ปฏิวัติรัสเซีย การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ เป้นการปฏิวัติเฉพาะบริเวณนครเปโตรกราด ภายใต้ภาวะความวุ่นวานสามชิกรัฐสภาหลวงดูมาถือโอกาสเข้ายึดอำนาจบริหารประเทศและจัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาล เหล่าผู้นำกองทัพต่างรู้สึกว่าความพยายามปราบปรามการจลาจลของตนนั้นไร้ผล แบะพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 พระเจ้าซาร์องค์สุดท้ายแห่งรัสเซียทรงสละราชย์
อำนาจคู่ ถือกำเนิดขึ้น รัฐบาลเฉพาะกาลครอบครองอำนาจรัฐ ขณะที่เครือข่ายโซเวียตแห่งชาติซึ่งนำโดยพวกสังคมนิยมได้รับการสวามิภักดิ์จากชนชั้นล่าวและพวกฝ่ายซ้าย

ปฏิวัติเดือนตุลาคม พรรคบอลเชวิกภายใต้การนำ วลาดมีร์ เลนิน และเช่าชนชั้นแรงงานโซวียตเข้าล้มล้างการปกครองของรัฐบาละฉพาะการ ณ กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก พวกบอลเชวิกแต่งตั้งตนเองขึ้นเป็นผู้นำในกระทรวงต่าง ๆ มากมายรวมไปถึงการเข้ายึดอำนาจตามชนบทต่าง ๆ จัดตั้งหน่วย เชกา เพื่อปราบปรามการต่อต้านการปฏิบัติ และเพ่บรรลุเป้าหมายกายุติสงครามกับเยอรมนนี บอลเชวิกได้ร่วมลงนามใน สนธิสัญญาเบรสต์-ลิโตฟส์กกับเยอรมัน
สงครามกลางเมืองอุบัติขึ้น กองทัพแดง กับกองทัพขาว ดำเนินไปหลายปี แต่ท้ายที่สุดกองทัพแดงของฝ่ายบอลเชวิกมีชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนือฝ่ายกองทัพขาว และการสิ้นสุดของระลอการปฏิวัติ และเข้าสู่ยุคสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต
ในสมัยของสตาลินได้มัการพยายามพัฒนาประเทศ ให้เป็นอุตสาหกรรมหนักส่วนหนึ่งก็เพื่อการสร้างอาวุธที่ทันสมัยให้กองทัพแองและยังมีการอบรมสร้างนายทหารให้มีความสามารถมากขึ้น แต่ในช่วงการกวาดล้างของสตาลิน นายทหารฝีมือดีถูกกวาดล้างไปเป็นอันมาก กองทัพแดงในช่วงต้นสงครามจึงไม่เข้มแข็ง การเปลี่ยนโครงสร้างการบังคับบัญชา การเข้ามามีบทบามกาบัญชาการของพรรคคิมมิวนิสต์มากขึ้น และนำนายทหารที่มีความสามารถที่เหลืออยู่เข้ามาบัญชาการกองทัพ การย้ายโรงงานการผลิตอาวุธ เป็นปัจจัยที่ทำให้กองทัพแดงมีประสทิธิภาพมากขึ้น
กองทัพแดงสามารถหยุดยั้งการรุกรานสตาลินกราด กองทัพที่ 6 ของเยรมันยอมจำนน กองทัพแดงกลายเป็นฝ่ายบุก มีโอกาสรุกเข้าไปในยุโรปตะวันออกและตีเอบร์ลินแตก สหภาพโซเวียตขยายอำนาจครอบครองยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตเพิ่มขึ้นเป็น 15 สาธารณรัฐ
ต่อำมาแผ่นดินญี่ปุ่นถูกกองทัพสหรัฐฯทิ้งระเบิดปรมาณู กองทัพแดงบุกเข้าโจมตีกองทัพญี่ปุนที่ประจำการในแมนจูเรียและเกาหลี ซึ่งเป็นการโจมตีภายมต้ข้อตกลงลับของสตาลิน รูสเวลล์และเชอชิลล์ ว่าจะบุกญี่ปุ่นภายใน 3 เดือนหลังจากเยอรมันยอมแพ้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น