่อนแห่งยุโรป”ซึ่งเป็นเป้าหมายต่อไปในการบุกฝ่ายอักษะ
WWII:Guadacanal
พอร์ตมอร์สบี Port Moresby เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของปาปัวนิกินี ตั้งอยู่ริมชายฝั่งอ่าวปาปัว ชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะนิวกินี จากความพ่ายแพ้ในยุทธการมิดเวย์ญี่ปุ่นเสียทรัพยากรไปมาก ญี่ปุ่นเปลี่ยเป้าหมายทำการรบที่บนดินแดนปาปัว เป็นความพยายามอีกครั้งที่จุยึดพอร์ตมอร์บี
สหรัฐฯก็เตรียมตอบโต้หมู่เกาะโซโลมอน โดยเริ่มจากเกาะกัวดัลคาแนล อันเป็นก้าวแรกของการเข้ายึดราบูล ซึ่งเป็นฐานทัพเรือหลัก
ของกองทัพญี่ปุนในเอเซียอาคเนย์
การทัพที่หมู่เกาะโซโลมอนเป็นกาทัพหลักของสงครามแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง การทัพเริ่มต้นเมือญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกและยึดครองดินแดนหลายแห่งในหมู่เกาะโซโลมอนบริเตน และเกาะบังเกนวิล ในดินแดแห่งนิวกินี 6 เดือนแรกของปี 1942 ญี่ปุ่นยึดพื้นที่หลายส่วนและเริ่มสร้างท่าเรือและสนามบิน
หลายแห่งเพื่อใช้ป้องกันแนวด้านข้างของการบุกโจมตีในนิวกินีการสร้างแนวปลอดภัยสำหรับฐานทัพหลักของญี่ปุ่นอยู่ที่ราบูล ในนิวบริเตน และเป็นฐานทัพที่จัดเตรียมเพื่อหยุดเส้นทางลำเลียงเสบียงระหว่งมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
เพื่อปกป้องการสื่อสารและเส้นทางลำเลียงเสบียงในแปซิฟิกใต้ฝ่ายสัมพันธมิตรได้สนับสนุนการรุกตอบโต้ในนิวกินีและโดดเดี่ยวฐานทัพญี่ปุ่นในราบูล และได้โต้กลับญี่ปุ่นในหมู่เกาะโซโลมอนด้วยการยกพลขึ้นบกที่กัวดาลคาแนล ญี่ปุ่นดำเนินการรุกรานพอร์ตมอร์สบี้ตามแผนของตนแต่ในเดือนกรกฏา ญี่ปุ่นต้องหันมาให้ความสำคัญกับการทัพที่กัวดัลคะแนลมากขึ้น และกองทัพญี่ปุ่นในเกาะนิวกินีนั้นได้รับคำสั่งให้ถอนกำลังออกจากพื้นที่เขตพอร์ตมอร์สบีไปยังทางตอนเหนือของเกาะที่ซึ่งกองทัพนี้ต้องเผชิญกับกำลังผสมระหว่าสหรัฐกับออสเตรเลีย กัวดัลคะแนลได้กลายเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญสำหรับทั้งสองฝ่าย ในเดื่อนตุลาญี่ปุ่นเสริมกำลังของตนไปยังเกาะกัวดาคาแนล
ในช่วงแรกของการปะทะกันที่กัวดาคาแนลญี่ปุ่นเป็นฝ่ายได้เปรียบแต่แล้ว สัมพันธมิตรได้รับคำสั่งให้ถอนกำลังจากพอร์ตมอร์สบีไปทางตอนเหนือของเกาะ การทุ่มเททรัพยากรทั่งทหารและเรือรบจำนวนมากในยุทธการนี้
การทัพครั้งนี้เป็นการต่อสู้แบบผสมผสานการยกพลขึ้นบกของทั้งส่องฝ่าย และติดตามด้วยยุทธการหลายครั้งในตอนกลางและเหนือของหมู่เกาะโซโลมอน และรอบๆ เกาะนิวกีนี และเกาะบังเกนวิลล์
การทัพเป็นการต่อสู้ทั้งบนแผ่นดิน ทะเล และทางอากาศ สัมพันธมิตรยึดบางส่วนของหมู่เกาะโซโลมอนคืนมาได้ และสามารถแบ่งแยกและโดดเดี่ยวญี่ปุ่นบางต่ำแหน่งซึ่งตัดผ่าน การทัพหมู่เกาะโซโลมอนซึ่งมาบรรจบกับการทัพนิวกีนีได้
ภายหลังจากการทัพเกาะกัวดาร์คาแนล สัมพันธมิตรเริ่มปฏิบัตการทางทหารต่างๆ ต่อกองทัพญี่ปุน่ในมหาสมุทร แปซิฟิก พฤษภาคม 1943 ทัพเรืออเมริกาถูกสงไปโจมตีกองทัพญี่ปุ่นที่หมู่เกาะอลูเตียน และเริ่มต้นปฏิบัติการหลักในการโดดเดี่ยวเมืองราบูล
สหรัฐฯก็เตรียมตอบโต้หมู่เกาะโซโลมอน โดยเริ่มจากเกาะกัวดัลคาแนล อันเป็นก้าวแรกของการเข้ายึดราบูล ซึ่งเป็นฐานทัพเรือหลัก
ของกองทัพญี่ปุนในเอเซียอาคเนย์
การทัพที่หมู่เกาะโซโลมอนเป็นกาทัพหลักของสงครามแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง การทัพเริ่มต้นเมือญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกและยึดครองดินแดนหลายแห่งในหมู่เกาะโซโลมอนบริเตน และเกาะบังเกนวิล ในดินแดแห่งนิวกินี 6 เดือนแรกของปี 1942 ญี่ปุ่นยึดพื้นที่หลายส่วนและเริ่มสร้างท่าเรือและสนามบิน
หลายแห่งเพื่อใช้ป้องกันแนวด้านข้างของการบุกโจมตีในนิวกินีการสร้างแนวปลอดภัยสำหรับฐานทัพหลักของญี่ปุ่นอยู่ที่ราบูล ในนิวบริเตน และเป็นฐานทัพที่จัดเตรียมเพื่อหยุดเส้นทางลำเลียงเสบียงระหว่งมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
เพื่อปกป้องการสื่อสารและเส้นทางลำเลียงเสบียงในแปซิฟิกใต้ฝ่ายสัมพันธมิตรได้สนับสนุนการรุกตอบโต้ในนิวกินีและโดดเดี่ยวฐานทัพญี่ปุ่นในราบูล และได้โต้กลับญี่ปุ่นในหมู่เกาะโซโลมอนด้วยการยกพลขึ้นบกที่กัวดาลคาแนล ญี่ปุ่นดำเนินการรุกรานพอร์ตมอร์สบี้ตามแผนของตนแต่ในเดือนกรกฏา ญี่ปุ่นต้องหันมาให้ความสำคัญกับการทัพที่กัวดัลคะแนลมากขึ้น และกองทัพญี่ปุ่นในเกาะนิวกินีนั้นได้รับคำสั่งให้ถอนกำลังออกจากพื้นที่เขตพอร์ตมอร์สบีไปยังทางตอนเหนือของเกาะที่ซึ่งกองทัพนี้ต้องเผชิญกับกำลังผสมระหว่าสหรัฐกับออสเตรเลีย กัวดัลคะแนลได้กลายเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญสำหรับทั้งสองฝ่าย ในเดื่อนตุลาญี่ปุ่นเสริมกำลังของตนไปยังเกาะกัวดาคาแนล
ในช่วงแรกของการปะทะกันที่กัวดาคาแนลญี่ปุ่นเป็นฝ่ายได้เปรียบแต่แล้ว สัมพันธมิตรได้รับคำสั่งให้ถอนกำลังจากพอร์ตมอร์สบีไปทางตอนเหนือของเกาะ การทุ่มเททรัพยากรทั่งทหารและเรือรบจำนวนมากในยุทธการนี้
การทัพครั้งนี้เป็นการต่อสู้แบบผสมผสานการยกพลขึ้นบกของทั้งส่องฝ่าย และติดตามด้วยยุทธการหลายครั้งในตอนกลางและเหนือของหมู่เกาะโซโลมอน และรอบๆ เกาะนิวกีนี และเกาะบังเกนวิลล์
การทัพเป็นการต่อสู้ทั้งบนแผ่นดิน ทะเล และทางอากาศ สัมพันธมิตรยึดบางส่วนของหมู่เกาะโซโลมอนคืนมาได้ และสามารถแบ่งแยกและโดดเดี่ยวญี่ปุ่นบางต่ำแหน่งซึ่งตัดผ่าน การทัพหมู่เกาะโซโลมอนซึ่งมาบรรจบกับการทัพนิวกีนีได้
ภายหลังจากการทัพเกาะกัวดาร์คาแนล สัมพันธมิตรเริ่มปฏิบัตการทางทหารต่างๆ ต่อกองทัพญี่ปุน่ในมหาสมุทร แปซิฟิก พฤษภาคม 1943 ทัพเรืออเมริกาถูกสงไปโจมตีกองทัพญี่ปุ่นที่หมู่เกาะอลูเตียน และเริ่มต้นปฏิบัติการหลักในการโดดเดี่ยวเมืองราบูล
วันอาทิตย์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:1943
- การล้อมสตาลินกราดใกล้จะสิ้นสุด สหภาพโซเวียตประกาศล่วงหน้าว่าการปิดล้อมเลนินกราดได้รับการปลดปล่อยแล้วในขณะที่ ทัพโซเวียตก็เริ่มการโจมตีครั้งใหม่ที่สติลินกราด และเริ่มการโจมตีใหม่ทางเหนือ(เลนินการด)รวมถึงคอเคซัส ในที่สุดชาวเมืองสติลินกราดได้รับการปลอปล่อย นายพล กิออร์กี ซุคอฟ ได้เลื่อนขั้นเป็นจอมพล เนื่องจากการโจมตีสตกลินกราดใกล้สิ้นสุด กองทัพแดงได้รับชับชนะต่อเนื่องที่คอเคซัน ปละยึด Vitebsk ไว้ได้ กองทัพอากาศทั้งอังกฤษและสหรัฐโจมตีเบอร์ลินและฐานทัพเรือที่ใหญ่ที่สุดของเยอรมัน กองกำลังที่ 6 ในสตาลินกราดยอมจำนน
- การประชุมที่คาซาบลังกา ระหว่างผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อหาข้อสรุปในการบุกแผ่นดินใหญ่ยุโรป โดยมีข้อตกลงว่าด้วย “การยอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไข”
เริ่มการโจมตีเขตอุสาหกรรมในแคว้น Ruhr เยอรมันซึ่งการโจมตีครั้งนี้กวา 4 เดือน เนอร์นแบกร์กถูกทิ้งระเบิดอย่างหนัก มิวนิกและเวียนนาถูกทิ้งระเบิด เช่นเดียวกับเบอร์ลิน
นายพลแห่งกองทัพสหรัฐฯดไวท์ ดี.ไอเซนฮาวร์ ได้รับเลือกให้บัญชาการกองทัพสัมพันธมิตรในทวีปยุโรป
เยอรมันประกาศสงครามเบ็ดเสร็จกับฝ่ายสัมพันธมิตร พรรคนาซีกวาดล้างกลุ่ม White rose movement และกลุ่มยุวชนต่อต้านนาซี
-ชาวญี่ปุนอพยพออกจาก บูนา นิวกีนี ได้อย่างสมบูรณ์ ทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกเพิ่มเติมที่ Lae นิวกีนี ทัพญี่ปุ่นยังคงต่อสู้ที่เกาะกัวดาคาแนล แต่ยกเลิกปฏิบัติการปาปัวแล้ว เรื่อรบชิคาโกอับปางที่ยุทธนาวีเกาะเรนเนลใกล้กับเกาะกัวดาคาแนล ญี่ปุ่นอพยพจากกัวดาคาแนล กัวดาคาแนลถูกยึดครองโดยโดยสหรัฐอเมริกาเป็นความสำเร็จครั้งแรกของกองทัพอเมริกันในแปซิฟิก
- การลอบสังหารนายพลยามาโมโต้โดยคำสั่งตรงมาจากสำนักงานประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกายังกองทัพอากาศที่สิบสาม ในวันที่ 18 เมษายน โดยการถอนรหัสจากกองทัพญี่ปุ่น ในขณะที่ยามาโมโต้ ออกตรวจเยี่ยมทหารที่ Bougainvillea เครื่องบินยามาโมโต้ ถูกยิงตกโดยเครื่องโจมตี P.38
สัมพันธมิตรเริ่มปฏิบัติการโดดเดี่ยวเมื่องระบูลโดยยึดครองเกาะรอบ ๆ เพื่อตัดกำลังสนับสนุนในเดือนพฤษภาคม สำหรับเยอรมัน พฤษภาคม 1943 กองเรือเยอรมันได้รับความสูญเสียอย่างหนักจนถูกเรียกว่า “พฤษภาอนธการ”
- รอมเมลถอนทัพออกไปทางตูนิเซีย และเริ่มสร้างแนวป้องกันใหม่ที่ Mareth สัมพันธมิตรเคลื่อนพลไปยังตูนิเซียเป็นครั้งแรก สัมพันธมิตรยึดครองลิเบีย รอมเมลเตรียมต่อสู้กับกองทัพอเมริกัน ในทางตะวันตกของตูนิเซีย กองทัพอเมริกันถูกบีบให้ถอยในเวลาไม่นาน รอมเมลถอนกำลังกลับขึ้นไปงเหนือจากแนวป้องกัน Mareth ในตูนิเซีย ด้วยความเหนือกว่าทั้งทางด้านยุทธปัจจัยและกำลังพลที่เหนือกว่าฝ่ายสัมพันธมิตร ทำให้สุดท้ายฝ่ายอักษะก็เป็นพ่ายแพ้ทหารเยอรมันและอิตาลีกว่า 230,00 คน ถูกจับเป็นเชลยศึก ในเดือนพฤษภาคม
- กรกฎาคม กองกำลังสัมพันธมิตรบุกซิชิลี ซิชิลียอมจำนนส่งผลให้ มุสโสลินีถูกโค่นล้มอำนาจ มีการจัดตั้งรัฐบาลใหม่
- 3 กันยายนกองกำลังผสมสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกบริเวณชายฝั่งทางตอนใต้อิตาลี 8 กันยายน อิตาลียอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไข
- 13 ตุลา รัฐบาลใหม่อิตาลีประกาศสงครามกับเยอรมัน
- การประชุมที่มอสโคว์ 30 ตุลา รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศของสี่ชาติคือสหรัฐอเมริกา อังกฤษ โมโลดอฟ และจีน ร่วมประชุมกันที่มอสโคว์ มติของการประชุมคือเห็ควรจัดตั้งองค์กรระหว่างประเทศเพื่อรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ
เยอรมันและโซเวียตต่างเตรียมแผนการสำหรับการรุกครั้งใหญ่แถบรัสเซียตอนกลาง ในยุทธการเคิสก์ซึ่งเป็นทั้งชุดของการสงครามยานเกราะที่ใหญ่ที่สุด รวมถึงเป็นการสงครามทางอากาศวนเดียวที่ราคาแพงที่สุดในประวัติศาสตร์..
กันยายน สัมพันธมิตรเริ่มการบุกครองแผ่นดินใหญ่อิตาลีตามด้วยการสงบศึกกับสัมพันธมิตรของอิตาลี เยอรมันปลดอาวุธและยึดการควบลคุมทางทหารในพื้นที่อิตาลี่ทั้งหมด และสร้างแนวป้องกันขึ้น ฝ่ายสัมพันธมิตรทะลวงฝ่ายแนวป้องกันเยอรมันได้หลายแนวจนถึงแนวป้องกันหลกอของเยอรมันในเดื่อนพฤศจิกายน
22 พฤศจิกายน การประชุมที่ไคโร โดยผู้นำสหรัฐฯ อังกฤษ และจีนทั้งสามร่วมลงนามในคำประกาศไคโลกำหนดเรียกร้องให้ญี่ปุ่นยอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไข
พศจิกายน 1943 แฟรงกลิน โรสเวลต์ และวินสตัน เชอร์ชิลล์ เดินทางไปพบกับเจียง ไคเชค ระหว่างการประชุมกรุงไคโรและอีกครั้งกับโจเซฟ สตาลินระหว่างการประชุมกรุงเตหะราน และผลการประชุมทังสองครั้งได้ข้อตกลงว่าสัมพันธมิตรตะวันตกจะบุกยุโรปภายในปี 1944 และสหภาพโซเวียตจะประกาศสงครามกับญี่ปุ่นภายในสามเดือนหลังเยอรมันยอมแพ้
- การประชุมที่คาซาบลังกา ระหว่างผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อหาข้อสรุปในการบุกแผ่นดินใหญ่ยุโรป โดยมีข้อตกลงว่าด้วย “การยอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไข”
เริ่มการโจมตีเขตอุสาหกรรมในแคว้น Ruhr เยอรมันซึ่งการโจมตีครั้งนี้กวา 4 เดือน เนอร์นแบกร์กถูกทิ้งระเบิดอย่างหนัก มิวนิกและเวียนนาถูกทิ้งระเบิด เช่นเดียวกับเบอร์ลิน
นายพลแห่งกองทัพสหรัฐฯดไวท์ ดี.ไอเซนฮาวร์ ได้รับเลือกให้บัญชาการกองทัพสัมพันธมิตรในทวีปยุโรป
เยอรมันประกาศสงครามเบ็ดเสร็จกับฝ่ายสัมพันธมิตร พรรคนาซีกวาดล้างกลุ่ม White rose movement และกลุ่มยุวชนต่อต้านนาซี
-ชาวญี่ปุนอพยพออกจาก บูนา นิวกีนี ได้อย่างสมบูรณ์ ทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกเพิ่มเติมที่ Lae นิวกีนี ทัพญี่ปุ่นยังคงต่อสู้ที่เกาะกัวดาคาแนล แต่ยกเลิกปฏิบัติการปาปัวแล้ว เรื่อรบชิคาโกอับปางที่ยุทธนาวีเกาะเรนเนลใกล้กับเกาะกัวดาคาแนล ญี่ปุ่นอพยพจากกัวดาคาแนล กัวดาคาแนลถูกยึดครองโดยโดยสหรัฐอเมริกาเป็นความสำเร็จครั้งแรกของกองทัพอเมริกันในแปซิฟิก
- การลอบสังหารนายพลยามาโมโต้โดยคำสั่งตรงมาจากสำนักงานประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกายังกองทัพอากาศที่สิบสาม ในวันที่ 18 เมษายน โดยการถอนรหัสจากกองทัพญี่ปุ่น ในขณะที่ยามาโมโต้ ออกตรวจเยี่ยมทหารที่ Bougainvillea เครื่องบินยามาโมโต้ ถูกยิงตกโดยเครื่องโจมตี P.38
สัมพันธมิตรเริ่มปฏิบัติการโดดเดี่ยวเมื่องระบูลโดยยึดครองเกาะรอบ ๆ เพื่อตัดกำลังสนับสนุนในเดือนพฤษภาคม สำหรับเยอรมัน พฤษภาคม 1943 กองเรือเยอรมันได้รับความสูญเสียอย่างหนักจนถูกเรียกว่า “พฤษภาอนธการ”
- รอมเมลถอนทัพออกไปทางตูนิเซีย และเริ่มสร้างแนวป้องกันใหม่ที่ Mareth สัมพันธมิตรเคลื่อนพลไปยังตูนิเซียเป็นครั้งแรก สัมพันธมิตรยึดครองลิเบีย รอมเมลเตรียมต่อสู้กับกองทัพอเมริกัน ในทางตะวันตกของตูนิเซีย กองทัพอเมริกันถูกบีบให้ถอยในเวลาไม่นาน รอมเมลถอนกำลังกลับขึ้นไปงเหนือจากแนวป้องกัน Mareth ในตูนิเซีย ด้วยความเหนือกว่าทั้งทางด้านยุทธปัจจัยและกำลังพลที่เหนือกว่าฝ่ายสัมพันธมิตร ทำให้สุดท้ายฝ่ายอักษะก็เป็นพ่ายแพ้ทหารเยอรมันและอิตาลีกว่า 230,00 คน ถูกจับเป็นเชลยศึก ในเดือนพฤษภาคม
- กรกฎาคม กองกำลังสัมพันธมิตรบุกซิชิลี ซิชิลียอมจำนนส่งผลให้ มุสโสลินีถูกโค่นล้มอำนาจ มีการจัดตั้งรัฐบาลใหม่
- 3 กันยายนกองกำลังผสมสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกบริเวณชายฝั่งทางตอนใต้อิตาลี 8 กันยายน อิตาลียอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไข
- 13 ตุลา รัฐบาลใหม่อิตาลีประกาศสงครามกับเยอรมัน
- การประชุมที่มอสโคว์ 30 ตุลา รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศของสี่ชาติคือสหรัฐอเมริกา อังกฤษ โมโลดอฟ และจีน ร่วมประชุมกันที่มอสโคว์ มติของการประชุมคือเห็ควรจัดตั้งองค์กรระหว่างประเทศเพื่อรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ
เยอรมันและโซเวียตต่างเตรียมแผนการสำหรับการรุกครั้งใหญ่แถบรัสเซียตอนกลาง ในยุทธการเคิสก์ซึ่งเป็นทั้งชุดของการสงครามยานเกราะที่ใหญ่ที่สุด รวมถึงเป็นการสงครามทางอากาศวนเดียวที่ราคาแพงที่สุดในประวัติศาสตร์..
กันยายน สัมพันธมิตรเริ่มการบุกครองแผ่นดินใหญ่อิตาลีตามด้วยการสงบศึกกับสัมพันธมิตรของอิตาลี เยอรมันปลดอาวุธและยึดการควบลคุมทางทหารในพื้นที่อิตาลี่ทั้งหมด และสร้างแนวป้องกันขึ้น ฝ่ายสัมพันธมิตรทะลวงฝ่ายแนวป้องกันเยอรมันได้หลายแนวจนถึงแนวป้องกันหลกอของเยอรมันในเดื่อนพฤศจิกายน
22 พฤศจิกายน การประชุมที่ไคโร โดยผู้นำสหรัฐฯ อังกฤษ และจีนทั้งสามร่วมลงนามในคำประกาศไคโลกำหนดเรียกร้องให้ญี่ปุ่นยอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไข
พศจิกายน 1943 แฟรงกลิน โรสเวลต์ และวินสตัน เชอร์ชิลล์ เดินทางไปพบกับเจียง ไคเชค ระหว่างการประชุมกรุงไคโรและอีกครั้งกับโจเซฟ สตาลินระหว่างการประชุมกรุงเตหะราน และผลการประชุมทังสองครั้งได้ข้อตกลงว่าสัมพันธมิตรตะวันตกจะบุกยุโรปภายในปี 1944 และสหภาพโซเวียตจะประกาศสงครามกับญี่ปุ่นภายในสามเดือนหลังเยอรมันยอมแพ้
วันเสาร์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
WWII:Red Army
กองทัพแดงของกรรมกรและชาวนา Raboche-krest’yanskaya armiya เกิดขึ้นเป็นกลุ่มการรบคอมมิวนิสต์ปฏิบัติของสกภาพโซเวียตระหว่างสงครามกลางเมืองรัสเซีย ค.ศ.1918-1922 ต่อมาเติบโตเป็ฯกองทัพแห่งชาติของสหภาพโซเวียต จนถึงคริสต์ทศวรรษ 1930 กองทัพแดงเป็หนึ่งในกองทัพใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ “กองทัพแดง” หมายถึงสีดั้งเดิมของขบวนการคอมมิวนิสต์เมื่องสัญลักษณ์แห่งชาติโซเวียตแทนที่สัญลักษณ์ปฏิวัติ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1946 กองทัพอดงจึงถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกองทัพบกโซเวียต กองทัพแดงได้รับชื่อเสิยงอย่างกว้างขวางว่าเป็นกำลังตัดสินชี้ขาดในชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตรในเขตสงครามยุโรปสงครามโลกครั้งที่สอง
ปฏิวัติรัสเซีย การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ เป้นการปฏิวัติเฉพาะบริเวณนครเปโตรกราด ภายใต้ภาวะความวุ่นวานสามชิกรัฐสภาหลวงดูมาถือโอกาสเข้ายึดอำนาจบริหารประเทศและจัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาล เหล่าผู้นำกองทัพต่างรู้สึกว่าความพยายามปราบปรามการจลาจลของตนนั้นไร้ผล แบะพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 พระเจ้าซาร์องค์สุดท้ายแห่งรัสเซียทรงสละราชย์
อำนาจคู่ ถือกำเนิดขึ้น รัฐบาลเฉพาะกาลครอบครองอำนาจรัฐ ขณะที่เครือข่ายโซเวียตแห่งชาติซึ่งนำโดยพวกสังคมนิยมได้รับการสวามิภักดิ์จากชนชั้นล่าวและพวกฝ่ายซ้าย
ต่อมารัฐบาลเฉพาะกาลตัดสินใจที่จะทำสงครามกับเยอรมันต่อไป บอลเชวิกและนักสังคมนิยมกลุ่มต่างๆ เริ่มออกมารณรงค์ให้ยุติการสู้รบกับเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่ 1 บอลเชวิกได้ทำการเปลี่ยนกองกำลังจากชนชั้นแรงงานให้ไปเป็น เรอการ์ด ซึ่งต่อมาได้พัฒนามาเป็นกองทัพแดง และกองกำลันี้ที่บอลเชวิกควบคุมเอาใจใส่อย่างมีนัยสำคัญ
ปฏิวัติเดือนตุลาคม พรรคบอลเชวิกภายใต้การนำ วลาดมีร์ เลนิน และเช่าชนชั้นแรงงานโซวียตเข้าล้มล้างการปกครองของรัฐบาละฉพาะการ ณ กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก พวกบอลเชวิกแต่งตั้งตนเองขึ้นเป็นผู้นำในกระทรวงต่าง ๆ มากมายรวมไปถึงการเข้ายึดอำนาจตามชนบทต่าง ๆ จัดตั้งหน่วย เชกา เพื่อปราบปรามการต่อต้านการปฏิบัติ และเพ่บรรลุเป้าหมายกายุติสงครามกับเยอรมนนี บอลเชวิกได้ร่วมลงนามใน สนธิสัญญาเบรสต์-ลิโตฟส์กกับเยอรมัน
สงครามกลางเมืองอุบัติขึ้น กองทัพแดง กับกองทัพขาว ดำเนินไปหลายปี แต่ท้ายที่สุดกองทัพแดงของฝ่ายบอลเชวิกมีชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนือฝ่ายกองทัพขาว และการสิ้นสุดของระลอการปฏิวัติ และเข้าสู่ยุคสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต
ในสมัยของสตาลินได้มัการพยายามพัฒนาประเทศ ให้เป็นอุตสาหกรรมหนักส่วนหนึ่งก็เพื่อการสร้างอาวุธที่ทันสมัยให้กองทัพแองและยังมีการอบรมสร้างนายทหารให้มีความสามารถมากขึ้น แต่ในช่วงการกวาดล้างของสตาลิน นายทหารฝีมือดีถูกกวาดล้างไปเป็นอันมาก กองทัพแดงในช่วงต้นสงครามจึงไม่เข้มแข็ง การเปลี่ยนโครงสร้างการบังคับบัญชา การเข้ามามีบทบามกาบัญชาการของพรรคคิมมิวนิสต์มากขึ้น และนำนายทหารที่มีความสามารถที่เหลืออยู่เข้ามาบัญชาการกองทัพ การย้ายโรงงานการผลิตอาวุธ เป็นปัจจัยที่ทำให้กองทัพแดงมีประสทิธิภาพมากขึ้น
กองทัพแดงสามารถหยุดยั้งการรุกรานสตาลินกราด กองทัพที่ 6 ของเยรมันยอมจำนน กองทัพแดงกลายเป็นฝ่ายบุก มีโอกาสรุกเข้าไปในยุโรปตะวันออกและตีเอบร์ลินแตก สหภาพโซเวียตขยายอำนาจครอบครองยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตเพิ่มขึ้นเป็น 15 สาธารณรัฐ
ต่อำมาแผ่นดินญี่ปุ่นถูกกองทัพสหรัฐฯทิ้งระเบิดปรมาณู กองทัพแดงบุกเข้าโจมตีกองทัพญี่ปุนที่ประจำการในแมนจูเรียและเกาหลี ซึ่งเป็นการโจมตีภายมต้ข้อตกลงลับของสตาลิน รูสเวลล์และเชอชิลล์ ว่าจะบุกญี่ปุ่นภายใน 3 เดือนหลังจากเยอรมันยอมแพ้
ปฏิวัติรัสเซีย การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ เป้นการปฏิวัติเฉพาะบริเวณนครเปโตรกราด ภายใต้ภาวะความวุ่นวานสามชิกรัฐสภาหลวงดูมาถือโอกาสเข้ายึดอำนาจบริหารประเทศและจัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาล เหล่าผู้นำกองทัพต่างรู้สึกว่าความพยายามปราบปรามการจลาจลของตนนั้นไร้ผล แบะพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 พระเจ้าซาร์องค์สุดท้ายแห่งรัสเซียทรงสละราชย์
อำนาจคู่ ถือกำเนิดขึ้น รัฐบาลเฉพาะกาลครอบครองอำนาจรัฐ ขณะที่เครือข่ายโซเวียตแห่งชาติซึ่งนำโดยพวกสังคมนิยมได้รับการสวามิภักดิ์จากชนชั้นล่าวและพวกฝ่ายซ้าย
ต่อมารัฐบาลเฉพาะกาลตัดสินใจที่จะทำสงครามกับเยอรมันต่อไป บอลเชวิกและนักสังคมนิยมกลุ่มต่างๆ เริ่มออกมารณรงค์ให้ยุติการสู้รบกับเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่ 1 บอลเชวิกได้ทำการเปลี่ยนกองกำลังจากชนชั้นแรงงานให้ไปเป็น เรอการ์ด ซึ่งต่อมาได้พัฒนามาเป็นกองทัพแดง และกองกำลันี้ที่บอลเชวิกควบคุมเอาใจใส่อย่างมีนัยสำคัญ
ปฏิวัติเดือนตุลาคม พรรคบอลเชวิกภายใต้การนำ วลาดมีร์ เลนิน และเช่าชนชั้นแรงงานโซวียตเข้าล้มล้างการปกครองของรัฐบาละฉพาะการ ณ กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก พวกบอลเชวิกแต่งตั้งตนเองขึ้นเป็นผู้นำในกระทรวงต่าง ๆ มากมายรวมไปถึงการเข้ายึดอำนาจตามชนบทต่าง ๆ จัดตั้งหน่วย เชกา เพื่อปราบปรามการต่อต้านการปฏิบัติ และเพ่บรรลุเป้าหมายกายุติสงครามกับเยอรมนนี บอลเชวิกได้ร่วมลงนามใน สนธิสัญญาเบรสต์-ลิโตฟส์กกับเยอรมัน
สงครามกลางเมืองอุบัติขึ้น กองทัพแดง กับกองทัพขาว ดำเนินไปหลายปี แต่ท้ายที่สุดกองทัพแดงของฝ่ายบอลเชวิกมีชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนือฝ่ายกองทัพขาว และการสิ้นสุดของระลอการปฏิวัติ และเข้าสู่ยุคสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต
ในสมัยของสตาลินได้มัการพยายามพัฒนาประเทศ ให้เป็นอุตสาหกรรมหนักส่วนหนึ่งก็เพื่อการสร้างอาวุธที่ทันสมัยให้กองทัพแองและยังมีการอบรมสร้างนายทหารให้มีความสามารถมากขึ้น แต่ในช่วงการกวาดล้างของสตาลิน นายทหารฝีมือดีถูกกวาดล้างไปเป็นอันมาก กองทัพแดงในช่วงต้นสงครามจึงไม่เข้มแข็ง การเปลี่ยนโครงสร้างการบังคับบัญชา การเข้ามามีบทบามกาบัญชาการของพรรคคิมมิวนิสต์มากขึ้น และนำนายทหารที่มีความสามารถที่เหลืออยู่เข้ามาบัญชาการกองทัพ การย้ายโรงงานการผลิตอาวุธ เป็นปัจจัยที่ทำให้กองทัพแดงมีประสทิธิภาพมากขึ้น
กองทัพแดงสามารถหยุดยั้งการรุกรานสตาลินกราด กองทัพที่ 6 ของเยรมันยอมจำนน กองทัพแดงกลายเป็นฝ่ายบุก มีโอกาสรุกเข้าไปในยุโรปตะวันออกและตีเอบร์ลินแตก สหภาพโซเวียตขยายอำนาจครอบครองยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตเพิ่มขึ้นเป็น 15 สาธารณรัฐ
ต่อำมาแผ่นดินญี่ปุ่นถูกกองทัพสหรัฐฯทิ้งระเบิดปรมาณู กองทัพแดงบุกเข้าโจมตีกองทัพญี่ปุนที่ประจำการในแมนจูเรียและเกาหลี ซึ่งเป็นการโจมตีภายมต้ข้อตกลงลับของสตาลิน รูสเวลล์และเชอชิลล์ ว่าจะบุกญี่ปุ่นภายใน 3 เดือนหลังจากเยอรมันยอมแพ้
WWII:Operation Torch
ปฏิบัติการคบเพลิง เป็นการโจมตีอาณานิคมแอฟริกาเหนือของฝรั่งเศสเขตวีซีแผนของฝ่ายสัมพันธมิตรคือการยกพลขึ้นบกเพื่อยึดท่าเรือและสนามบินที่สำคัญในโมร็อกโกและอแอลจีเรียเป้าหมายหลักของแผนปฏิบัติการนี้อยู่ที่เมืองสำคัญสามเมืองนั้นคือ กาซาบล็องกา, ออร็อง (ออราน)และแอเจียร์ ถ้าแผนการสำเร็จลุล่วงด้วยดีฝ่ายสัมพันธมิตรจะบุกไปทางตะวันออกมุ่งสู่ตูนิเซียต่อไป
ปัญหาในการปฏิบัติการคบเพลิงนอกจากเรื่องตำแหน่งที่จะยกพลขึ้นบก ปัญหาเรื่องเวลา และยังมีปัญหาที่ต้องคอยประสานงานไม่ให้ฝรั่งเศสที่อยู่บริเวณนั้นเข้าขัดขวาง การจะทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ของผรังเศสในบริเวณยกพลขึ้นบำเป็นเรื่องยุ่งยากดินแดนแอฟริกาเหนือของฝรั่งเศสยังคมขึ้นต่อรัฐบาลซีวี หรือรัฐบาลเปแตง ซึ่งสหรัฐฯบังมีความสัมพันธ์ทางการทูตแตะอังกฤษถูกตัดความสัมพันธ์แล้ว ผู้บัญชาการสูงสุดในแอลจีเรียของฝรั่งเศส ในโมร็อกโค ขึนตรงกับนายพลเรือยีน ฟรังซัวร์ ดาร์ลัง ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของฝรั่งเศสในแอฟริกา นายพลฝรั่งเศสยินดีให้ความร่วมมือกับสัมพันธ์มิตรในแบบไม่เปิดเผยจึงมีการประชุมกันแบบลับๆ มีนายทหารซึ่งเคยถูกเยอรมันคุมขังให้ความร่วมมือกับสัมพันธมิตร แต่เกิดการไม่ยอมรับจากลูกน้อง จึงมีการแจ้งเรื่องการยกพลขึ้นบกต่อรัฐบาลเปแตง
ปฏิบัติการคลาดเคลื่อนเนื่องจากการถูกขัดขวางโดยทหารฝรั่งเศสซีวี อย่างไรก็ตามในวันที่ 3 พฤศจิกายน กองทัพฝรั่งเศสในแอฟริกาเหนือจึงลงนามเป็นมิตรกับฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งนายพลไอเซนฮาวน์รับลงนามอนุมัติทันที่
นายพลดไวต์ เดวิด ไอเซนฮาวร์ เกิดที่เมืองเดนิสัน รัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา เป็นบุตรคนที่ 3 ในบรรดาพี่น้อง 7 คน เข้ารับการศึกษาในโรงเรียนนายรอยทหารบกเวสต์พอยต์ นายพลห้าดาว(เทียบเท่ากับจอมพล)ดไวต์ ดี ไอเซนฮาวร์ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ปฏิบัติการยกพลขึ้นบกในครั้งนี้
กองกำลังอเมริกันยกพลขึ้นบกช่วงก่อนฟ้าสางที่กาซาบลังก้าของวันที่ 8 พฤศจิกายน 1942 โดยไม่มีการทิ้งระเบิดก่อนการโจมตีเพราะฝ่ายสัมพันธมิตรคาดการณ์ว่ากองกำลังฝรั่งเศสเขตวีซีจะไม่ทำการต่อต้านใดๆ ซึ่งเป็นการคาดการณ์ที่ผิดพลาดกำลังฝรั่งเศสบางส่วนต่อต้านสัมพันธมิตร
ที่ออร็อง กองกำลังสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่หาดสามแห่ง สองแห่งอยู่ทางตะวันตกและอีกแห่งอยู่ทางตะวันออกของเมืองออร็องตามลำดับการยกพลขึ้นบกเพื่อยึดหาดที่อยู่ทางตะวันตกต้องประสบปัญหาล่าช้าเนื่องจากหลายสาเหตุ ซึ่งนำไปปรับปรุงแก้ไขในปฏิบัติการสะเทินน้ำสะเทินบกในครังต่อๆ ไป เรือประจัญบานของอังกฤษยิ่งสนับสนุนขึ้นฝั่ง ฝรั่งเศสซีวียอมจำนนในวันที่ 9 พฤศจิกายน
สหรัฐอเมริกาใช้พลร่มเข้าปฏิบัติการเป็นครังแรก ซึ่งบินจากเกาะอังกฤษฝ่านสเปนและปล่อยลงใกล้เมืองออร็องเพื่อยึดสนามบินที่สำคัญ มีปัญหาต่างๆ จิปาถะ แต่อย่างไรก็บรรลุวัตถุประสงค์
แอลเจียร์ มีการต่อต้านจากฝรั่งเศษซีวีเบาบาง กองกำลังสัมพันธมิตรขึ้นบกสำเร็จและเข้าโอบล้อมกองกำลังฝรั่งเศสวีซี
ปัญหาในการปฏิบัติการคบเพลิงนอกจากเรื่องตำแหน่งที่จะยกพลขึ้นบก ปัญหาเรื่องเวลา และยังมีปัญหาที่ต้องคอยประสานงานไม่ให้ฝรั่งเศสที่อยู่บริเวณนั้นเข้าขัดขวาง การจะทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ของผรังเศสในบริเวณยกพลขึ้นบำเป็นเรื่องยุ่งยากดินแดนแอฟริกาเหนือของฝรั่งเศสยังคมขึ้นต่อรัฐบาลซีวี หรือรัฐบาลเปแตง ซึ่งสหรัฐฯบังมีความสัมพันธ์ทางการทูตแตะอังกฤษถูกตัดความสัมพันธ์แล้ว ผู้บัญชาการสูงสุดในแอลจีเรียของฝรั่งเศส ในโมร็อกโค ขึนตรงกับนายพลเรือยีน ฟรังซัวร์ ดาร์ลัง ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของฝรั่งเศสในแอฟริกา นายพลฝรั่งเศสยินดีให้ความร่วมมือกับสัมพันธ์มิตรในแบบไม่เปิดเผยจึงมีการประชุมกันแบบลับๆ มีนายทหารซึ่งเคยถูกเยอรมันคุมขังให้ความร่วมมือกับสัมพันธมิตร แต่เกิดการไม่ยอมรับจากลูกน้อง จึงมีการแจ้งเรื่องการยกพลขึ้นบกต่อรัฐบาลเปแตง
ปฏิบัติการคลาดเคลื่อนเนื่องจากการถูกขัดขวางโดยทหารฝรั่งเศสซีวี อย่างไรก็ตามในวันที่ 3 พฤศจิกายน กองทัพฝรั่งเศสในแอฟริกาเหนือจึงลงนามเป็นมิตรกับฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งนายพลไอเซนฮาวน์รับลงนามอนุมัติทันที่
นายพลดไวต์ เดวิด ไอเซนฮาวร์ เกิดที่เมืองเดนิสัน รัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา เป็นบุตรคนที่ 3 ในบรรดาพี่น้อง 7 คน เข้ารับการศึกษาในโรงเรียนนายรอยทหารบกเวสต์พอยต์ นายพลห้าดาว(เทียบเท่ากับจอมพล)ดไวต์ ดี ไอเซนฮาวร์ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ปฏิบัติการยกพลขึ้นบกในครั้งนี้
กองกำลังอเมริกันยกพลขึ้นบกช่วงก่อนฟ้าสางที่กาซาบลังก้าของวันที่ 8 พฤศจิกายน 1942 โดยไม่มีการทิ้งระเบิดก่อนการโจมตีเพราะฝ่ายสัมพันธมิตรคาดการณ์ว่ากองกำลังฝรั่งเศสเขตวีซีจะไม่ทำการต่อต้านใดๆ ซึ่งเป็นการคาดการณ์ที่ผิดพลาดกำลังฝรั่งเศสบางส่วนต่อต้านสัมพันธมิตร
ที่ออร็อง กองกำลังสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่หาดสามแห่ง สองแห่งอยู่ทางตะวันตกและอีกแห่งอยู่ทางตะวันออกของเมืองออร็องตามลำดับการยกพลขึ้นบกเพื่อยึดหาดที่อยู่ทางตะวันตกต้องประสบปัญหาล่าช้าเนื่องจากหลายสาเหตุ ซึ่งนำไปปรับปรุงแก้ไขในปฏิบัติการสะเทินน้ำสะเทินบกในครังต่อๆ ไป เรือประจัญบานของอังกฤษยิ่งสนับสนุนขึ้นฝั่ง ฝรั่งเศสซีวียอมจำนนในวันที่ 9 พฤศจิกายน
สหรัฐอเมริกาใช้พลร่มเข้าปฏิบัติการเป็นครังแรก ซึ่งบินจากเกาะอังกฤษฝ่านสเปนและปล่อยลงใกล้เมืองออร็องเพื่อยึดสนามบินที่สำคัญ มีปัญหาต่างๆ จิปาถะ แต่อย่างไรก็บรรลุวัตถุประสงค์
แอลเจียร์ มีการต่อต้านจากฝรั่งเศษซีวีเบาบาง กองกำลังสัมพันธมิตรขึ้นบกสำเร็จและเข้าโอบล้อมกองกำลังฝรั่งเศสวีซี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...