- การล้อมสตาลินกราดใกล้จะสิ้นสุด สหภาพโซเวียตประกาศล่วงหน้าว่าการปิดล้อมเลนินกราดได้รับการปลดปล่อยแล้วในขณะที่ ทัพโซเวียตก็เริ่มการโจมตีครั้งใหม่ที่สติลินกราด และเริ่มการโจมตีใหม่ทางเหนือ(เลนินการด)รวมถึงคอเคซัส ในที่สุดชาวเมืองสติลินกราดได้รับการปลอปล่อย นายพล กิออร์กี ซุคอฟ ได้เลื่อนขั้นเป็นจอมพล เนื่องจากการโจมตีสตกลินกราดใกล้สิ้นสุด กองทัพแดงได้รับชับชนะต่อเนื่องที่คอเคซัน ปละยึด Vitebsk ไว้ได้ กองทัพอากาศทั้งอังกฤษและสหรัฐโจมตีเบอร์ลินและฐานทัพเรือที่ใหญ่ที่สุดของเยอรมัน กองกำลังที่ 6 ในสตาลินกราดยอมจำนน
- การประชุมที่คาซาบลังกา ระหว่างผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อหาข้อสรุปในการบุกแผ่นดินใหญ่ยุโรป โดยมีข้อตกลงว่าด้วย “การยอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไข”
เริ่มการโจมตีเขตอุสาหกรรมในแคว้น Ruhr เยอรมันซึ่งการโจมตีครั้งนี้กวา 4 เดือน เนอร์นแบกร์กถูกทิ้งระเบิดอย่างหนัก มิวนิกและเวียนนาถูกทิ้งระเบิด เช่นเดียวกับเบอร์ลิน
นายพลแห่งกองทัพสหรัฐฯดไวท์ ดี.ไอเซนฮาวร์ ได้รับเลือกให้บัญชาการกองทัพสัมพันธมิตรในทวีปยุโรป
เยอรมันประกาศสงครามเบ็ดเสร็จกับฝ่ายสัมพันธมิตร พรรคนาซีกวาดล้างกลุ่ม White rose movement และกลุ่มยุวชนต่อต้านนาซี
-ชาวญี่ปุนอพยพออกจาก บูนา นิวกีนี ได้อย่างสมบูรณ์ ทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกเพิ่มเติมที่ Lae นิวกีนี ทัพญี่ปุ่นยังคงต่อสู้ที่เกาะกัวดาคาแนล แต่ยกเลิกปฏิบัติการปาปัวแล้ว เรื่อรบชิคาโกอับปางที่ยุทธนาวีเกาะเรนเนลใกล้กับเกาะกัวดาคาแนล ญี่ปุ่นอพยพจากกัวดาคาแนล กัวดาคาแนลถูกยึดครองโดยโดยสหรัฐอเมริกาเป็นความสำเร็จครั้งแรกของกองทัพอเมริกันในแปซิฟิก
- การลอบสังหารนายพลยามาโมโต้โดยคำสั่งตรงมาจากสำนักงานประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกายังกองทัพอากาศที่สิบสาม ในวันที่ 18 เมษายน โดยการถอนรหัสจากกองทัพญี่ปุ่น ในขณะที่ยามาโมโต้ ออกตรวจเยี่ยมทหารที่ Bougainvillea เครื่องบินยามาโมโต้ ถูกยิงตกโดยเครื่องโจมตี P.38
สัมพันธมิตรเริ่มปฏิบัติการโดดเดี่ยวเมื่องระบูลโดยยึดครองเกาะรอบ ๆ เพื่อตัดกำลังสนับสนุนในเดือนพฤษภาคม สำหรับเยอรมัน พฤษภาคม 1943 กองเรือเยอรมันได้รับความสูญเสียอย่างหนักจนถูกเรียกว่า “พฤษภาอนธการ”
- รอมเมลถอนทัพออกไปทางตูนิเซีย และเริ่มสร้างแนวป้องกันใหม่ที่ Mareth สัมพันธมิตรเคลื่อนพลไปยังตูนิเซียเป็นครั้งแรก สัมพันธมิตรยึดครองลิเบีย รอมเมลเตรียมต่อสู้กับกองทัพอเมริกัน ในทางตะวันตกของตูนิเซีย กองทัพอเมริกันถูกบีบให้ถอยในเวลาไม่นาน รอมเมลถอนกำลังกลับขึ้นไปงเหนือจากแนวป้องกัน Mareth ในตูนิเซีย ด้วยความเหนือกว่าทั้งทางด้านยุทธปัจจัยและกำลังพลที่เหนือกว่าฝ่ายสัมพันธมิตร ทำให้สุดท้ายฝ่ายอักษะก็เป็นพ่ายแพ้ทหารเยอรมันและอิตาลีกว่า 230,00 คน ถูกจับเป็นเชลยศึก ในเดือนพฤษภาคม
- กรกฎาคม กองกำลังสัมพันธมิตรบุกซิชิลี ซิชิลียอมจำนนส่งผลให้ มุสโสลินีถูกโค่นล้มอำนาจ มีการจัดตั้งรัฐบาลใหม่
- 3 กันยายนกองกำลังผสมสัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกบริเวณชายฝั่งทางตอนใต้อิตาลี 8 กันยายน อิตาลียอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไข
- 13 ตุลา รัฐบาลใหม่อิตาลีประกาศสงครามกับเยอรมัน
- การประชุมที่มอสโคว์ 30 ตุลา รัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศของสี่ชาติคือสหรัฐอเมริกา อังกฤษ โมโลดอฟ และจีน ร่วมประชุมกันที่มอสโคว์ มติของการประชุมคือเห็ควรจัดตั้งองค์กรระหว่างประเทศเพื่อรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ
เยอรมันและโซเวียตต่างเตรียมแผนการสำหรับการรุกครั้งใหญ่แถบรัสเซียตอนกลาง ในยุทธการเคิสก์ซึ่งเป็นทั้งชุดของการสงครามยานเกราะที่ใหญ่ที่สุด รวมถึงเป็นการสงครามทางอากาศวนเดียวที่ราคาแพงที่สุดในประวัติศาสตร์..
กันยายน สัมพันธมิตรเริ่มการบุกครองแผ่นดินใหญ่อิตาลีตามด้วยการสงบศึกกับสัมพันธมิตรของอิตาลี เยอรมันปลดอาวุธและยึดการควบลคุมทางทหารในพื้นที่อิตาลี่ทั้งหมด และสร้างแนวป้องกันขึ้น ฝ่ายสัมพันธมิตรทะลวงฝ่ายแนวป้องกันเยอรมันได้หลายแนวจนถึงแนวป้องกันหลกอของเยอรมันในเดื่อนพฤศจิกายน
22 พฤศจิกายน การประชุมที่ไคโร โดยผู้นำสหรัฐฯ อังกฤษ และจีนทั้งสามร่วมลงนามในคำประกาศไคโลกำหนดเรียกร้องให้ญี่ปุ่นยอมจำนนโดยไม่มีเงื่อนไข
พศจิกายน 1943 แฟรงกลิน โรสเวลต์ และวินสตัน เชอร์ชิลล์ เดินทางไปพบกับเจียง ไคเชค ระหว่างการประชุมกรุงไคโรและอีกครั้งกับโจเซฟ สตาลินระหว่างการประชุมกรุงเตหะราน และผลการประชุมทังสองครั้งได้ข้อตกลงว่าสัมพันธมิตรตะวันตกจะบุกยุโรปภายในปี 1944 และสหภาพโซเวียตจะประกาศสงครามกับญี่ปุ่นภายในสามเดือนหลังเยอรมันยอมแพ้
วันอาทิตย์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น