ภายใต้การปกครองระบบซุฮาร์โต 31 ปีตั้งแต่ปี พ.ศ.2509 ปะรเทศอินโดนีเซียได้ผ่านการปกครองยุคเผด็จการที่ชาญฉลาดในการครองอำนาจโดยการนำระบบทหารเข้ามามีบทบาทเหนือข้าราชการพลเรือนที่เรียกว่า ระบเกการ์ยา ที่นำทหารเข้าไปดำรงตำแหน่งที่สำคัญๆ ตั้งแต่ระดับอธิบดีตามกรมต่างๆ ร้อยละ 78 เลขานถการรัฐมนตรีร้อยละ 84 ตำแหน่งนายอำเภอรอยละ 56 ของตำแหน่งทั้งหมด และที่เห็นได้ชัดในปี พ.ศ. 2513 คือ การตั้งผุว่าราชการมณฑลที่เป้ฯทหารจากกองทัพ 20 คน จากผุ้ว่ามณฑลทั้งหมด 26 คน จนถึงปี พ.ศ. 2540 การตั้งผู้ว่าราชการมณฑลที่เป็นทหารยังครองตำแหน่งผุ้ว่าราชการมณฑลเป็นส่วนมากถึง 14 จากผุ้ว่ามณฑลทั้งหมด 27 คน
เมื่อสิ้นอำนาจของประธานาธิบดีซูฮาร์โต จึงเกิดกฎหมายปฏิรูปในปี พ.ศ. 2549 ที่การกระจายอำนาจตามตำแหน่งผุ้ว่าราชการมาจากการเลือกตั้งทั้งหมด ในส่วนราชการอื่นก็ได้เกิดการปฏิรู)ป จึงนับว่าเป็นปฏิรูปราชการครั้งแรกของอินโดนีเซียก็ว่าได้
สาธารณะรัฐอินโดนีเซียดำเนินการปฏิรูประบบราชการตามประกาศประธานาธิบดีในปี พ.ศ. 2553 เพื่อมุ่งสู่การเป็นรัฐบาลที่มีมาตรฐานระดับโลกภายในปี พ.ศ. 2568 และจากนโยบายการปฏิรูประบบราชการดังกล่าว องค์การข้าราชการแห่งชาติ ก็ได้ดำเนินการโครงการเร่งด่วนตามยุทธศาสตร์ 9 โครงการ เพื่อให้การปฏิรูประบบรชการพลเรือนสอดรับกันนโยบายดังกล่าวในประเด็นต่อไปนี้
- การปรับปรุงโครงสร้างระบบราชการพลเรือน
- การสร้างเสถียรภาพให้แก่จำนวนข้าราชการพลเรือน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน
- การปรับปรุงระบบสรรหาและคัดเลือก และระบบการแต่งตั้งข้าราชการพละรือน
- การพัฒนาข้าราชการพลเรือนให้มีความเป็นมืออาชีพ
- การพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็ทอรนิกส์
- การอำนวยความสะดวกด้านการจดทะเบียธุรกิจและการดำเนินการด้านธุรกรรมของภาคเอกชน
- การดำเนินการด้านความโปร่งใสในเรื่องการรายงานทรัพย์สินของข้าราชการ
- การปรับปรุงระบบสวัสดิการของข้าราชการพลเรือน
- การสร้างประสิทธิภาพในเรื่องการใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวนความสะดวกแก่ข้าราชการ
เมื่อประธานาธิบดี ซูฮาร์โตได้อำนาจในการบริหารประเทศ สิ่งที่ได้ทำ คือ การใช้กฎหมายบังคับให้ข้าราชการเป็นสมาชิกถาวรของสมาคมขาาชการแต่ละอาชีพที่รวมตัวกันจัดตั้งเป้นสำนักงานข้าราชการพลเรือนที่มีรูปแบบการจัดตั้งในลักษณะบรรษัท ที่มีชื่เอเต็มเรียกว่า "คอร์ปส์ เปกาวาอี เนเกรี" สำนักงานที่เป้ฯตัวแทนรักษาผลประโยชน์ของข้าราชการพลเรือนแตะละสาขา ที่มิใช่จะต้องรับผิดชอบต่อหน่วยงานราชการที่ตนเองสังกัดอยู่เท่านั้น แต่จะต้องทำตัวเป็นลูกจ้างที่ดีของรัฐบาลโดยถูกกฎหมายและวินัยข้าราชการบังคับให้เป้นสมาชิกของพรรคโกลคาร์ในเวลาเดียวกันด้วย เพราะโกลคาร์คอือ งอค์การทางการเมืองถูกกฎหมายเพียงองค์การเดียวทีคอร์ปต้องเป็นสมาชิกถาวร
ระบบราชการของอินโดนีเซียตั้งแต่ได้รับเอกราชก็ไม่ต่างกับประเทศที่ได้รับเอกราชใหม่ๆ ที่ต้องการปรับตัว ปรับกำลังคน แต่มาถูกจำกัดให้เป็ฯระบบที่ถูกกำหนดโดยพรรคการเมืองที่ขึ้นตรงต่อประธานาธิบดี ซูฮาร์โต ซึ่งเป็ฯระบบที่ทำเพื่อบุคคล ไม่ใช่เพื่อประทเศชาติ ข้าราชการยุคนี้จึงเป็นยุคที่ทำงานช้า ขาดความโปร่งใส ขาดความรับผิดชอบและขาดการริเริ่ม บางคร้งมีการคอรัปชั่น จึงจำเป็นต้องปฏิรูปอย่างมาก
หลังยุคของประธานาธิบดี ซุฮาร์โต จึงเกิดการเคลื่อไหวปฏิรูป และการะจายอำนาจภายในยุคระเบียบใหม่ ของรัฐบาลในปี 1988 และรัฐบาลได้ผ่านกฎหมายการกระจายอำนาจสู่ส่วนภูมิภาค และกฎหมายการบริหารข้อาราชการเปิดให้มีการปฏิรูปการบริการภาครัฐในอินโดนีเซียอย่างจริงจัง นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยอินโดนีเซียท่านหนึ่งมองว่า กฎหมายทั้งสองฉบับ เป็นการก้าวย่างที่ถูกต้ง อต่ยังขาดการเป็นผุ้นำที่เข้มแข็ง มุ่งมั่น เพื่อนำทางสู่บทสรุปตามตรรกของการปฏิรูปที่เพิ่มสมรรถนะของข้าราชการทำให้ข้าราชการมีศักยภาพในการดูแล ช่วยสนับสนุนให้การปกครองสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายของประเทศ และเป้ฯการยกระดับมาตรฐานคุณาพชีวิตของประชาชน รวมทั้งต้องการปฏิรูประบบราชการทั้งในกรอบของความคิดเชิงสถาบัน และในส่วนของประเด็นตางๆ ทางจริยธรรม ซึ่งต้องปรับตัวให้เข้ากับยุคโลกาภิวัตน์ที่รัฐบาลอินโดนีเซียต้องตระหนัก และจำเป็นต้องปรับโครงสร้างระบบราชการโดยยกระดับ คุณภาพของข้าราชการและการพัฒนาระบบให้มีประสิทธิภาพทันสมัย
จากสภาพความซับซ้อนในสังคมที่มีประชากรกว่า 247 ล้านคน และกระจายกันอยู่ แม้ว่ามีความเป็นไปได้ที่จะมีการปฏิรูปในอินโดนีเซียแต่อย่างไรก็ตามน้ำหนักของการปฏิรูปยังคงต้องผ่านกับอดีตของอินโดนีเซียจนถึงที่หมายของความสำเร็จ การมีผุ้นำที่เข้มแข็งและกล้าตัดสินใจชี้นำการปฏิรูปเป็นเรื่องสำคัญมาก และหลายสิ่งที่ดำรงอยู่ในอินโดนีเซียยังคงเป้นคำถามใหญ่ และไม่มีใรสามารถทำนายเมื่อความซื่อสัตย์ การก่อให้เกิดผล การสร้างสรรค์ ความรับผิดชอบ และข้าราชกรที่ชำนาญการแบบมืออาชีพจะปรากฎในอินโดนีเซียเหมือนกับมุสลิมที่ดีทั้งหลายในอินโดนีเซียพูดในครั้งหนึ่งว่า "เป็นเจตนาของพระฮัลลอฮฺ"
รัฐบาลอินโดนีเซียในยุคปัจจุบันอยู่ภายใต้การนำของประธานาธิบดี ดร.ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน ดำรงตำแหน่งเป็นสมัยที่ 2 ซึ่งดำรงตำแหน่งวาระละ 5 ปี และโดยการปกครองระบอบสาธารณรัฐแบบประชาธิปไตย นั้น ดร. ซุซิโล บัมบัง ยูโดโยโน จึงเป้ฯทั้งประธานาธิบดี ประมุข และหัวหน้าฝ่ายบริหาร โดยมีรัฐมนตรีร่วมคณะ 35 คน
การเป็นรัฐบาลสมัยที่ 2 ต้องปรับคณะรัฐมนตีเป้นครั้งแรกในช่วง 2 ปีในวาระที่สองของประธานาธิบดี เนื่องจากปัญหา การฉ้อราษฎร์บังหลวง,ประสิทธิภาพการทำงานของพรรคร่วมรัฐบาล, พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมและประเด็นส่วนตัวของรัฐมนตรี, การแตกความสามัคคีระหว่งพรรคร่วมรัฐบาล..แม้สภานการณ์การเมืองในอินโดนีเซียยังคงมีเสถียรภาพ แต่ประชาชนมีความเชื่อมั่นต่อพรรครัฐบาล PD ลดลง เนื่องจากกรณีการทุจริตของนายนาซารุดดิน เหรัญญิกพรรค PD ในโครงการก่อสร้างสถานที่แข่งขันกีฬาซีเกมส์ ในขณะที่ประธานาธิบดียังคงได้รับความนิยม และรัฐบาลยังคงดำเนินการบริหารประเทศตามวิสัยทัศน์ พ.ศ. 2568 ที่ให้ความสำคัญใน 3 สาขาหลัก คือ การพึ่งพาตนเอง, ความสามารถในการแข่งขัน, มีอารยธรรมที่สูงส่ง โดยยังคงให้ความสำคัญกับการปฏิรูปและการพัฒนาประเทศการส่งเสริมบทบาท และผลประโยชน์ของอินโดนีเียอย่างต่อเนื่องซึ่งดำเนินนโยบายด้านเศรษฐกิจ รัฐบาลยังคงมุ่งเน้นการส่งเสริมการบริโภคภายในประเทศและการลงทุนจากต่างประเทศ ทั้งจัดการการดำเนินการพัฒนาประเทศตามแผนแม่บท เพื่อการพัฒนาเศราฐกิจปี พ.ศ. 2554-2568 ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาแห่งชาติระยะกลาง และระยะยาว เพื่อเพิ่มและชยายการพัฒนาเศรษบกิจอินโดนีเซยให้สามารถพึงพาตนเองได้ และมีความก้าวหน้ารวมทัี้งนโยบายการกระจายตลาดไปสู่ภูมิภาคต่างๆ การส่งเสริมการส่งออกการบริโภคภายในปะเทศ การส่งเสริมการลงทุนจากต่างชาติ เพื่อสนับสนุนแผน MP3EI โดยการแก้ไขกฎระเบียบด้านการลงทุน การออกมาตรการภาษีเพื่อเอื้อและจูงใจนักลงทุนต่างชาติ และการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมการผลิตภายในเพื่อทดแทนการนำเข้า โดยการกำหนดสาขชาเป้าหมายที่ให้ความสำคัญและให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม รวมทังให้ความสำคัฐกัลการส่งเสริมความมั่นคงด้านอาหาร ด้านพลังงาน และส่งเสริมการท่องเที่ยว โดยอินโดนีเซยตั้งเป้าหมายที่จะก้าวเป้ฯผุ้นำทางเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นลำดับ ที่ 1 ใน 10 ของโลกในปี พ.ศ. 2568 และเป็นลำดับที่ 1 ใน ปี พ.ศ. 2593
การจัดตั้งนโยบายทางความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมขององค์กร ในสังคมชนบท(โกตองโรยอง) ความคิดเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมขององค์กร หรือ CSR นั้น เป้รเรื่องใหม่ที่พูดกันในกระแสของโลกาภิวัตน์ที่ต้องการให้องค์กรทางธุรกิจเข้าไปมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม ในขณะเดียวกันองค์กรภาครัฐก็ต้องเอื้ออำนวยให้เกิดการพัฒนาไปพร้อมๆ กัน ซึ่งการจัดตั้งนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อมขององค์กร ในสังคมชนบทของอินโดนีเซียที่ได้จัดทำนั้น ต้องวางนโยบายให้สอดคล้องกับข้อกำหนดทางกฎหมายประเพณีในสังคมตามความเชื่อในศาสนา ที่ยังต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัดและสืบทอดกันมานานแล้ว โดยมีสาระสำคัญ คือ ควาผูกพันระหว่างสามีกับภรรยา พ่อแม่กับลูก และพลเเมืองต่อสังคม คื อการช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยกันในงานด้านต่างๆ เช่น การเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว การแต่งงาน และการสร้างบ้านที่อยู่อาศัย
วันพุธที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2560
วันอังคารที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2560
ฺBureaucracy : Thailand
ระบบราชการไทยได้มีการปฏิรูปสำคัญๆ มาหลายครั้ง ตั้งแต่ยุครัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปฏิรูประบบราชการแผ่นดินอีกครั้งใน พ.ศ. 2435 โดยได้ปฏิรูปโครงสร้างระบบราชการและจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินขึ้นใหม่ ซึ่งประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วนคือ
1 การปฏิรูปการบริหาราชการส่วนกลาง เช่น การยกเลิกจตุสดมภ์และการจัดการปกครองแบบมณฑล
2 การปฏิรูปการบริหาราชการส่วนภูมิภาค เช่น การจัดการปกครองแบบมณฑล
3 การปฏิรูประบบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น เช่น การจัดการปกครองแบบเทศาภิบาล (เทศบาล)
ยุครัชกาลที่ 7 แม้การปกครองประเทศจะมีความพลิผันมากมายและเป้ฯช่วงเปลี่ยนแปลงการปกครอง แต่ก็ได้มีการนำระบบคุณธรรม ซึ่งประกอบด้วย หลักความสามารถ หลักความเสมอภาค หลักความมั่นคง หลักความเป็นกลางทางการเมือง เข้ามาเป็ฯกรอบแนวทางการวางระบบข้าราชการพลเรือนสมัยใหม่ในระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2471 จากยุค พ.ศ. 2475 -พ.ศ. 2540 มีการพูถึงการปฏิรูปหลายครั้ง แต่ในทางปฏิบัติยังติดอยุ่ในกรอบดังนี้
- เน้นการแบ่งส่วนราชการ และการจัดอัตรากำลังข้าราชการ
- ปฏิรูประบบราชการด้วยการปรับปรุงการให้บริการประชาชน
- ส่งเสริมการมอบอำนาจ และแบ่งอำนาจการบริหาราชไปยังส่วนภูมิภาค
- การกำหนดชื่อ และความหมายของหน่วยงานระดับต่างๆ โดยเฉพาะหน่วยงานที่มีชื่อเรียกเป็นอย่างอื่น เช่น สำนัก สำนักงาน สำนักเลขาธิการ สถาบัน ศูนย์ ศูนย์บริการ สถานี สถานีทดลอง เป็นต้น เพื่อให้กระทรวง กรมต่างๆ ถือเป็นแบบปฏิบัติเดียวกัน
- มีการตั้งหน่วยงานใหม่ เช่น การจัดตั้งศาลปกครอง
- การเสนอกฎหมายใหม่ และการปรับปรุงกฎหมาย เช่น กฎหมายว่าด้วยข้อมูลและข่าวสารของทางราชการ การปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการระเบียบสำนักรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนเพ่อแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ การพัฒนาการบริการสาธารณะ การปรับปรุงประสทิะภาพกรมตำรวจ การปรับปรุงโครงสร้างคณะกรรมการข้าราชการอัยการ ฯลฯ
ในพ.ศ. 2540 มีการออกระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิรูประบบราชการเป็นครั้งแรก มีการจัดทำแผนแม่บทการปฏิรูปราชการ ซึ่งนับว่าเป็นแผนแม่บทการปฏิรูประบบราชการฉบับแรก โดยกำหนดหลักการ 2 หลักการ คือ
- การปรับบทบาท ภารกิจ และขนาดของหน่วยงานรัฐ
- การปรับปรุงระบบการทำงานของหน่วยงานรัฐ
ประเทศไทยเมื่อครั้งเชื่อมต่อเศรษฐกิจของไทยเข้ากับเศรษฐกิจโลกในการเปิดเสรีทางการเงิน ในเวลาไม่นานธุรกิจอุตสาหกรรมของไทยก็ล้มละลายต้องขายกิจการกันอย่างมโหฬาร ซึ่งความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจนั้น ภาครัฐไม่อาจปฏิเสธความรับผิดชอบได้ ประกอบกับการเรียร้องของประชาชนทำให้เกิดกระแสปฏิรูปใหม่ และมีการเสนอรัฐธรรมนูญปี พ.ศ. 2540
การปฏิรูประบบราชการไทยได้มีการนำเครื่องมือทางการบริหารใหม่ๆ มาใช้อย่างแพร่หลาย และปรากฎเป็นรูปธรรมเมื่อมีการประกาศใช้พระราชบัญัติและระเบียบบริหารราชการแผ่นดินเมื่อ ตุลาคม 2545 ซึ่งทำให้มีการปรับโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการใหม่จาก 14 กระทรวง 1 ทบวง มาเป็ฯ 20 กระทรวง และได้กำหนดให้มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) โดยให้เป็ฯหน่วยงานขับเคลื่อนการปฏิรูประบบราชการ การปฏิรูประบบราชการในยุคนี้จึงเรียกว่า "การพัฒนาระบบราชการ" เครื่องมือที่สำคัญคือ
- แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546-2550)
- พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ซึ่งออกตามมาตรา 3/1 และมาตรา 71/10 (5) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5 ) พ.ศ. 2545
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการมอบอำนาจ พ.ศ. 2546
- โครงการพัฒนาผุ้นำการบริหารการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นการจัดการเรียนรู้จากการปฏิบัติ เพื่อพัฒนาผู้ว่าราชการจังหวัด และผุ้บริหารของพระทรวงนำร่องในการบริหารการเปลี่ยนแปลง ตามหลักการ และแนวทางในการพัฒนาระบบราชการ
โครงสร้างราชการไทย ปัจจุบันโครงสร้างข้าราชการไทยมีลักษณะซับซ้อน แม้จะมีความพยายามในการลดจำนวนข้อราชการลงโดยวิธีการต่างๆ เช่น การเกษียณก่อนอายุ การยุบหน่วยงานบางหน่วยงานเข้าด้วยกัน อย่างไรก็ตามยังไม่สามารถลดจำนวนข้าราชการลงได้ตามจำนวนที่ต้องการ นอกจากนั้นโครงกสร้างหน่วยงานกลับมีการขยายมากขึ้น ทำให้จำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานในระบบราชการมีลักษณะเป็นลูกจ้างตามสัญญาจ้างมากขึ้น จึงไม่สะท้อนภาพที่แท้จริงของโครงสร้างข้าราชการ
ด้านระบบการทำงาน ปัจจุบันระบบราชการไทยเน้นการปฏิบัติหน้าที่รับผิดชอบ โดยจำแนกบุคลากรตามโครงสร้างองค์กร เพื่อให้สามารถมอบหมายงานเฉพาะได้ ทำให้ระบบการทำงานที่เป็นอยุ่ ยึดติดกฎระเบียบและสายการบังคับบัญชา จึงไม่สอดคล้องกับสภาพลักษณะงานจริงที่ต้องมีลักษณะเป็นพลวัต ระบบราชการจึงไม่รองรับการเปลี่ยนแปลงจากสภาพแวดล้อมภายนอกได้อย่างทันท่วงที
- "ระบบบริาหรราชการของราชอาณาจักรไทย", สำนักงาน ก.พ.
1 การปฏิรูปการบริหาราชการส่วนกลาง เช่น การยกเลิกจตุสดมภ์และการจัดการปกครองแบบมณฑล
2 การปฏิรูปการบริหาราชการส่วนภูมิภาค เช่น การจัดการปกครองแบบมณฑล
3 การปฏิรูประบบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น เช่น การจัดการปกครองแบบเทศาภิบาล (เทศบาล)
ยุครัชกาลที่ 7 แม้การปกครองประเทศจะมีความพลิผันมากมายและเป้ฯช่วงเปลี่ยนแปลงการปกครอง แต่ก็ได้มีการนำระบบคุณธรรม ซึ่งประกอบด้วย หลักความสามารถ หลักความเสมอภาค หลักความมั่นคง หลักความเป็นกลางทางการเมือง เข้ามาเป็ฯกรอบแนวทางการวางระบบข้าราชการพลเรือนสมัยใหม่ในระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2471 จากยุค พ.ศ. 2475 -พ.ศ. 2540 มีการพูถึงการปฏิรูปหลายครั้ง แต่ในทางปฏิบัติยังติดอยุ่ในกรอบดังนี้
- เน้นการแบ่งส่วนราชการ และการจัดอัตรากำลังข้าราชการ
- ปฏิรูประบบราชการด้วยการปรับปรุงการให้บริการประชาชน
- ส่งเสริมการมอบอำนาจ และแบ่งอำนาจการบริหาราชไปยังส่วนภูมิภาค
- การกำหนดชื่อ และความหมายของหน่วยงานระดับต่างๆ โดยเฉพาะหน่วยงานที่มีชื่อเรียกเป็นอย่างอื่น เช่น สำนัก สำนักงาน สำนักเลขาธิการ สถาบัน ศูนย์ ศูนย์บริการ สถานี สถานีทดลอง เป็นต้น เพื่อให้กระทรวง กรมต่างๆ ถือเป็นแบบปฏิบัติเดียวกัน
- การเสนอกฎหมายใหม่ และการปรับปรุงกฎหมาย เช่น กฎหมายว่าด้วยข้อมูลและข่าวสารของทางราชการ การปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการระเบียบสำนักรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนเพ่อแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ การพัฒนาการบริการสาธารณะ การปรับปรุงประสทิะภาพกรมตำรวจ การปรับปรุงโครงสร้างคณะกรรมการข้าราชการอัยการ ฯลฯ
ในพ.ศ. 2540 มีการออกระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิรูประบบราชการเป็นครั้งแรก มีการจัดทำแผนแม่บทการปฏิรูปราชการ ซึ่งนับว่าเป็นแผนแม่บทการปฏิรูประบบราชการฉบับแรก โดยกำหนดหลักการ 2 หลักการ คือ
- การปรับบทบาท ภารกิจ และขนาดของหน่วยงานรัฐ
- การปรับปรุงระบบการทำงานของหน่วยงานรัฐ
ประเทศไทยเมื่อครั้งเชื่อมต่อเศรษฐกิจของไทยเข้ากับเศรษฐกิจโลกในการเปิดเสรีทางการเงิน ในเวลาไม่นานธุรกิจอุตสาหกรรมของไทยก็ล้มละลายต้องขายกิจการกันอย่างมโหฬาร ซึ่งความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจนั้น ภาครัฐไม่อาจปฏิเสธความรับผิดชอบได้ ประกอบกับการเรียร้องของประชาชนทำให้เกิดกระแสปฏิรูปใหม่ และมีการเสนอรัฐธรรมนูญปี พ.ศ. 2540
การปฏิรูประบบราชการไทยได้มีการนำเครื่องมือทางการบริหารใหม่ๆ มาใช้อย่างแพร่หลาย และปรากฎเป็นรูปธรรมเมื่อมีการประกาศใช้พระราชบัญัติและระเบียบบริหารราชการแผ่นดินเมื่อ ตุลาคม 2545 ซึ่งทำให้มีการปรับโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการใหม่จาก 14 กระทรวง 1 ทบวง มาเป็ฯ 20 กระทรวง และได้กำหนดให้มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) โดยให้เป็ฯหน่วยงานขับเคลื่อนการปฏิรูประบบราชการ การปฏิรูประบบราชการในยุคนี้จึงเรียกว่า "การพัฒนาระบบราชการ" เครื่องมือที่สำคัญคือ
- แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546-2550)
- พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ซึ่งออกตามมาตรา 3/1 และมาตรา 71/10 (5) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5 ) พ.ศ. 2545
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการมอบอำนาจ พ.ศ. 2546
- โครงการพัฒนาผุ้นำการบริหารการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นการจัดการเรียนรู้จากการปฏิบัติ เพื่อพัฒนาผู้ว่าราชการจังหวัด และผุ้บริหารของพระทรวงนำร่องในการบริหารการเปลี่ยนแปลง ตามหลักการ และแนวทางในการพัฒนาระบบราชการ
โครงสร้างราชการไทย ปัจจุบันโครงสร้างข้าราชการไทยมีลักษณะซับซ้อน แม้จะมีความพยายามในการลดจำนวนข้อราชการลงโดยวิธีการต่างๆ เช่น การเกษียณก่อนอายุ การยุบหน่วยงานบางหน่วยงานเข้าด้วยกัน อย่างไรก็ตามยังไม่สามารถลดจำนวนข้าราชการลงได้ตามจำนวนที่ต้องการ นอกจากนั้นโครงกสร้างหน่วยงานกลับมีการขยายมากขึ้น ทำให้จำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานในระบบราชการมีลักษณะเป็นลูกจ้างตามสัญญาจ้างมากขึ้น จึงไม่สะท้อนภาพที่แท้จริงของโครงสร้างข้าราชการ
ด้านระบบการทำงาน ปัจจุบันระบบราชการไทยเน้นการปฏิบัติหน้าที่รับผิดชอบ โดยจำแนกบุคลากรตามโครงสร้างองค์กร เพื่อให้สามารถมอบหมายงานเฉพาะได้ ทำให้ระบบการทำงานที่เป็นอยุ่ ยึดติดกฎระเบียบและสายการบังคับบัญชา จึงไม่สอดคล้องกับสภาพลักษณะงานจริงที่ต้องมีลักษณะเป็นพลวัต ระบบราชการจึงไม่รองรับการเปลี่ยนแปลงจากสภาพแวดล้อมภายนอกได้อย่างทันท่วงที
- "ระบบบริาหรราชการของราชอาณาจักรไทย", สำนักงาน ก.พ.
ฺBureaucracy : Malaysia
ระบบข้าราชการพลเรือนมาเลเซีย รู้จักอย่างเป็ฯทางการในชื่อ ข้าราชการพลเรือนมลายู ถือว่าเป็นกุญแจสำคัญในด้านเศรษฐกิจและการพัฒนาทางสังคมของประเทศการบริหารสาธารณะในประเทศมาเลเซียนี้มีบันทึกที่น่าสนใจ ซึ่งถูกตีกรอบโดยประวัติศาสตร์การพัฒนาของประเทศและสถาบันทางสงคมและการเมืองในช่วงก่อนจะเป็นเอกราชอังกฤษได้นำโครงสร้างและการปฏิบัติที่จะช่วยให้การบริการขั้นพื้นฐานต่างๆ แก่ประชาชน เพื่อรักษากฎหมายและระเีบียบที่สอดคล้องกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจแปละการเมืองโครงสร้างและการปฏิวัติเหล่านั้นเป็นพื้นฐาของราชการพลเรือนมลายู ระบบข้าราชการพลเรือนของมาเลเซียจึงได้สืบทอมาจากการบริการสาธารณะของอังกฤษที่มีการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญ ในช่วง 50 ปีที่ผ่่านมาจากประวัติศาสตร์การบริหารระบบราชกำร ของมาเลเซีย เร่ิมก่อตั้งเมื่อปลฃาย พงศ. 2243 โดยบริษัท อินเียตะวันออก ได้มาที่ปีนังในช่วงเวลานั้ และมีการดึงดูดนักวิชาการที่ดีที่สุดและฉลาดที่สุดจากประเทศอังกฤษเพื่อแต่างตั้งให้เป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ
จากรายงานนอร์ธโคต-เทรเวลยาน ใน พ.ศ. 2388 ได้มีการวางลักษณะของการบริการสาธารณะ โดยเน้นย้ำว่า
- ข้าราชการพลเรือนที่เป็ฯกลางทางการเมือง หมายถึง ความจงรักภักดี ที่สมบุรณ์ต่อรัฐบาล โดยไม่คำนึงถึงมุมองทางการเมือง
- การบริการสาธารณะระดับสูง ควรมีความเป้ฯธรรมและคำแนะนำที่เหมาะสม ทุ่มเทให้กับผลประดยชน์ของประชาชน และเชื่อฟังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงและคณะรัฐมนตรี
- บริการสาธารณะควรให้ความมั่นคงอย่างต่อเนื่องมีการเปลี่ยนแปลงในรัฐบาล ต่อมาได้มีการจัดรูปแบบโครงสร้างการบริหารราชกรแผ่นดิน ออกเป็น 3 แบบดังนี้
อาณานิคมในช่องแคบ หมายถึง ช่องแคบมะละกามีดินแดนอยู่ 3 ส่วน คือ เกาะปีนัง เกาะสิงคโปร์ และมะละกาซึ่งตั้งอยุ่บนคาบสมุทรมลายู มีการจัดการปกครองด้วยระบบหน่วยบริหารการปกครอง หน่วยเดียว รัฐบาลอังกฤษได้จัดส่งข้าหลวงใหญ่มาปกครองโดยตรง ถือว่าเป็นอาณานิคมซึ่งขึ้นตรงต่อพระมหากษัตริย์ของอังกฤษ การบริหารงานโดยมีข้าหลวง สภาพบริหาร สภานิติบัญญัติ ซึ่งล้วนแต่เป้ฯชาวอังกฤษทั้งสิ้นที่ได้รับการแต่งตั้งทำหน้าที่ดดยมีข้าหลวงใหญ่เป็นหัวหน้า
ดินแดนรัฐสหพันธ์มาเลย ได้แก่ ดินแดน 4 รัฐ ที่อยุ่บนคาบสมุทรมลายุ ได้แก่ เปรัค สลังวอร์ ปาหัง และรัฐเนกรีเซมบิลัน ซึ่งรัฐเหล่านี้อังกฤษได้ให้สุลต่าานปกครองต่อไป โดยที่อังกฤษได้ส่งที่ปรึกษาด้านถิ่นที่อยุ่มาประจำในแต่ละรัฐ โดยมีอำนาจเหนือสุลต่าน ที่รปรึกษาขึ้นตรงต่อข้าหลวงใหญ่ที่ประจำอยู่สิงคโปร์ และมีศูนย์ประสานงานควบคุมรูปแบบการปกครองอยู่ที่รัฐสลังงอร์
ดินแดนที่ไม่อยู่ในสหพันธรัฐ ได้แก่ ดินแดนที่เหลืออยู่บนคาบสมุทรมลายูอีก 5 รัฐ ซึ่ง 4 รัฐได้เคยอยู่ กับอาณาจักรสยามมาก่อน และได้ตกเป็ฯของอังกฤษเพื่อแลกกับ ความเป้ฯเอกราชของไทย ได้แก่ ไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู และปะลิส ่วนหน่ง รัฐที่เหลือ คือ ยะโฮร์ โดยอังกฤษได้ให้สุลต่านปกครองต่อไป แต่ให้ที่ปรึกษาควบคุมดูแลอยู่อีกที่หนึ่ง จะปล่อยให้มีอิสระในการปกครอง ค่อนข้างสุงหว่าการปกครองในรูปแบบสหพันธรัฐ
โครงสร้างพื้นฐานนี้เป้ฯการตั้งรูปแบบของข้าราชการพลเรือนมลายู นช่วง 50 ปีที่ผ่านมานับตั้งแต่ได้รับเอกราชในขณธที่ปลาย พ.ศ. 2343 ได้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเป็นแบบที่เรียกว่าข้าราชการพลเรือน สหพันธรัฐมลายู ซึ่งเป็นรูปแบบที่ให้อำนาจบริหารส่วนกลางในการสรรหาและแต่งตั้งและนำไปใช้กับรัฐต่างๆ ของมาเลย์ด้วย การาวบอำนาจเข้าสุ่ศูนย์กลางนี้ ขั้นตอนการสรรหาได้รับการปรับปรุงให้มีความน่าสนใจ และดุงดูดผุ้สมัคร ที่มีคุณสมบัติเข้ามาในองค์การ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดการที่ดีและมีประสิทธิภาพของข้าราชการพลเรือน
ข้าราชการพลเรือนสหพันธรัฐมลายู ได้เร่ิมมีการปรับเปลี่นแะขยายตัว เพื่อสร้างระบบราชการในสังกัดภายใต้ชื่อ กาบริการทางการปกครองของมาเลย โดยปี พ.ศ. 2446 ข้าราชกาพลเรือน มีชาวมลายูถึง 332 คน จากเจ้าหน้าที่ทั้งหมด 6,607 คน ในการให้บริการของภาครัฐ นาย ราชาชูลัน บี อับดุลลา ผุ้ซึ่งก่อนหน้านี้ได้เคยเข้าร่วมการบริหารราชการของภาครัฐในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งต้งในเมืองเปรัค กลายมาเป้นเจ้าหน้าที่มาเลย์ท้องถิ่นคนแรกในเมืองเปรัค ตคอนเหนือจากการรับตำแหน่งดังกล่าวถือเป็ฯการยับย้งการควบคุม จากชาวยุโรปในการบริการราชการแผ่นดิน ภายใต้การขยายตัวของระบบข้าราชการพลเรือนสหพันธรัฐมลายู และการบริกาทางการปกครองของมาเลย์ รวมั้งกาปฏิรูปด้านการปกครองต่างๆ จำนวนมากถูกนำมาใช้เพื่อยกระดับและปรับปรุงการบริการ ในหลุ่มอื่นๆ ของคณะกรรมการเตรียมการจัดวาระการประชุมและ เงินเดือนของคณะทำงาน อีกทั้งการจำแนกคณะกรรมาธิการบัคนิล เพื่อกำหนและปรับหลักการให้บริการ ซึ่งเกี่ยวข้องกับระบบการจ่ายค่าตอบแทน การลาออก บำเหน็จบำนาญ แลเะงื่อนไขอื่นๆ ของการให้บริการ เมื่ออังกฤษได้ออกจากแหลมมลายู ระหว่งการยึดครองของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2484 ถือว่าเป็นอีกหนึ่งบททดสอบ ที่สำคัญของการบริาหราชการแผ่นดินมาเลเซีย ด้วยความกล้าหาญ ของเจ้าหน้าที่มลายูทั้ง 85 คน ที่มีบทบาทสำคัญในการบริหาร ระบบราชการของประเทศในช่วงเวลาดังกล่าว ซึ่งบริหารจัดการประเทศ ได้เป็นอย่างดี ตลดอจนเป็ฯกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในการเป็นเอกราชของประเทศ
การก่อตั้งระบบการบริาหราชการแบบครบวงจรได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อมีการรวมการบริหารด้าต่างๆ เช่น การแพทย์ การศึกษา กฎหมาย ตำรวจ ถูกรวมกนเพื่อจัดตั้งการบริการด้านการบริหารอาณานิคม ซึ่งมีข้าราชการพลเรือนมลายูเป็นส่วนประกอบ
ต่อมาข้าราชการพลเรือนมลายู ได้รวมตัวกับภาคส่วนที่รู้จักกันในนาม การให้บริการด้านการปกครองและการทูต บริการชั้นนำที่มีการเปลี่ยนบทบาทจากเป็ฯภาคส่วนที่จัดการเรื่องการพัฒนา เป็นภาคส่วนที่จะอำนวยความสะดวก และขณะนั้นในฐานะผุ้ริเริ่ม หน่วยงานได้รับการคาดหวังว่าจะเป็นเครื่องมือในการผลักดันประเทศไปข้างหน้า เพื่อให้บรรลุการปกครองทางเศรษฐกิจ การเสริมสร้างการพัฒนาทุนมนุษย์ที่อยู่บนพื้นฐานความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจและสังคม รวมไปถึงการพัฒนาที่ยั่งยืนและคุณภาพชีวิต อีกทั้งการสร้างความเข้มแข็งในสถาบันการศึกษา และความสามารถในการดำเนินการ การให้บริการด้านการปกครองและการทูต ได้รับการระบุโดยทั่วไปว่าเป็นหน่วยงานที่ทรงเกี่ยรติ ซึ่ง ADS มีทั้งเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโสในระดับรัฐบาลกลางและระดับรัฐ ลักษณะขององค์การ คือ เจ้าหน้าที่จะให้บริการและทำงานในฐานะผู้บริหาร และผุ้พัฒนานโยบายหน่วยงานภาครัฐหรือกระทรวงต่างๆ ซึ่งมีมุมมอง วัตถุประสงค์ และบทบาทที่ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ทั้งมีบทบาทเป็ฯที่รปึกษาในการดำรงตำแหน่งในกระทรวงที่เกี่ยวข้อง
ข้าราชการพลเรือนมลายู มีรากฐานในระบบการบริหารราชการของอาณานิคมซึ่งก่อตั้งดดยอังกฤษ ดังนั้นมาเลเซียจึง "สืบทอด" ระบบข้าราขชการพลเรือนที่มีประสิทธิภาพไม่น้อยไปกว่าระบบที่ชาวต่างชาติที่อยุ่ในมาเลเซียวางไว้ให้ สำหรับสิ่งที่มีความแตกต่างกับระบบอาณานิคมอื่นๆ ตรงที่อังกฤษคงไว้ซึ่งโครงสร้างทางสังคมแบบดั้งเดิม และสถาบันทางการเมืองที่มีการเปลี่ยนแปลงบางอย่าง แม้ก่อนจะเป็นเอกราช อังกฤษทำให้มั่นจได้ว่าขุนนางมาเลย์และชนชั้นสูงทางการเมืองจะได้รับการดูแลเป็นอย่างดีสำหรับบทบาทในระบบการบริหารอาณานิคม การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในช่วงที่ไดรับเอกราช คือ "นโยบายการบริหารการให้บริการสาธารณะของมาเลเซีย" สิงนี้ถือว่าเป้ฯวาระสำคัญของพันธ์มิตรรัฐบาลในการที่จะทำให้เป็นระบบบริหารราชการแผ่นดินมาเลเซียอย่างสมบุรณ์
สิงหาคม พ.ศ. 2511 การจัดตั้งสำนักงานสหพันธ์รัฐได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "หน่วยงานข้าราชการพลเรือน โดยมีเป้าหมายหลักคือ การคิดริเริ่ม พัฒนาตลอดจนปรับเปลี่ยนโครงสร้างของระบบข้าราชการพลเรือนมาเลเซียเพื่อตอบสนองวาระการพัฒนาประเทศ หน่วยงานข้าราชการพลเรือน ยังคงมีบทบาทสำคัญในปีทีผ่านมาต่อไปนี้ ตามที่ เมอเดก้า ได้กล่าวไว้ว่า "มาเลเซยได้ผ่านความยากลำบากต่อไปในช่วงปีแรกหลังจากที่เป็ฯเอกราช เช่น ปัญหาฉุกเฉินในปี พ.ศ. 2512 จะเป็นประเด็นความหลากหลายทางเชื้อชาติของประชากร อีกทั้เงระบบการบริการสาธารณะที่ได้รับการวางแผนอย่างต่อเนื่อง แนวทางการบำรุงรักษาและการดำเนินนโยบายของรัฐบาลและโปรแกรม ที่จะมุ่งไปที่การประสบความสำเร็จในการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และทุนทางสังคมในการเดินหน้าของประเทศที่มีต่อแารพัฒนาและก้าวไปสู่าภาวะทันสมัย
ระบบการบริหารสาธารณะมีบทบาทที่แข็งแกร่งในภาคอุตสาหกรรม การเกษตร และสังคม ผ่านแผน 5 ปี และนโยบายเศรษฐกิจใมห่ ของปี พ.ศ. 2513 ซึ่งจะช่วยรักษาความสมดุลระหว่างการพัฒนาชนบทและอุตาสาหกรรมให้เกิดแรงกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจต่อไปขณะที่การจัดการผลกระทบทางสังคมของประทเศที่มีความหลากหลายด้านเชื้อชาติ ตลอหลายปีที่ผ่านมาระบบการบริการสาธารณะมีการพัฒนาและได้พบกับความท้าทายที่ต้องเผชิญกับประเทศที่มีการปรับตัวการเปลี่ยนแปลง การปรับสภาพแวดล้อมเข้าหากันทั้งในด้านการเมืองเศรษฐกิจ และสังคม ที่มีส่วนทำให้เป้นหนึ่งประเทศในภูมิภาคที่ทันมัยและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง..
ในปัจจุบันมาเลซียที่เคยไ้รับอิทธิพลของโครงสร้างทางการเมืองการปกครองของประเทศอังกฤษตามที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น คือ การปกครองด้วยดครงสร้างของระบบรัฐสภา ยกเวนระบบรัฐบาล ที่มีทั้งระบบรัฐบาลกลางหรือสหพันธ์ และรัฐบาลแห่งรัฐ ึ่งการจัดระบบราชการต่างรองรับโครงสร้างข้างต้นในส่วนกลางมีกระทรวงต่างๆ ทั้งหมด 24 กระทรวง ในระดับสหพันธรัฐจะส่งตัวแทนของตนเข้าไปอยู่ประจำรัฐต่างๆ เพราะโครงสร้างการบริหารงานในแต่ละรัฐจะมีกระทรวงที่เลี่ยนแบบโครงสร้างการปกครองระดับชาติ ทั้งนี้เพื่อให้ตวแทนจากสหพันธ์คอยให้คำปรึกษาแนะนำ เป็นสื่อกลางระหว่งรัฐบาล มลนรัฐ และรัฐบาลแห่งสหพันธ์การมีโครงสร้างในการแบ่งกระทรวงที่ถอดแบบมาจากส่วนกลางนี้เป็นเครื่องมือในการควบคุมการดำเนินงานให้เป้นไปตามนโยบายของรฐบาลแห่งสหพันธ์ โครงสร้างข้าราชการั้งแต่ระดดับปลัดกระทรวง อธิบดีกรม ผุ้อำนวยการกอง ฯลฯ ทั้งในระดับสหพันธรัฐหรือระดับรัฐต่างถูกกำหนดบทบาทที่จะสนองนดยบายรัฐบาลในฐานะผุ้ปฏิบัติงานทั้งสิ้น
นอกจากนี้การบริหารสวนกลางได้สั่งการและมอบนโยบายการปฏิบัติงาน ให้การบริการส่วนภูมิภาค ที่ข้าราชการได้รับการแต่งตั้งจากสวนกลางไปบริหารตั้งแต่ระดับอำเภอ ระดับตำบล และระดับหมู่บ้าน ซึ่งจะเห็นได้ว่าโครงสร้างระบบราชการของประเทศมาเลเซียเข้มแข็.และมีอิทิพลถึงระดับชุมชน
การปฏิรูประบบราชการในระดับโครงสร้างที่สำคัญ คือ การจัดตั้งกระทรวงพัฒนาแห่งชาติและชนบท เพื่อทำหน้าที่ในการประสานงานและพัฒนา รวมทั้งผลักดันและเร่งรัดพัฒนา ตลอดจนจัดทำ "สมุดปกแดง"อันเป็นที่มาของแผนพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่สำคัญในการปฏิรูประบบราชการในช่วงเริ่มแรกก็คือการพัฒนาและอบรมเจ้าหน้าที่ให้สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ เพื่อมีข้าราชการพลเรือนที่ก้าวหน้า,มีประสิทธิภาพ มีความสามารถ, และประหยัดพัฒนนาข้าราชการให้มีความชำนาญ และมีความสามารถที่ยั่งยืนทันกับควมก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ วิชาชีพ และวิชาการ ตลอดจนความก้ายหน้าด้านการจัดการทั้งภายในและภายนอกราชการ มีกาเข้าออกของเจ้าหน้าที่น้อยที่สุด มีการบริหารการฝึกอบรมที่เป้นแบบเดี่ยวกันทั้งระบบ โดยให้สอดคล้องกับนดยบายของรัฐบาล มีการปฏิบัติต่อข้าราชการพลเรือนอย่างยุติธรรมและสม่ำเสมอในเรื่องการฝึกอบรม..
ในปี พ.ศ. 2523 รัฐบาลได้ปรับนโยบายโดยการผลักดันให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนามากยิ่งขึ้น ดดยอดีตนายกรัฐมนตรีมหาธีร์ มูฮัมหมัด ได้แระกาศแนวคิดที่จะให้มีการร่วมมือกันในรูปของ "บริษัทมาเลเซีย" เพื่อเร่งรัดการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
ในปี พ.ศ. 2539 ประเทศมาเลเซียได้มีการปฏิรูปราชการอีกครั้ง นโยบายแห่งขาตินี้จะเน้นการปฏิรูปภาคราชการในเรื่องการปฏิรูปการจัดระบบการบริหารและการจัดการภาคราชการ และเรื่องการปฏิรูปการจัดการระบบการให้บริการแก่ประชาชน จุดมุ่งหมายในการปฏิรูปภาคราชการครั้งนี้ เพื่อที่จะเผชิญความท้าทายกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
รัฐบาลปัจจุบันที่นำโดย นายกรัฐมนตรี นาจิบ ราซัค ได้ำเนินนโยบายสานต่อวิสัยทัศน์ อย่างต่อเนื่อง เืพ่อให้มาเลเซียเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในปี พ.ศ. 2563 ให้สำเร็จ
- ระบบการบริาหราชการของ สหพันธรัฐ มาเลเซีย, สภาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำนักงาน ก.พ.
จากรายงานนอร์ธโคต-เทรเวลยาน ใน พ.ศ. 2388 ได้มีการวางลักษณะของการบริการสาธารณะ โดยเน้นย้ำว่า
- ข้าราชการพลเรือนที่เป็ฯกลางทางการเมือง หมายถึง ความจงรักภักดี ที่สมบุรณ์ต่อรัฐบาล โดยไม่คำนึงถึงมุมองทางการเมือง
- การบริการสาธารณะระดับสูง ควรมีความเป้ฯธรรมและคำแนะนำที่เหมาะสม ทุ่มเทให้กับผลประดยชน์ของประชาชน และเชื่อฟังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงและคณะรัฐมนตรี
- บริการสาธารณะควรให้ความมั่นคงอย่างต่อเนื่องมีการเปลี่ยนแปลงในรัฐบาล ต่อมาได้มีการจัดรูปแบบโครงสร้างการบริหารราชกรแผ่นดิน ออกเป็น 3 แบบดังนี้
อาณานิคมในช่องแคบ หมายถึง ช่องแคบมะละกามีดินแดนอยู่ 3 ส่วน คือ เกาะปีนัง เกาะสิงคโปร์ และมะละกาซึ่งตั้งอยุ่บนคาบสมุทรมลายู มีการจัดการปกครองด้วยระบบหน่วยบริหารการปกครอง หน่วยเดียว รัฐบาลอังกฤษได้จัดส่งข้าหลวงใหญ่มาปกครองโดยตรง ถือว่าเป็นอาณานิคมซึ่งขึ้นตรงต่อพระมหากษัตริย์ของอังกฤษ การบริหารงานโดยมีข้าหลวง สภาพบริหาร สภานิติบัญญัติ ซึ่งล้วนแต่เป้ฯชาวอังกฤษทั้งสิ้นที่ได้รับการแต่งตั้งทำหน้าที่ดดยมีข้าหลวงใหญ่เป็นหัวหน้า
ดินแดนรัฐสหพันธ์มาเลย ได้แก่ ดินแดน 4 รัฐ ที่อยุ่บนคาบสมุทรมลายุ ได้แก่ เปรัค สลังวอร์ ปาหัง และรัฐเนกรีเซมบิลัน ซึ่งรัฐเหล่านี้อังกฤษได้ให้สุลต่าานปกครองต่อไป โดยที่อังกฤษได้ส่งที่ปรึกษาด้านถิ่นที่อยุ่มาประจำในแต่ละรัฐ โดยมีอำนาจเหนือสุลต่าน ที่รปรึกษาขึ้นตรงต่อข้าหลวงใหญ่ที่ประจำอยู่สิงคโปร์ และมีศูนย์ประสานงานควบคุมรูปแบบการปกครองอยู่ที่รัฐสลังงอร์
ดินแดนที่ไม่อยู่ในสหพันธรัฐ ได้แก่ ดินแดนที่เหลืออยู่บนคาบสมุทรมลายูอีก 5 รัฐ ซึ่ง 4 รัฐได้เคยอยู่ กับอาณาจักรสยามมาก่อน และได้ตกเป็ฯของอังกฤษเพื่อแลกกับ ความเป้ฯเอกราชของไทย ได้แก่ ไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู และปะลิส ่วนหน่ง รัฐที่เหลือ คือ ยะโฮร์ โดยอังกฤษได้ให้สุลต่านปกครองต่อไป แต่ให้ที่ปรึกษาควบคุมดูแลอยู่อีกที่หนึ่ง จะปล่อยให้มีอิสระในการปกครอง ค่อนข้างสุงหว่าการปกครองในรูปแบบสหพันธรัฐ
โครงสร้างพื้นฐานนี้เป้ฯการตั้งรูปแบบของข้าราชการพลเรือนมลายู นช่วง 50 ปีที่ผ่านมานับตั้งแต่ได้รับเอกราชในขณธที่ปลาย พ.ศ. 2343 ได้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเป็นแบบที่เรียกว่าข้าราชการพลเรือน สหพันธรัฐมลายู ซึ่งเป็นรูปแบบที่ให้อำนาจบริหารส่วนกลางในการสรรหาและแต่งตั้งและนำไปใช้กับรัฐต่างๆ ของมาเลย์ด้วย การาวบอำนาจเข้าสุ่ศูนย์กลางนี้ ขั้นตอนการสรรหาได้รับการปรับปรุงให้มีความน่าสนใจ และดุงดูดผุ้สมัคร ที่มีคุณสมบัติเข้ามาในองค์การ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดการที่ดีและมีประสิทธิภาพของข้าราชการพลเรือน
ข้าราชการพลเรือนสหพันธรัฐมลายู ได้เร่ิมมีการปรับเปลี่นแะขยายตัว เพื่อสร้างระบบราชการในสังกัดภายใต้ชื่อ กาบริการทางการปกครองของมาเลย โดยปี พ.ศ. 2446 ข้าราชกาพลเรือน มีชาวมลายูถึง 332 คน จากเจ้าหน้าที่ทั้งหมด 6,607 คน ในการให้บริการของภาครัฐ นาย ราชาชูลัน บี อับดุลลา ผุ้ซึ่งก่อนหน้านี้ได้เคยเข้าร่วมการบริหารราชการของภาครัฐในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งต้งในเมืองเปรัค กลายมาเป้นเจ้าหน้าที่มาเลย์ท้องถิ่นคนแรกในเมืองเปรัค ตคอนเหนือจากการรับตำแหน่งดังกล่าวถือเป็ฯการยับย้งการควบคุม จากชาวยุโรปในการบริการราชการแผ่นดิน ภายใต้การขยายตัวของระบบข้าราชการพลเรือนสหพันธรัฐมลายู และการบริกาทางการปกครองของมาเลย์ รวมั้งกาปฏิรูปด้านการปกครองต่างๆ จำนวนมากถูกนำมาใช้เพื่อยกระดับและปรับปรุงการบริการ ในหลุ่มอื่นๆ ของคณะกรรมการเตรียมการจัดวาระการประชุมและ เงินเดือนของคณะทำงาน อีกทั้งการจำแนกคณะกรรมาธิการบัคนิล เพื่อกำหนและปรับหลักการให้บริการ ซึ่งเกี่ยวข้องกับระบบการจ่ายค่าตอบแทน การลาออก บำเหน็จบำนาญ แลเะงื่อนไขอื่นๆ ของการให้บริการ เมื่ออังกฤษได้ออกจากแหลมมลายู ระหว่งการยึดครองของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2484 ถือว่าเป็นอีกหนึ่งบททดสอบ ที่สำคัญของการบริาหราชการแผ่นดินมาเลเซีย ด้วยความกล้าหาญ ของเจ้าหน้าที่มลายูทั้ง 85 คน ที่มีบทบาทสำคัญในการบริหาร ระบบราชการของประเทศในช่วงเวลาดังกล่าว ซึ่งบริหารจัดการประเทศ ได้เป็นอย่างดี ตลดอจนเป็ฯกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในการเป็นเอกราชของประเทศ
การก่อตั้งระบบการบริาหราชการแบบครบวงจรได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อมีการรวมการบริหารด้าต่างๆ เช่น การแพทย์ การศึกษา กฎหมาย ตำรวจ ถูกรวมกนเพื่อจัดตั้งการบริการด้านการบริหารอาณานิคม ซึ่งมีข้าราชการพลเรือนมลายูเป็นส่วนประกอบ
ต่อมาข้าราชการพลเรือนมลายู ได้รวมตัวกับภาคส่วนที่รู้จักกันในนาม การให้บริการด้านการปกครองและการทูต บริการชั้นนำที่มีการเปลี่ยนบทบาทจากเป็ฯภาคส่วนที่จัดการเรื่องการพัฒนา เป็นภาคส่วนที่จะอำนวยความสะดวก และขณะนั้นในฐานะผุ้ริเริ่ม หน่วยงานได้รับการคาดหวังว่าจะเป็นเครื่องมือในการผลักดันประเทศไปข้างหน้า เพื่อให้บรรลุการปกครองทางเศรษฐกิจ การเสริมสร้างการพัฒนาทุนมนุษย์ที่อยู่บนพื้นฐานความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจและสังคม รวมไปถึงการพัฒนาที่ยั่งยืนและคุณภาพชีวิต อีกทั้งการสร้างความเข้มแข็งในสถาบันการศึกษา และความสามารถในการดำเนินการ การให้บริการด้านการปกครองและการทูต ได้รับการระบุโดยทั่วไปว่าเป็นหน่วยงานที่ทรงเกี่ยรติ ซึ่ง ADS มีทั้งเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโสในระดับรัฐบาลกลางและระดับรัฐ ลักษณะขององค์การ คือ เจ้าหน้าที่จะให้บริการและทำงานในฐานะผู้บริหาร และผุ้พัฒนานโยบายหน่วยงานภาครัฐหรือกระทรวงต่างๆ ซึ่งมีมุมมอง วัตถุประสงค์ และบทบาทที่ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ทั้งมีบทบาทเป็ฯที่รปึกษาในการดำรงตำแหน่งในกระทรวงที่เกี่ยวข้อง
ข้าราชการพลเรือนมลายู มีรากฐานในระบบการบริหารราชการของอาณานิคมซึ่งก่อตั้งดดยอังกฤษ ดังนั้นมาเลเซียจึง "สืบทอด" ระบบข้าราขชการพลเรือนที่มีประสิทธิภาพไม่น้อยไปกว่าระบบที่ชาวต่างชาติที่อยุ่ในมาเลเซียวางไว้ให้ สำหรับสิ่งที่มีความแตกต่างกับระบบอาณานิคมอื่นๆ ตรงที่อังกฤษคงไว้ซึ่งโครงสร้างทางสังคมแบบดั้งเดิม และสถาบันทางการเมืองที่มีการเปลี่ยนแปลงบางอย่าง แม้ก่อนจะเป็นเอกราช อังกฤษทำให้มั่นจได้ว่าขุนนางมาเลย์และชนชั้นสูงทางการเมืองจะได้รับการดูแลเป็นอย่างดีสำหรับบทบาทในระบบการบริหารอาณานิคม การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในช่วงที่ไดรับเอกราช คือ "นโยบายการบริหารการให้บริการสาธารณะของมาเลเซีย" สิงนี้ถือว่าเป้ฯวาระสำคัญของพันธ์มิตรรัฐบาลในการที่จะทำให้เป็นระบบบริหารราชการแผ่นดินมาเลเซียอย่างสมบุรณ์
สิงหาคม พ.ศ. 2511 การจัดตั้งสำนักงานสหพันธ์รัฐได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "หน่วยงานข้าราชการพลเรือน โดยมีเป้าหมายหลักคือ การคิดริเริ่ม พัฒนาตลอดจนปรับเปลี่ยนโครงสร้างของระบบข้าราชการพลเรือนมาเลเซียเพื่อตอบสนองวาระการพัฒนาประเทศ หน่วยงานข้าราชการพลเรือน ยังคงมีบทบาทสำคัญในปีทีผ่านมาต่อไปนี้ ตามที่ เมอเดก้า ได้กล่าวไว้ว่า "มาเลเซยได้ผ่านความยากลำบากต่อไปในช่วงปีแรกหลังจากที่เป็ฯเอกราช เช่น ปัญหาฉุกเฉินในปี พ.ศ. 2512 จะเป็นประเด็นความหลากหลายทางเชื้อชาติของประชากร อีกทั้เงระบบการบริการสาธารณะที่ได้รับการวางแผนอย่างต่อเนื่อง แนวทางการบำรุงรักษาและการดำเนินนโยบายของรัฐบาลและโปรแกรม ที่จะมุ่งไปที่การประสบความสำเร็จในการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และทุนทางสังคมในการเดินหน้าของประเทศที่มีต่อแารพัฒนาและก้าวไปสู่าภาวะทันสมัย
ระบบการบริหารสาธารณะมีบทบาทที่แข็งแกร่งในภาคอุตสาหกรรม การเกษตร และสังคม ผ่านแผน 5 ปี และนโยบายเศรษฐกิจใมห่ ของปี พ.ศ. 2513 ซึ่งจะช่วยรักษาความสมดุลระหว่างการพัฒนาชนบทและอุตาสาหกรรมให้เกิดแรงกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจต่อไปขณะที่การจัดการผลกระทบทางสังคมของประทเศที่มีความหลากหลายด้านเชื้อชาติ ตลอหลายปีที่ผ่านมาระบบการบริการสาธารณะมีการพัฒนาและได้พบกับความท้าทายที่ต้องเผชิญกับประเทศที่มีการปรับตัวการเปลี่ยนแปลง การปรับสภาพแวดล้อมเข้าหากันทั้งในด้านการเมืองเศรษฐกิจ และสังคม ที่มีส่วนทำให้เป้นหนึ่งประเทศในภูมิภาคที่ทันมัยและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง..
ในปัจจุบันมาเลซียที่เคยไ้รับอิทธิพลของโครงสร้างทางการเมืองการปกครองของประเทศอังกฤษตามที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น คือ การปกครองด้วยดครงสร้างของระบบรัฐสภา ยกเวนระบบรัฐบาล ที่มีทั้งระบบรัฐบาลกลางหรือสหพันธ์ และรัฐบาลแห่งรัฐ ึ่งการจัดระบบราชการต่างรองรับโครงสร้างข้างต้นในส่วนกลางมีกระทรวงต่างๆ ทั้งหมด 24 กระทรวง ในระดับสหพันธรัฐจะส่งตัวแทนของตนเข้าไปอยู่ประจำรัฐต่างๆ เพราะโครงสร้างการบริหารงานในแต่ละรัฐจะมีกระทรวงที่เลี่ยนแบบโครงสร้างการปกครองระดับชาติ ทั้งนี้เพื่อให้ตวแทนจากสหพันธ์คอยให้คำปรึกษาแนะนำ เป็นสื่อกลางระหว่งรัฐบาล มลนรัฐ และรัฐบาลแห่งสหพันธ์การมีโครงสร้างในการแบ่งกระทรวงที่ถอดแบบมาจากส่วนกลางนี้เป็นเครื่องมือในการควบคุมการดำเนินงานให้เป้นไปตามนโยบายของรฐบาลแห่งสหพันธ์ โครงสร้างข้าราชการั้งแต่ระดดับปลัดกระทรวง อธิบดีกรม ผุ้อำนวยการกอง ฯลฯ ทั้งในระดับสหพันธรัฐหรือระดับรัฐต่างถูกกำหนดบทบาทที่จะสนองนดยบายรัฐบาลในฐานะผุ้ปฏิบัติงานทั้งสิ้น
นอกจากนี้การบริหารสวนกลางได้สั่งการและมอบนโยบายการปฏิบัติงาน ให้การบริการส่วนภูมิภาค ที่ข้าราชการได้รับการแต่งตั้งจากสวนกลางไปบริหารตั้งแต่ระดับอำเภอ ระดับตำบล และระดับหมู่บ้าน ซึ่งจะเห็นได้ว่าโครงสร้างระบบราชการของประเทศมาเลเซียเข้มแข็.และมีอิทิพลถึงระดับชุมชน
การปฏิรูประบบราชการในระดับโครงสร้างที่สำคัญ คือ การจัดตั้งกระทรวงพัฒนาแห่งชาติและชนบท เพื่อทำหน้าที่ในการประสานงานและพัฒนา รวมทั้งผลักดันและเร่งรัดพัฒนา ตลอดจนจัดทำ "สมุดปกแดง"อันเป็นที่มาของแผนพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่สำคัญในการปฏิรูประบบราชการในช่วงเริ่มแรกก็คือการพัฒนาและอบรมเจ้าหน้าที่ให้สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ เพื่อมีข้าราชการพลเรือนที่ก้าวหน้า,มีประสิทธิภาพ มีความสามารถ, และประหยัดพัฒนนาข้าราชการให้มีความชำนาญ และมีความสามารถที่ยั่งยืนทันกับควมก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ วิชาชีพ และวิชาการ ตลอดจนความก้ายหน้าด้านการจัดการทั้งภายในและภายนอกราชการ มีกาเข้าออกของเจ้าหน้าที่น้อยที่สุด มีการบริหารการฝึกอบรมที่เป้นแบบเดี่ยวกันทั้งระบบ โดยให้สอดคล้องกับนดยบายของรัฐบาล มีการปฏิบัติต่อข้าราชการพลเรือนอย่างยุติธรรมและสม่ำเสมอในเรื่องการฝึกอบรม..
ในปี พ.ศ. 2523 รัฐบาลได้ปรับนโยบายโดยการผลักดันให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนามากยิ่งขึ้น ดดยอดีตนายกรัฐมนตรีมหาธีร์ มูฮัมหมัด ได้แระกาศแนวคิดที่จะให้มีการร่วมมือกันในรูปของ "บริษัทมาเลเซีย" เพื่อเร่งรัดการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
ในปี พ.ศ. 2539 ประเทศมาเลเซียได้มีการปฏิรูปราชการอีกครั้ง นโยบายแห่งขาตินี้จะเน้นการปฏิรูปภาคราชการในเรื่องการปฏิรูปการจัดระบบการบริหารและการจัดการภาคราชการ และเรื่องการปฏิรูปการจัดการระบบการให้บริการแก่ประชาชน จุดมุ่งหมายในการปฏิรูปภาคราชการครั้งนี้ เพื่อที่จะเผชิญความท้าทายกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
รัฐบาลปัจจุบันที่นำโดย นายกรัฐมนตรี นาจิบ ราซัค ได้ำเนินนโยบายสานต่อวิสัยทัศน์ อย่างต่อเนื่อง เืพ่อให้มาเลเซียเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในปี พ.ศ. 2563 ให้สำเร็จ
- ระบบการบริาหราชการของ สหพันธรัฐ มาเลเซีย, สภาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำนักงาน ก.พ.
วันจันทร์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2560
ฺBureaucracy : Brunei
บรูไนในอดีตเป็นเพียงรัฐเล็กๆ ที่มีอิสระในการปกครองตนเอง แต่เพื่อความอยุ่รอ บรูไนต้องยอมอยุ่ใต้การอารักขาของอังกฤษจนสาามารถสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและบรูไนก็ยังคงรักษษสถานภาพทางการเมืองไว้ได้เป็นอย่างดี เพราะผุ้ปกครองหรือสุลต่านของบรูไนพยายามเหลีกเลี่ยง ไม่ยุ่งเกี่ยวกับความขัดแย้งของรัฐต่างๆ
ปัจจุบันประเทศบรุไนยังคงเป็นประเทศที่มีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งเป็นประเทศเดียวในประชาคมอาเซียนที่ปกครองด้วยระบบสุลต่่าน โดยองค์สุลต่าน จะมีอำนาจเด็ดขาดเพียงผุ้เดี่ยว มีฐานะเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี ปละเป็ฯประมุขสูงสุดของประเทศ การปกครองของประเทศบูรไน เป็นการปกครองในรูปแบบรํฐเดี่ยวแต่เป็นรัฐเกี่ยวแบบรวมศูนย์อำนาจ ในด้านการบริหารราชการแผ่นดิน บรูไน ไม่มีการกระจายอำนาจทางกรเมืองไปยังหน่วยการปกครองในระดับล่าง การบริกหารราชการแผ่นดินจึงเป้นการสั่งการตามสายบังคับบัญชา หรือเป็นลำดับชั้นจากสุลต่านและสมเด็จพระราชาธิปบดีลงมาที่กระทรวง หรือหน่วยงานของรัฐ ต่อไปยังเขตการปกครอง และต่อไปยังตำบล และหมู่บ้าน ซึ่งเป้นหน่วยการปกครองระดับล่างสุด และเมื่อหมู่บ้านต้องการดำเนเนการใดก็จะเสนอเรื่องไปยังตำบล ซค่งจะส่งต่อไปยังเขตปกครอง
โครงสร้างการปกครอง บุรไน ประกอบด้วย
- เขตการปกครอง หรือ Daerah ในภาษามาเลย์ เป็นหน่วยงานาการปกครองระดับล่างจากกระทรวงแบ่งเป็น 4 เขตการปกครอง ประกอบด้วย เขตการปกครองบรูไน - มูอารา เบอไลต์ เต็มบุรง และตูตง
- เทศบาล อยุ่ในระดับชั้นเดี่ยงกับเขชตการปกครอง เป็นหน่วยการปกครองท้งถิ่นที่เป็นเมืองหรือชุมชนเมือง การบริหารงานขึ้นต่อกระทรวงมหาดไทย
- ตำบล เป็นหน่วยการปกคอรองระดับล่างต่อจากเขตเขตการปกครอง มีกำนันในภาษามาเลย์เรียกว่า Penghulu Mukim เป็นผู้นำ
- หมู่บ้าน เป็นหน่วยการปกครองระดับล่างสุด ในภาษามาเลย์เรียกว่า Kumpung หรือ Village ในภาษาอังกฤษ และผุ้ใหญ่บ้านในภาษามาเลย์ เรียกว่า Ketua Kampung
บรูไนมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาของระบบราชการอันยาวนานอย่างน้อย 600 ปีมาแล้ว
ก่อนจะมีข้อตกลงเพิ่มเติมระหวางบรูไนและสหราชอาณาจักรในปี พงศ. 2449 ระบบราชการของบรูไนได้รับการกล่าวถึงตั้งแต่สมัยสุลต่านฮันซันที่ 9 ที่เรียกวว่า สุลต่านฮัสซันแคนนอน" หลังจากที่สถาบันกษัตริย์ขึ้นถึงจุดสูงสุดของอำนาจในศตวรรษที่สิบหกก็ตามด้วยจุดถอถอยลง และต่อมาในศตวรรษที่สิบเก้าอาณาเขตของบรูไนก็ลดน้อยลง เนื่องจากอิทธิพลของตระกูลเจ้าผุ้ครองซาราวัก การปฏิวัติบรูไน พ.ศ. 2505 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะที่รัฐสุลต่านบรูไนยังอยู่ภายใต้การอารักขาของอังกฤษ สมาชิกพรรคประชาชนบรูไนซึ่งเป็ฯพรรคฝ่ายต้านในบรูไน มี เอ เอ็ม อาซาฮารี เป็นหัวหน้าพรรค พรรคนี้ได้เสียงข้างมากในการเลือกตั้งเมื่อเดอนสิงหาคม พ.ศ. 2505 โดยมีนโยบายต่อต้านการรวมบรูไนเข้ากับมาเลิซีย อาซาฮารี ได้เรียกร้องให้มีการตั้งรัฐบอร์เนียวเหนือ โดยรวมบรูไน ซาราวัก และซาลาห์เข้าด้วยกัน แต่เมื่อสภานิติบัญญัติไม่จัดการประชุมตามที่พรรคเรียกร้อง กองทัพแห่งชาติบอร์เหนียวเหนือซึ่งเป็นกองทัพใต้ดินที่พรรคประชาชนบรูไนก่อตั้งจึงลุกฮือขึ้นก่อกบฎ สุลต่านได้ขอความช่วยเหลือไปยังอังกฤษ อังกฤษจึงส่งกองทหารจากสิงคโปร์มาปราบกบฎได้สำเร็จและทำให้สุลต่านเซอร์โอมาร์ อาลี ไซผุดดิน ตัดสินใจไม่เข้าร่วมกับสหพันธรัฐมาเลเซียในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2506
การเข้ามาของอังกฤษมีส่วนช่วยรักษาสถาบันกษัตริย์ของยรูไน และเปิดโดอาสให้สถาบันกษัตริย์ปรับตัว จนกลายมาเป็นระบบการปกครองแบบรวมอำนาจ การนำเสนอการปกครองรูปแบบใหม่ที่ให้อำนาาจในการปกครองด้วยตัวเองแก่บรูไนมีส่วนในการฟื้นอำนาจทางการเมืองของสุลต่าน จึงทำให้ระบบราชการของบรูไนเริ่มมีขึ้นตั้งแต่เวลานี้ ประเทศบรูไนซึ่งใช้ระบบสมบุรณาญาสิทธิราชย์อย่างแท้จริง การปกครองของยรูไนจากอดีตมาสู่ปัจจุบันเป็ฯระบบการปกครองที่เน้นศาสนาอิสลามเป้นบรรทัดฐานสำคัญในการใช้พระราชอำนาจของพระราชาธิบดีหรือสุลต่าน ผ่านระบบราชการที่เป็นตัวสร้างความเชื่อมโยงระหว่างรัฐและประชาชนภายใต้ "แนวคิดรัฐอิสลาม" คือ รัฐที่ถุกปกครองตามบทบัญญัติของอิสลามเป็นบรรทัดฐานสำคัญในการใช้พระราชอำนาจของพระราชาธิบดีหรือสุลต่าน ผ่านระบบราชการที่เป็นตัวสร้างความเช่อมโยงระหว่างรัฐและประชาชนภายใต้ "ปนวคิดรัฐอิสลาม" คือ รัฐที่ถูกปกครองตามบทบัญญัติของอิามโดยสมบูรณ์ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งในการสร้างคามมั่นคงของรัฐและความรุ่งเรื่องของประเทศ และรูไนได้ลงนามข้อตกลงกับอังกฤษภายใต้ข้อตกลง ในปี พ.ศ. 2449 ทั้งนี้อังกฤษยังดำเนินการเกี่ยวกับข้าราชการพลเรือน ยกเว้น ในกิจการที่เกที่ยวข้องกับศาสนา นี้คือจุดเริ่มต้นของข้าราชการพลเรือนบรูไนสมัยใหม่ที่เป็นที่รู้จักกันในปัจจุบัน
ประเทศบรูไนใช้ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในการบริหารราชการอย่างแม้จริง ประเทศบรูไนเป็นประเทศที่เล้กมาก และปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่บรูไนไม่ได้มีสภาวะความกดดันทางการเมือง ความอึออัดของสังคม หรือมีสภาพเศรษฐกิจแร้นแค้นเหมือนที่เห็นในบางประเทศ บรูไนเป็นรัฐขนาดเล็กแต่เป็นรัฐที่เข้มแข็งมั่นคง เพราะความโชคดีที่มีทรัพยากรธรรมชาติสำคัญ คือ น้ำมันและก็าซธรรมชาติที่ส่งออกได้จำนวนมาก และสร้างรายได้มหาศาลในบรูไนประกอบกับการตัดสินใจที่จะไม่รวมประเทศกับมาเลเซียในอดีต ทำให้ไม่ต้องแบ่งเรื่องผลประโยชน์ บวกกับมีจำนวนประชากรไม่มาก ทำให้สถานะประเทศง่ายต่อการบริหาร จึงนำรายได้มาพัฒนาดัชนีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จนติดอันดับที่ดีที่สุดในโลกร่วมกับประเทศในตะวันตก คือ อยุ่ในอันดับที่ 30 จากทั่วโลก คุณภาพชีวิตของประชาชนของบรูไนค่อข้างดี แม้ว่าจะไม่ได้มีการปกครองประเทศแบบประชาธิปไตย
อย่างไรก็ตาม การบริหารประเทศบรูไนมีลักษณะรวมศูนย์อำนาจการสั่งการ และการตัดสินใจไว้ที่ส่วนกลาง ก่อนที่จะกระจายอำนาจ วบประมาณ การบริการ และทรัพยากรลงสุ่องค์การและหน่วยงานต่างๆ ในลักษณะรัฐสวัสดิการ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนในพื้นที่ต่างๆ ซึ่งทำให้เห็นถึงระบบราชการที่เข้มแข็ง คือ มีการจัดสายบังคับบัญชาแบบบนลงบ่างโดยสมบุรณ์แบบ แต่แย่างไรก็ตามโจทก์สำคัญของรัฐบาลบรูไน คือ "ประชาชน" บนหลักคิดของศาสนาอิสลามที่ทุกคนเท่าเทียมกัน รักกันฉันท์พี่น้อง แม้กระทั่งสุลต่านเองเมื่อเข้าสุ่มัสยิดก็ต้องนั่งประกอบพิธีที่พื้นเช่นเดี่ยวกับประชาชน การปกครองของบรูไนจากอดีตมาสุ่ปัจจุบันเป็ฯระบบการปกครองที่เน้นศาสนาอิสลามเป็นบรรทัดฐานสำคัญในการใช้พระราชอำนาจของพระราชาธิบดีหรือสุลต่าน ผ่านระบบราชการที่เป้นตัวสร้างความเชื่อมโยงระหว่างรัฐและประชาชน ภายใต้แนวคิดรัฐอิสลาม คือ รัฐที่ถูกปกครองตามบทบัญญัติของอิสลามโดยสมบูรณ์ ซึ่เป็นแนวทางหนึ่งในการสร้าางความมั่นคงของรัฐและความรุ่งเรืองของประเทส
ระบบการบริหารราชการแผ่นดินของบรูไนเป็นแบบสายบังคับบัญชาตามลำดับชั้นจากบนลงล่าง การดำเนินงานส่วนหนึ่งเป็นการสั่งการตามลำดับชั้นลงมา อีกส่วนหนึ่งเป็นการริเริ่มของท้องถิ่นเอง แต่ต้องได้รับความเห็นชอบจากลำดับชั้นที่สูงขึ้นไป ความสัมพันธ์ระหว่างราชการส่วนกลางและท้องถิ่น คือ การกำกับดุแลและการควบคุม
รัฐบาลมีหน่วยงาน 3 หน่วยงาน อยุ่ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีที่เกี่ยวช้องกับการตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการ ได้แก่
- คณะกรรมการข้าราชกาพลเรือน ทำหน้าที่กำกับดุแลกาแต่างตั้งตำแหน่งข้าราชการ และวินัยขาราชการ เมื่อข้าราชการมีการกระทำผิดกฎระเบียบข้าราชการ หน่วยงานนี้จะเข้ามตรวจสอบ รวมมั้งตรวจสอบตามคำร้องเรียนจากประชาชนถึงความประพฟติของเจ้าหน้าที่รัฐ
- สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน ทำหนาทที่ในการรับคำร้องและตรวจสอบการใช้วบประมาณที่ไม่ถูกต้องตามระเบยบราชการ หรือมีการใช้วบปะมาณที่ไม่เหมาะสม และไม่มีประสิทธิภาพของหน่วยงานราชการต่างๆ
- สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต ทำหน้าที่ตรวจสอบพฤติกรรมอันมิชอบต่อการบริหารงานของหน่วยงานราชการ มีหน้าที่หาแนวทางป้องกันมิหใ้เกิการคอรัปชันตวมมทั้งส่งเสิรม กระตุ้น และสร้างจิตสำนึกในการต่อต้านการคอรัปชั่นในพื้นที่ต่างๆ
ข้าราชการพลเรือนบรูไนทั้งประเทศมีประมาณ 48,761 คน ส่วนใหญ่มีการศึกษาสูง และสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดีรัฐบาลมีนโยบายที่จะให้ข้าราชการพลเรือนไดรับการพัฒนาไม่น้อยกว่า 100 ชั่วโมงต่อปี มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 ซึ่งข้ารชการต้องทำหน้าที่ในการให้บริากรกับประชกรในประเทศ ตามหน่วยงานภาครัฐที่ถุกแบ่งออกเป็น 12 กระทรวง 113แผนก ในช่วงระยะหลังมีการบริหารงานในหน่วยงานภาครัฐหลากหลายแบบ และนำระบบการบริหารจัดการเข้ามาช่วยในการบริหารงานราชการ มีการนำหลักการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ กระบวนการคิด ทัศนคติ และวัฒนธรรมในการทำงานมาสร้างให้เกิดความโปร่งใส ความกรตือรือรน ความตื่นตัว ความรับผิดชอบ ให้เกิดประสิทธิผลแก่หน่วยงานราชการ สร้างจริยธรรมให้เกิดแก่ข้าราชการ ควบคู่ไปกับกาบิริหารราชการที่มีประสิทธิผล และพัฒนาทักษะขีดความสามารถของข้าราชการในการส่งมอบสินค้า และบริการที่สร้างความพึงพอใจให้กับประชกรบรูไนที่มารับบริการ
ข้าราชการบรูไน แบ่งออกเป็น 5 ระดับดังนี้
- ระดับ 1 จะเป็ฯระดับของข้าราชการที่เป้ฯผุ้บริหารสุงสุด ได้แก่ ปลัดกระทรวง รองปลัอกระทรวง ผุ้อำนวยการ รองผุ้อำนวยการ ผู้ช่วยผุ้อำนวยการ ฯลฯ
- ระดับ 2 จะเป็นผู้บริหารระดับกลาง ได้แก่ ผุ้จัดการอาวุโส วิศวกร ผุ้เชี่ยวชาญ บุคลากรทางการศึกษา ฯลฯ
- ระดับ 3 เป็นผู้บริหารระดับล่าง ได้แก่ผุ้บริหารระดับกลาง หัวหน้า ผุ้เชี่ยวชาญทางเทคนิคฯลฯ
- ระดับ 4 เป็นพนักงานระดับปฏิบัติการ ได้แก่ พนักงานเสมอียน ช่างเทคนิค ฯลฯ
- ระดับ 5 ผุ้ช่วยระดับปฏิบัติการ ได้แก่ ผุ้ช่วยสำนักงาน คนขับรถ นักการ ฯลฯ
- www.aseanthai.net/.., ข้อมูลการเมืองการปกครองประเทศบรูไน
- "ระบบการบริหารราชการของ เนการา บรูไน ดารุศซาลาม", สภาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำนักงาน ก.พ.
ปัจจุบันประเทศบรุไนยังคงเป็นประเทศที่มีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งเป็นประเทศเดียวในประชาคมอาเซียนที่ปกครองด้วยระบบสุลต่่าน โดยองค์สุลต่าน จะมีอำนาจเด็ดขาดเพียงผุ้เดี่ยว มีฐานะเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี ปละเป็ฯประมุขสูงสุดของประเทศ การปกครองของประเทศบูรไน เป็นการปกครองในรูปแบบรํฐเดี่ยวแต่เป็นรัฐเกี่ยวแบบรวมศูนย์อำนาจ ในด้านการบริหารราชการแผ่นดิน บรูไน ไม่มีการกระจายอำนาจทางกรเมืองไปยังหน่วยการปกครองในระดับล่าง การบริกหารราชการแผ่นดินจึงเป้นการสั่งการตามสายบังคับบัญชา หรือเป็นลำดับชั้นจากสุลต่านและสมเด็จพระราชาธิปบดีลงมาที่กระทรวง หรือหน่วยงานของรัฐ ต่อไปยังเขตการปกครอง และต่อไปยังตำบล และหมู่บ้าน ซึ่งเป้นหน่วยการปกครองระดับล่างสุด และเมื่อหมู่บ้านต้องการดำเนเนการใดก็จะเสนอเรื่องไปยังตำบล ซค่งจะส่งต่อไปยังเขตปกครอง
โครงสร้างการปกครอง บุรไน ประกอบด้วย
- เขตการปกครอง หรือ Daerah ในภาษามาเลย์ เป็นหน่วยงานาการปกครองระดับล่างจากกระทรวงแบ่งเป็น 4 เขตการปกครอง ประกอบด้วย เขตการปกครองบรูไน - มูอารา เบอไลต์ เต็มบุรง และตูตง
- เทศบาล อยุ่ในระดับชั้นเดี่ยงกับเขชตการปกครอง เป็นหน่วยการปกครองท้งถิ่นที่เป็นเมืองหรือชุมชนเมือง การบริหารงานขึ้นต่อกระทรวงมหาดไทย
- ตำบล เป็นหน่วยการปกคอรองระดับล่างต่อจากเขตเขตการปกครอง มีกำนันในภาษามาเลย์เรียกว่า Penghulu Mukim เป็นผู้นำ
- หมู่บ้าน เป็นหน่วยการปกครองระดับล่างสุด ในภาษามาเลย์เรียกว่า Kumpung หรือ Village ในภาษาอังกฤษ และผุ้ใหญ่บ้านในภาษามาเลย์ เรียกว่า Ketua Kampung
บรูไนมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาของระบบราชการอันยาวนานอย่างน้อย 600 ปีมาแล้ว
ก่อนจะมีข้อตกลงเพิ่มเติมระหวางบรูไนและสหราชอาณาจักรในปี พงศ. 2449 ระบบราชการของบรูไนได้รับการกล่าวถึงตั้งแต่สมัยสุลต่านฮันซันที่ 9 ที่เรียกวว่า สุลต่านฮัสซันแคนนอน" หลังจากที่สถาบันกษัตริย์ขึ้นถึงจุดสูงสุดของอำนาจในศตวรรษที่สิบหกก็ตามด้วยจุดถอถอยลง และต่อมาในศตวรรษที่สิบเก้าอาณาเขตของบรูไนก็ลดน้อยลง เนื่องจากอิทธิพลของตระกูลเจ้าผุ้ครองซาราวัก การปฏิวัติบรูไน พ.ศ. 2505 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะที่รัฐสุลต่านบรูไนยังอยู่ภายใต้การอารักขาของอังกฤษ สมาชิกพรรคประชาชนบรูไนซึ่งเป็ฯพรรคฝ่ายต้านในบรูไน มี เอ เอ็ม อาซาฮารี เป็นหัวหน้าพรรค พรรคนี้ได้เสียงข้างมากในการเลือกตั้งเมื่อเดอนสิงหาคม พ.ศ. 2505 โดยมีนโยบายต่อต้านการรวมบรูไนเข้ากับมาเลิซีย อาซาฮารี ได้เรียกร้องให้มีการตั้งรัฐบอร์เนียวเหนือ โดยรวมบรูไน ซาราวัก และซาลาห์เข้าด้วยกัน แต่เมื่อสภานิติบัญญัติไม่จัดการประชุมตามที่พรรคเรียกร้อง กองทัพแห่งชาติบอร์เหนียวเหนือซึ่งเป็นกองทัพใต้ดินที่พรรคประชาชนบรูไนก่อตั้งจึงลุกฮือขึ้นก่อกบฎ สุลต่านได้ขอความช่วยเหลือไปยังอังกฤษ อังกฤษจึงส่งกองทหารจากสิงคโปร์มาปราบกบฎได้สำเร็จและทำให้สุลต่านเซอร์โอมาร์ อาลี ไซผุดดิน ตัดสินใจไม่เข้าร่วมกับสหพันธรัฐมาเลเซียในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2506
การเข้ามาของอังกฤษมีส่วนช่วยรักษาสถาบันกษัตริย์ของยรูไน และเปิดโดอาสให้สถาบันกษัตริย์ปรับตัว จนกลายมาเป็นระบบการปกครองแบบรวมอำนาจ การนำเสนอการปกครองรูปแบบใหม่ที่ให้อำนาาจในการปกครองด้วยตัวเองแก่บรูไนมีส่วนในการฟื้นอำนาจทางการเมืองของสุลต่าน จึงทำให้ระบบราชการของบรูไนเริ่มมีขึ้นตั้งแต่เวลานี้ ประเทศบรูไนซึ่งใช้ระบบสมบุรณาญาสิทธิราชย์อย่างแท้จริง การปกครองของยรูไนจากอดีตมาสู่ปัจจุบันเป็ฯระบบการปกครองที่เน้นศาสนาอิสลามเป้นบรรทัดฐานสำคัญในการใช้พระราชอำนาจของพระราชาธิบดีหรือสุลต่าน ผ่านระบบราชการที่เป็นตัวสร้างความเชื่อมโยงระหว่างรัฐและประชาชนภายใต้ "แนวคิดรัฐอิสลาม" คือ รัฐที่ถุกปกครองตามบทบัญญัติของอิสลามเป็นบรรทัดฐานสำคัญในการใช้พระราชอำนาจของพระราชาธิบดีหรือสุลต่าน ผ่านระบบราชการที่เป็นตัวสร้างความเช่อมโยงระหว่างรัฐและประชาชนภายใต้ "ปนวคิดรัฐอิสลาม" คือ รัฐที่ถูกปกครองตามบทบัญญัติของอิามโดยสมบูรณ์ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งในการสร้างคามมั่นคงของรัฐและความรุ่งเรื่องของประเทศ และรูไนได้ลงนามข้อตกลงกับอังกฤษภายใต้ข้อตกลง ในปี พ.ศ. 2449 ทั้งนี้อังกฤษยังดำเนินการเกี่ยวกับข้าราชการพลเรือน ยกเว้น ในกิจการที่เกที่ยวข้องกับศาสนา นี้คือจุดเริ่มต้นของข้าราชการพลเรือนบรูไนสมัยใหม่ที่เป็นที่รู้จักกันในปัจจุบัน
ประเทศบรูไนใช้ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในการบริหารราชการอย่างแม้จริง ประเทศบรูไนเป็นประเทศที่เล้กมาก และปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่บรูไนไม่ได้มีสภาวะความกดดันทางการเมือง ความอึออัดของสังคม หรือมีสภาพเศรษฐกิจแร้นแค้นเหมือนที่เห็นในบางประเทศ บรูไนเป็นรัฐขนาดเล็กแต่เป็นรัฐที่เข้มแข็งมั่นคง เพราะความโชคดีที่มีทรัพยากรธรรมชาติสำคัญ คือ น้ำมันและก็าซธรรมชาติที่ส่งออกได้จำนวนมาก และสร้างรายได้มหาศาลในบรูไนประกอบกับการตัดสินใจที่จะไม่รวมประเทศกับมาเลเซียในอดีต ทำให้ไม่ต้องแบ่งเรื่องผลประโยชน์ บวกกับมีจำนวนประชากรไม่มาก ทำให้สถานะประเทศง่ายต่อการบริหาร จึงนำรายได้มาพัฒนาดัชนีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จนติดอันดับที่ดีที่สุดในโลกร่วมกับประเทศในตะวันตก คือ อยุ่ในอันดับที่ 30 จากทั่วโลก คุณภาพชีวิตของประชาชนของบรูไนค่อข้างดี แม้ว่าจะไม่ได้มีการปกครองประเทศแบบประชาธิปไตย
อย่างไรก็ตาม การบริหารประเทศบรูไนมีลักษณะรวมศูนย์อำนาจการสั่งการ และการตัดสินใจไว้ที่ส่วนกลาง ก่อนที่จะกระจายอำนาจ วบประมาณ การบริการ และทรัพยากรลงสุ่องค์การและหน่วยงานต่างๆ ในลักษณะรัฐสวัสดิการ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนในพื้นที่ต่างๆ ซึ่งทำให้เห็นถึงระบบราชการที่เข้มแข็ง คือ มีการจัดสายบังคับบัญชาแบบบนลงบ่างโดยสมบุรณ์แบบ แต่แย่างไรก็ตามโจทก์สำคัญของรัฐบาลบรูไน คือ "ประชาชน" บนหลักคิดของศาสนาอิสลามที่ทุกคนเท่าเทียมกัน รักกันฉันท์พี่น้อง แม้กระทั่งสุลต่านเองเมื่อเข้าสุ่มัสยิดก็ต้องนั่งประกอบพิธีที่พื้นเช่นเดี่ยวกับประชาชน การปกครองของบรูไนจากอดีตมาสุ่ปัจจุบันเป็ฯระบบการปกครองที่เน้นศาสนาอิสลามเป็นบรรทัดฐานสำคัญในการใช้พระราชอำนาจของพระราชาธิบดีหรือสุลต่าน ผ่านระบบราชการที่เป้นตัวสร้างความเชื่อมโยงระหว่างรัฐและประชาชน ภายใต้แนวคิดรัฐอิสลาม คือ รัฐที่ถูกปกครองตามบทบัญญัติของอิสลามโดยสมบูรณ์ ซึ่เป็นแนวทางหนึ่งในการสร้าางความมั่นคงของรัฐและความรุ่งเรืองของประเทส
ระบบการบริหารราชการแผ่นดินของบรูไนเป็นแบบสายบังคับบัญชาตามลำดับชั้นจากบนลงล่าง การดำเนินงานส่วนหนึ่งเป็นการสั่งการตามลำดับชั้นลงมา อีกส่วนหนึ่งเป็นการริเริ่มของท้องถิ่นเอง แต่ต้องได้รับความเห็นชอบจากลำดับชั้นที่สูงขึ้นไป ความสัมพันธ์ระหว่างราชการส่วนกลางและท้องถิ่น คือ การกำกับดุแลและการควบคุม
รัฐบาลมีหน่วยงาน 3 หน่วยงาน อยุ่ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีที่เกี่ยวช้องกับการตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการ ได้แก่
- คณะกรรมการข้าราชกาพลเรือน ทำหน้าที่กำกับดุแลกาแต่างตั้งตำแหน่งข้าราชการ และวินัยขาราชการ เมื่อข้าราชการมีการกระทำผิดกฎระเบียบข้าราชการ หน่วยงานนี้จะเข้ามตรวจสอบ รวมมั้งตรวจสอบตามคำร้องเรียนจากประชาชนถึงความประพฟติของเจ้าหน้าที่รัฐ
- สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน ทำหนาทที่ในการรับคำร้องและตรวจสอบการใช้วบประมาณที่ไม่ถูกต้องตามระเบยบราชการ หรือมีการใช้วบปะมาณที่ไม่เหมาะสม และไม่มีประสิทธิภาพของหน่วยงานราชการต่างๆ
- สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต ทำหน้าที่ตรวจสอบพฤติกรรมอันมิชอบต่อการบริหารงานของหน่วยงานราชการ มีหน้าที่หาแนวทางป้องกันมิหใ้เกิการคอรัปชันตวมมทั้งส่งเสิรม กระตุ้น และสร้างจิตสำนึกในการต่อต้านการคอรัปชั่นในพื้นที่ต่างๆ
ข้าราชการพลเรือนบรูไนทั้งประเทศมีประมาณ 48,761 คน ส่วนใหญ่มีการศึกษาสูง และสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดีรัฐบาลมีนโยบายที่จะให้ข้าราชการพลเรือนไดรับการพัฒนาไม่น้อยกว่า 100 ชั่วโมงต่อปี มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 ซึ่งข้ารชการต้องทำหน้าที่ในการให้บริากรกับประชกรในประเทศ ตามหน่วยงานภาครัฐที่ถุกแบ่งออกเป็น 12 กระทรวง 113แผนก ในช่วงระยะหลังมีการบริหารงานในหน่วยงานภาครัฐหลากหลายแบบ และนำระบบการบริหารจัดการเข้ามาช่วยในการบริหารงานราชการ มีการนำหลักการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ กระบวนการคิด ทัศนคติ และวัฒนธรรมในการทำงานมาสร้างให้เกิดความโปร่งใส ความกรตือรือรน ความตื่นตัว ความรับผิดชอบ ให้เกิดประสิทธิผลแก่หน่วยงานราชการ สร้างจริยธรรมให้เกิดแก่ข้าราชการ ควบคู่ไปกับกาบิริหารราชการที่มีประสิทธิผล และพัฒนาทักษะขีดความสามารถของข้าราชการในการส่งมอบสินค้า และบริการที่สร้างความพึงพอใจให้กับประชกรบรูไนที่มารับบริการ
ข้าราชการบรูไน แบ่งออกเป็น 5 ระดับดังนี้
- ระดับ 1 จะเป็ฯระดับของข้าราชการที่เป้ฯผุ้บริหารสุงสุด ได้แก่ ปลัดกระทรวง รองปลัอกระทรวง ผุ้อำนวยการ รองผุ้อำนวยการ ผู้ช่วยผุ้อำนวยการ ฯลฯ
- ระดับ 2 จะเป็นผู้บริหารระดับกลาง ได้แก่ ผุ้จัดการอาวุโส วิศวกร ผุ้เชี่ยวชาญ บุคลากรทางการศึกษา ฯลฯ
- ระดับ 3 เป็นผู้บริหารระดับล่าง ได้แก่ผุ้บริหารระดับกลาง หัวหน้า ผุ้เชี่ยวชาญทางเทคนิคฯลฯ
- ระดับ 4 เป็นพนักงานระดับปฏิบัติการ ได้แก่ พนักงานเสมอียน ช่างเทคนิค ฯลฯ
- ระดับ 5 ผุ้ช่วยระดับปฏิบัติการ ได้แก่ ผุ้ช่วยสำนักงาน คนขับรถ นักการ ฯลฯ
- www.aseanthai.net/.., ข้อมูลการเมืองการปกครองประเทศบรูไน
- "ระบบการบริหารราชการของ เนการา บรูไน ดารุศซาลาม", สภาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำนักงาน ก.พ.
วันอาทิตย์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2560
ฺBureaucracy : Singgapore
สิงคโปร์ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีรัฐธรรมนูยเป็นกฎหมายสูงสุด แบ่งอำนาจการปกครองเป็น 3 ส่วนดังนี้
1 สภาบริหาร ประกอบด้วยประธานาธิบดีและคณะรัฐมนตรี ซึ่งมีหน้าที่บริหาประเทศผ่านกระทรวงทบวงกรม และหน่วยงานในสังกัดราชการอื่นๆ ประธานาธิปบดีสิงคโปร์มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน มีวาระดำรงตำแหน่ง 6 ปี
คณะรัฐมนตรีสิงคโปร์มาจากการเลือกตั้งทั่วไปทุก 5 ปี พรรคการเมืองสำคัญ 4 พรรค
2 รัฐสภา มาจากการเลือกตั้งทั่วไป
3 สภาตุลาการ แบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่ ศาลชั้นต้น และศาลฎีกา
หลังจากได้รับเอกราชจาประเทศอังกฤษ จุเน้นในการปฏิรูประบบราชการของสิงคโปร์ คือ การสร้างข้าราชการเพื่อทดแทนเจ้าหน้าที่ของประเทศอังกฤษ และการออกแบบให้บริการสาธารณะ เพื่อตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของประชารชน ซึ่งเป้นกระบวนการที่เรียกว่า ความเป็นท้องถิ่นภิวัฒน์ และความเป้นประชภิวัฒน์ อย่างไรก็ตามในช่วงเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมา จุดมุ่งหมายในกาปฏิรูปได้เปลี่ยนไป เน้นที่การมีปฏิสัมพันธ์ในระดับนานาชาติ เพื่อตอบสนองต่อกระแสโลกาภิวัตน์ ซึ่งรวมถึงแนวคิดเสรีนิยม การลดกฎระเบียบและการควบคุมของรัฐ การแปรรูปกิจกรรมของรัฐ ทั้งนี้เพื่อให้ระบบราชการสามารถมีความร่วมมือกับตลาดต่างประเทศ นักลงทุนต่างประเทศบริษัทที่ปรึกษาจากต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
David Seth Jones ได้กล่าวถึงมาตรการต่าง ๆในการปฏิรูประบบราชการสิงคโปร์ไว้ในหนังสือ Public Administration Continuity
1 โครงสร้างองค์การ ในช่วงเวลาไม่กี่ปีที่ผ่่านมา รัฐบาลสิงคโปร์ได้จัดทำโครงการใหม่ ๆ ขึ้นภายในบริบทของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ซึ่งโดยส่วนใหญ่ตั้งอยุ่บนหลักการและเทคนิคขององค์การภาคเอกชน โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการพิจารณายกเลิกกิจกรรมภาครัฐ ขึ้นด้วย
ขั้นตอนการแปรรูปกิจกรรมภาครัฐ แบ่งเป็น 4 ขั้นตอนหลัก คือ การแปรรูปองค์การ การทำสัญญาจ้างเอกชนให้บริหารงาน การผ่อนปรนระเบียบกฎหมาย และการตัดทอนการลงทุน ทั้งนี้มีคณะกรรมการอิสระในการรัฐวิสาหกิจ สำคัญๆ 3 แห่ง ได้แก่ บริษัทสิงคโปร์โทรคมนาคม บริษัทกระจายเสียงแห่งสิงคโปร์ และสำนักงานสาธารณูปโภคกลาง และยังจะมีการแปรรูปองค์การ อีกหลายหน่วยงานในอนาคตอันใกล้นี้ รวมถึงในส่วนการให้บริการสาธารณสุขหรือโรงพยาบาลรัฐอีกด้วย กาแปรรูปองค์การ ทำให้หน่วยงานเหล่านี้ มีความยืดหยุ่นในการบริหารงานมากขึ้น มีโครงสร้างทางการเงินที่เหมาะสม มีอิสระในการจัดโครงสร้างองค์การและโดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นอิสระจากการควบคุมของระบบราชการ หน่วยงานเหล่านี้จึงมีความสามารถที่จะเลือกลงทุนขยายกิจการ แข่งขันด้านเวลาสร้างสรรค์นวัตกรรม ปรับปรุงการให้บริการ หรือแม้กระทั่งเลือกลงทุนในกิจการประเภทอื่น
อย่างไรก็ดีก่อนที่จะมีการแปรรูปองค์การเต็มรูปแบบได้มีการโอนการให้ลบริการระดับข้างเคียงจำนวนหนึ่งของคณะกรรมการอิสระ เหล่านี้ไปให้รัฐวิสาหกิจ ซึ่งเป็นองคการใหม่ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นบริษัทย่อยส่วนการให้บริการด้านอื่นๆ ของหน่วยงาน มีการทำสัญญาจ้างเหมาดำเนิการกับบริษัทเอกชน หรือไม่ก็มีกาลดกฎระเบียบเพื่ออนุญาตให้บริษัทเอกชนดำเนินการแช่งขัีนให้บริการได้ ซึ่งเป็นการยกเลิกการผูกขาดโดยรัฐนั่นเองอย่างไรก็ตามต้องมีการดำเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไป ตัวอย่างเช่น Singapore Telecommunication Ltd. จะยกเลิกการผุกขาดกิจการโทรคมนาคม และการให้บริการไปรษณีย์พื้นฐานตามลำดับภายใน 20 ปีข้างหน้า
ดังนั้นจนถึงปัจจุบัน การแปรรูปองค์การ จึงยังมิใช่การแปรรูปรัฐวิสาหกิจอย่างเต็มรูปแบบกล่าวคือ รัฐยังเป็นผุ้ถือหุ้นใหญ่รวมถึงการพัฒนาแผนกขึ้นมาแผนกหนึ่งจากกน่วยงานเดิม และทำการปรับโครงสร้างให้มีขาดที่เล็กลงอย่งมากเืพ่อทำหน้าที่พิจารณาอนุมัติแกละกำกับดุแลบริษัทต่างๆ ที่แยกตัวออกมาดังน้นจึงมัี่นใจว่าผลประดยชน์สาธารณะฃจะยังคงได้รับการคุ้มครองทั้งในด้านราคา ผลประโยชน์ และมาตรฐานการให้บริการ
2 การบริหารงานบุคคล การบริหารงานบุคคลแต่เดิมเป็ฯความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริการด้านสาธารณะ เป็นส่วนใหญ่ นอกจากนั้นเป็นความรับผิดชอบของคณะกรรมการอีกสองชุดและอีกหนึ่งหน่วยงาน คือ คณะกรรมการให้บริการด้านการศึกษา คณะกรรมการป้องกันพลเรือนและตำรวจและหน่วยงานบริการสาธารณะ กระทรวงและกรมต่างๆ มีอำนาจอย่างจำกัดในการคัดเลือและการพิจารณาเลื่อตำแหน่งข้าราชการระดับล่างสุด ตามที่ได้รับมอบอำนาจจาก PSC เท่านั้น ในเดือนมกราคม 2538 ได้มอบอำนาจหน้าที่ในกาบริหารงานบุคคลให้แก่กระทรวงต่างๆ โดยการจัดตั้งระบบคณะกรรมการบริหารงานบุคคลแบบ 3 ระดับ คือ ระดับสุงสุดมีคณะกรรมการบริหารงานบุคคลชุดพิเศษประกอบด้วย เลขาธิการและรองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และปลัดกระทรวง ทำหน้าที่ในการพิจารณาเลื่อนตำแหน่ง และแต่งตั้งข้าราชการระดับสูง จนถึงระดับในหน่วยงานระดับกรมและหน่วยงานเชียวชาญเฉพาะในระดับกลาง ประกอบด้วย คณะกรรมการข้าราชการรดดับสุงหลายชุด ทำหน้าที่คัดเลือกและเลือ่นตำแหน่งข้าราชการระดับ 1 คณะกรรมการแต่ละชุมแต่งตังจากหนวยงานระดับกรมและหน่วยงานเชี่ยวชาญโดยเฉพาะ รวมถึงปลัดกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับการคัดเลือกและเลื่อนตำแหน่งนั้นๆ ด้วย สำหรับระดับล่างสุดในแต่ละกระทรวงจะมีคณะกรรมการของตนเอง ซึ่งได้รับมอบอำนาจในการแต่งตั้งและเลื่อนตำแหน่งข้าราชการรดับ 2,3 และ 4 โดยมีข้าราชการระดับสุง เป็นประธาน และมีข้าราชการระดับ 1 เป็นกรรมการ ทั้งนี้ PSD มีหน้าที่เป็นผู้โฆษณาประกาศรับสมัครและเป็ฯผุ้รับสมัคร รวมถึงเป็นการกำหนดเกณฑ์วัดในการเลื่อนตำแหน่งด้วย
3 ระบบงบประมาณ มีการเริ่มใช้ระบบการจัดสรรงบประมาณแบบจำกัดเกณฑ์การออกเสียง เป็นครั้งแรกในงบประมาณปี 2532 โดยกำหนดยอดงบประมาณของแต่ละกระทรวงเป็นร้อยละของรายได้มวลรวมประชาชาติเพื่อสอนให้สภาพิจารณาอนุมัติ เมื่อสภาอนุมัติแล้ว กระทรวงจึงมีอำนาจในการใช้จ่ายวบประมาณตามที่ประกาศไว้เป็นวัตถุประสงค์โครงการหรือกิจกรรมต่างๆ และมีอิสระในการโอนย้ายเงินและบุคลากร โดยไม่ต้องขออนุมัติจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง 3 ปีต่อมาจึงเร่ิมใช้ระบบบัญชีบริหารที่มีชื่อว่า "ระบบการบริหารจัดการบัญชีของรัฐบาลสิงคโปร์" โดยจัดทำบัญชีต้นทุนบุคลากรสิ่งปลูกสร้าง วัสดุอุปกรณ์ และการใช้บริการต่างๆ ของแต่ละโครงการและกิจกรรม รายละเอียดทางบัญชีเหล่านี้ทำให้บริหารหน่วยงานสามารถใช้อำนาจหน้าที่ทางการเงินที่ได้รับจากวบประมาณแบบจำกัดเกณฑ์การออกเสียงได้อย่างมีประสิทธิภาพ การปฏิรูประบบวบประมาณที่สำคัญอีประการหนึ่ง คือ การพัฒนาวบประมาณแบบฐานศุูนย์ ขึ้นโดยให้สำนักผุ้ตรวจงานราชการเป็นผุ้พิจารณาตรววจสอบกาใช้ทรัพยากรและค่าใช้จ่ายลงทุน ของแต่ละกระทรวงในทุก 5 ปี โดยใช้ข้อมุลจากระบบบัญชีบริหารและตัวชี้วัดผลงานเป็นเครื่องมือสำคัญในการตวรจสอบ
แม้ว่าแนวคิดในการปฏิรูประบบราชการสิงคโปร์จะเปลี่ยนไปสู่การตอบสนองต่อกระแสโลกาภิวัฒน์ ซึ่งอาจช่วยพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของปรเทศ แต่ก็อาจทำให้ความสามารถในการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนลดลง การนำแนวคิดเสรีนิยมมาปรับใช้อาจทำให้การให้บริการสาธารณะประสบผลสำเร็จในเชิงเศรษฐกิจ และทำให้เกิดการละเลยปัญหาที่ไม่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ ได้เช่นกัน นอกจานี้ความพยายามในการลดความเป็นระบบราชการ ด้วยการใช้ค่านิยมและวิธีการทางธุรกิจโดยที่ค่านิยมและวิธีคิดดั้งเดิมของระบบราชการยังคงฝังตัวอยู่นั้น อาจทำให้ต้องใช้ระยะเวลาในการปฏิรูปเนิ่นนามออกไป
- "ระบบบริหารราชการของ สาธารณรัฐ สิงคโปร์" สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำนักงาน ก.พ.
1 สภาบริหาร ประกอบด้วยประธานาธิบดีและคณะรัฐมนตรี ซึ่งมีหน้าที่บริหาประเทศผ่านกระทรวงทบวงกรม และหน่วยงานในสังกัดราชการอื่นๆ ประธานาธิปบดีสิงคโปร์มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน มีวาระดำรงตำแหน่ง 6 ปี
คณะรัฐมนตรีสิงคโปร์มาจากการเลือกตั้งทั่วไปทุก 5 ปี พรรคการเมืองสำคัญ 4 พรรค
2 รัฐสภา มาจากการเลือกตั้งทั่วไป
3 สภาตุลาการ แบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่ ศาลชั้นต้น และศาลฎีกา
หลังจากได้รับเอกราชจาประเทศอังกฤษ จุเน้นในการปฏิรูประบบราชการของสิงคโปร์ คือ การสร้างข้าราชการเพื่อทดแทนเจ้าหน้าที่ของประเทศอังกฤษ และการออกแบบให้บริการสาธารณะ เพื่อตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของประชารชน ซึ่งเป้นกระบวนการที่เรียกว่า ความเป็นท้องถิ่นภิวัฒน์ และความเป้นประชภิวัฒน์ อย่างไรก็ตามในช่วงเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมา จุดมุ่งหมายในกาปฏิรูปได้เปลี่ยนไป เน้นที่การมีปฏิสัมพันธ์ในระดับนานาชาติ เพื่อตอบสนองต่อกระแสโลกาภิวัตน์ ซึ่งรวมถึงแนวคิดเสรีนิยม การลดกฎระเบียบและการควบคุมของรัฐ การแปรรูปกิจกรรมของรัฐ ทั้งนี้เพื่อให้ระบบราชการสามารถมีความร่วมมือกับตลาดต่างประเทศ นักลงทุนต่างประเทศบริษัทที่ปรึกษาจากต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
David Seth Jones ได้กล่าวถึงมาตรการต่าง ๆในการปฏิรูประบบราชการสิงคโปร์ไว้ในหนังสือ Public Administration Continuity
1 โครงสร้างองค์การ ในช่วงเวลาไม่กี่ปีที่ผ่่านมา รัฐบาลสิงคโปร์ได้จัดทำโครงการใหม่ ๆ ขึ้นภายในบริบทของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ซึ่งโดยส่วนใหญ่ตั้งอยุ่บนหลักการและเทคนิคขององค์การภาคเอกชน โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการพิจารณายกเลิกกิจกรรมภาครัฐ ขึ้นด้วย
ขั้นตอนการแปรรูปกิจกรรมภาครัฐ แบ่งเป็น 4 ขั้นตอนหลัก คือ การแปรรูปองค์การ การทำสัญญาจ้างเอกชนให้บริหารงาน การผ่อนปรนระเบียบกฎหมาย และการตัดทอนการลงทุน ทั้งนี้มีคณะกรรมการอิสระในการรัฐวิสาหกิจ สำคัญๆ 3 แห่ง ได้แก่ บริษัทสิงคโปร์โทรคมนาคม บริษัทกระจายเสียงแห่งสิงคโปร์ และสำนักงานสาธารณูปโภคกลาง และยังจะมีการแปรรูปองค์การ อีกหลายหน่วยงานในอนาคตอันใกล้นี้ รวมถึงในส่วนการให้บริการสาธารณสุขหรือโรงพยาบาลรัฐอีกด้วย กาแปรรูปองค์การ ทำให้หน่วยงานเหล่านี้ มีความยืดหยุ่นในการบริหารงานมากขึ้น มีโครงสร้างทางการเงินที่เหมาะสม มีอิสระในการจัดโครงสร้างองค์การและโดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นอิสระจากการควบคุมของระบบราชการ หน่วยงานเหล่านี้จึงมีความสามารถที่จะเลือกลงทุนขยายกิจการ แข่งขันด้านเวลาสร้างสรรค์นวัตกรรม ปรับปรุงการให้บริการ หรือแม้กระทั่งเลือกลงทุนในกิจการประเภทอื่น
อย่างไรก็ดีก่อนที่จะมีการแปรรูปองค์การเต็มรูปแบบได้มีการโอนการให้ลบริการระดับข้างเคียงจำนวนหนึ่งของคณะกรรมการอิสระ เหล่านี้ไปให้รัฐวิสาหกิจ ซึ่งเป็นองคการใหม่ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นบริษัทย่อยส่วนการให้บริการด้านอื่นๆ ของหน่วยงาน มีการทำสัญญาจ้างเหมาดำเนิการกับบริษัทเอกชน หรือไม่ก็มีกาลดกฎระเบียบเพื่ออนุญาตให้บริษัทเอกชนดำเนินการแช่งขัีนให้บริการได้ ซึ่งเป็นการยกเลิกการผูกขาดโดยรัฐนั่นเองอย่างไรก็ตามต้องมีการดำเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไป ตัวอย่างเช่น Singapore Telecommunication Ltd. จะยกเลิกการผุกขาดกิจการโทรคมนาคม และการให้บริการไปรษณีย์พื้นฐานตามลำดับภายใน 20 ปีข้างหน้า
ดังนั้นจนถึงปัจจุบัน การแปรรูปองค์การ จึงยังมิใช่การแปรรูปรัฐวิสาหกิจอย่างเต็มรูปแบบกล่าวคือ รัฐยังเป็นผุ้ถือหุ้นใหญ่รวมถึงการพัฒนาแผนกขึ้นมาแผนกหนึ่งจากกน่วยงานเดิม และทำการปรับโครงสร้างให้มีขาดที่เล็กลงอย่งมากเืพ่อทำหน้าที่พิจารณาอนุมัติแกละกำกับดุแลบริษัทต่างๆ ที่แยกตัวออกมาดังน้นจึงมัี่นใจว่าผลประดยชน์สาธารณะฃจะยังคงได้รับการคุ้มครองทั้งในด้านราคา ผลประโยชน์ และมาตรฐานการให้บริการ
2 การบริหารงานบุคคล การบริหารงานบุคคลแต่เดิมเป็ฯความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริการด้านสาธารณะ เป็นส่วนใหญ่ นอกจากนั้นเป็นความรับผิดชอบของคณะกรรมการอีกสองชุดและอีกหนึ่งหน่วยงาน คือ คณะกรรมการให้บริการด้านการศึกษา คณะกรรมการป้องกันพลเรือนและตำรวจและหน่วยงานบริการสาธารณะ กระทรวงและกรมต่างๆ มีอำนาจอย่างจำกัดในการคัดเลือและการพิจารณาเลื่อตำแหน่งข้าราชการระดับล่างสุด ตามที่ได้รับมอบอำนาจจาก PSC เท่านั้น ในเดือนมกราคม 2538 ได้มอบอำนาจหน้าที่ในกาบริหารงานบุคคลให้แก่กระทรวงต่างๆ โดยการจัดตั้งระบบคณะกรรมการบริหารงานบุคคลแบบ 3 ระดับ คือ ระดับสุงสุดมีคณะกรรมการบริหารงานบุคคลชุดพิเศษประกอบด้วย เลขาธิการและรองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และปลัดกระทรวง ทำหน้าที่ในการพิจารณาเลื่อนตำแหน่ง และแต่งตั้งข้าราชการระดับสูง จนถึงระดับในหน่วยงานระดับกรมและหน่วยงานเชียวชาญเฉพาะในระดับกลาง ประกอบด้วย คณะกรรมการข้าราชการรดดับสุงหลายชุด ทำหน้าที่คัดเลือกและเลือ่นตำแหน่งข้าราชการระดับ 1 คณะกรรมการแต่ละชุมแต่งตังจากหนวยงานระดับกรมและหน่วยงานเชี่ยวชาญโดยเฉพาะ รวมถึงปลัดกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับการคัดเลือกและเลื่อนตำแหน่งนั้นๆ ด้วย สำหรับระดับล่างสุดในแต่ละกระทรวงจะมีคณะกรรมการของตนเอง ซึ่งได้รับมอบอำนาจในการแต่งตั้งและเลื่อนตำแหน่งข้าราชการรดับ 2,3 และ 4 โดยมีข้าราชการระดับสุง เป็นประธาน และมีข้าราชการระดับ 1 เป็นกรรมการ ทั้งนี้ PSD มีหน้าที่เป็นผู้โฆษณาประกาศรับสมัครและเป็ฯผุ้รับสมัคร รวมถึงเป็นการกำหนดเกณฑ์วัดในการเลื่อนตำแหน่งด้วย
3 ระบบงบประมาณ มีการเริ่มใช้ระบบการจัดสรรงบประมาณแบบจำกัดเกณฑ์การออกเสียง เป็นครั้งแรกในงบประมาณปี 2532 โดยกำหนดยอดงบประมาณของแต่ละกระทรวงเป็นร้อยละของรายได้มวลรวมประชาชาติเพื่อสอนให้สภาพิจารณาอนุมัติ เมื่อสภาอนุมัติแล้ว กระทรวงจึงมีอำนาจในการใช้จ่ายวบประมาณตามที่ประกาศไว้เป็นวัตถุประสงค์โครงการหรือกิจกรรมต่างๆ และมีอิสระในการโอนย้ายเงินและบุคลากร โดยไม่ต้องขออนุมัติจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง 3 ปีต่อมาจึงเร่ิมใช้ระบบบัญชีบริหารที่มีชื่อว่า "ระบบการบริหารจัดการบัญชีของรัฐบาลสิงคโปร์" โดยจัดทำบัญชีต้นทุนบุคลากรสิ่งปลูกสร้าง วัสดุอุปกรณ์ และการใช้บริการต่างๆ ของแต่ละโครงการและกิจกรรม รายละเอียดทางบัญชีเหล่านี้ทำให้บริหารหน่วยงานสามารถใช้อำนาจหน้าที่ทางการเงินที่ได้รับจากวบประมาณแบบจำกัดเกณฑ์การออกเสียงได้อย่างมีประสิทธิภาพ การปฏิรูประบบวบประมาณที่สำคัญอีประการหนึ่ง คือ การพัฒนาวบประมาณแบบฐานศุูนย์ ขึ้นโดยให้สำนักผุ้ตรวจงานราชการเป็นผุ้พิจารณาตรววจสอบกาใช้ทรัพยากรและค่าใช้จ่ายลงทุน ของแต่ละกระทรวงในทุก 5 ปี โดยใช้ข้อมุลจากระบบบัญชีบริหารและตัวชี้วัดผลงานเป็นเครื่องมือสำคัญในการตวรจสอบ
แม้ว่าแนวคิดในการปฏิรูประบบราชการสิงคโปร์จะเปลี่ยนไปสู่การตอบสนองต่อกระแสโลกาภิวัฒน์ ซึ่งอาจช่วยพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของปรเทศ แต่ก็อาจทำให้ความสามารถในการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนลดลง การนำแนวคิดเสรีนิยมมาปรับใช้อาจทำให้การให้บริการสาธารณะประสบผลสำเร็จในเชิงเศรษฐกิจ และทำให้เกิดการละเลยปัญหาที่ไม่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ ได้เช่นกัน นอกจานี้ความพยายามในการลดความเป็นระบบราชการ ด้วยการใช้ค่านิยมและวิธีการทางธุรกิจโดยที่ค่านิยมและวิธีคิดดั้งเดิมของระบบราชการยังคงฝังตัวอยู่นั้น อาจทำให้ต้องใช้ระยะเวลาในการปฏิรูปเนิ่นนามออกไป
- "ระบบบริหารราชการของ สาธารณรัฐ สิงคโปร์" สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำนักงาน ก.พ.
ฺBureaucracy
แมกซ์ เวเบอร์ นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน เสนอรูปแบบขององค์การในอุดมคติซึ่งเขาเห็นว่าเป็น
แนวทางที่ทรงประสทิธิภาพสูงสุดที่ทำให้องค์การบรรลุเป้าหมาย โดยเรียกโครงสร้างแบบนี้ว่า "ระบบราชการ"
ระบบราชการ เป้ฯรูปแบบองค์กรที่มช้เหตุผล และประสิทธิภาพโดยมีอำนาจหน้าที่ตามระเบียบ และตามกฎหมาย มีลักษณะสำคัญดังนี้
- มีสายบังคับบัญชาเป็นลำดับหน้าที่ โครงสร้างการบริหาระบบจะเป็นรูปปิรามิด ผุ้ที่อย่ระดับชั้นการบังคับบัญชาที่สูงกว่าจะคอยควบคุมและสั่งการผุ้อยุ่ในระดับต่ำกว่า
- การแบ่งงานกันทำ แบ่งงานออกเป็นกลุ่มตามลักษระการทำงานพิเศษเฉพาะอย่าง ดดยบุคคลจะอยู่ในตำแหน่งหน้าที่ตามความถนัดและความสามารถของตน
- ความไม่เป้นส่วนตัว สัมพันธภาพระหว่างบุคคลภายในระบบราชการจะต้องเป็นไปในลักษณะเป็นทางการ โดยไม่ยึดถือเรื่องส่วนตัวแต่จะยึดถือเหตุผลเป็นสำคัญ
- มีักฎระเบียบแลฃะวิธีปฏิบัตอย่างเป้ฯทางการ คือ ระเบียบและวิธีปฏิบัติต่างๆ นั้นจะต้องถูกน้ำมาช้อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน
- ความก้าวหน้าในงานอาชีพตามหลักคุณภาพ การทำงานในอาชีพจะต้องอาศัยความรู้ความสามารถเป็นสำัญและสามรถเจริญเติบโตในตำแหน่งหน้าที่ตามความรู้ความสามารถ
- การแบ่งแยกทั่งเรื่องส่วนตัวและทรัพย์สินของบุคคลออกจากองค์การ
ความหมายของระบบราชการมีผุ้ให้ความหมายไว้หลากหลาย อย่างไรก็ตาม เมื่อศึกษาและจะหเ็นว่า ระบบราชการเป็ฯระบบที่มุ่งผลสำเร็จตามเป้าหมาย อขงองค์การดังนั้นโครงสร้งของระบบราชการ จึงประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ ที่สำคัญ คือ ลำดับชั้นการบังคับบัญชา, ความรับผิดชอบ, การแบ่งงานหน้าที่และการฝึกอบรมให้มีความขำนาญเฉพาะด้าน, การมีระเบียบวินัย, การรวมการควบคุมแนะนำไว้ที่จุดศูนย์กลาง, การมีระเบียบกฎเกณฑ์ที่แน่นอนตายตัว ปัจจัยดังกล่าวนี้ ล้วนแต่จะช่วยทำหการปกิบัติงานของระบบราชการมีประสิทธิภาพสูงและมั่นคง แต่ในทางพฤติกรรมและบทบทแล้วพบ่า ระบบราชการเป็นระบบทีหใหญ่โตเทอะอะ ไม่มีประสิทธิภาพและเป็นตัวเหนียวรั้งการพัฒนาเศราฐฏิจและสังคมของประเทศ
ระบบการบริหาราชการเป็นเครื่องมือที่จำเป็นของระบบราชการที่จะผลักดันก่อให้เกิดความร่วมมือประสานงาน ความรับผิดชอบ และความร่วมใจกันปฏิบัติกิจการต่างๆ ให้บรระลุตามเป้าหมายขององค์การนั้นที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
การบริหารงานของรัฐหรือการบริหารงานขององคการราชการต่างๆ จะเจริญก้าวหน้าหรือปฏิบัติงานได้รับผลสำเร็จมีประสิทธิภาพสูงได้นั้น จะต้องพิจารณาปัจจัยสภาพแวดล้อมต่างๆ ประกอบดังต่อไปนี้
- การกำหนดโครงสร้างขององค์การ ต้องเลือกแบบที่มีผลดีมากว่าผลเสีย
- การกำหนดเป้าหมายขององค์การ ต้องพยายามให้สอดคล้องกับเป้าหมายของผู้ปฏิบัติมากที่สุด ดังนั้นการบริหารงานตามวัตุุประสค์หรือจุดมุ่งหมายจึงมีความสำคัญและจำเป็ฯอย่างยิ่งในการบริหารองค์การ
- การกำหนดแบ่งส่วนนราชการ ต้องเหมาะสมและทันต่อเหตุการณ์เมื่ององค์การดำเนินการต่อไประยะหนึ่ง อาจจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงพัฒนาองค์กร เนื่องจากไม่เหมาะสมกับสภาพการทำงานภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก เป็นต้น
- การมอบอำนาจหน้าที่ใ้แก่ผุ้ใต้บังคับบัญชาจะช่วยแบ่งเบาภาระหน้าที่ของผุ้บริหารระดับสูง เสริมสร้างพัฒนาผุ้นำในองค์การ และทำให้การบริหารมีความสะดวกคล่องตัวยิ่งขึ้น
- สิ่งจูงใจในการทำงาน มีคามจำเป็ฯและมีอิทธิพลอย่างยิงต่อประสิทธิผลของการปฏิลัติงาน
- การฝึกอบรมและการเพิ่มประสิทธิภาพมีความสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาบุคคลผู้ปฏิบัติงานให้มีความรู้ความสามารถและเชี่ยวชาญในหน้าที่รับผิดชอบของตน
- ระเบียบปฏิบัติราชการ เป็นปัจจัยช่วยทำให้การปฏิบัติงานของระบบราชการมีประสิทธิภาพสุงและมีความมั่นคงตลอดไป แต่ในทางพฤติกรรมและบทบามแล้ว มักพบเสมอว่าสิ่งนี้เป้ฯตัเหน่ยวรั้งการพัฒนาการบริหารองค์การทำให้ไม่เจริญก้าวหน้าและไม่ได้ผลทันต่อเหจุการณ์เท่าที่ควร จึงจำเป็ฯต้องปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับนโยบายและป้าหมายขององค์การ
การให้บริการของรัฐ มีความหมายดังนี้
- บริการประชาชนคล้ายกับสินค้าสาธารณะว่า หมายถึง กิจกรรมทุกประเภที่รัฐจัดทำขึ้น เพื่อสนองความต้องการส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งอาจแบ่งได้ 2 ประเภท คือ กิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการในด้านความสะดวกใน การดำเนินชีวิต
- การที่องค์การของรัฐได้กระจายสินค้าสาธารณะออกไปให้กับประชานในสังคม เพื่อความเป็ฯอยู่ที่ดีขึ้นและเอื้ออำนวยประโยชน์สุขแก่ประชาชนให้มากที่สุดโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐและยังต้องการศึกษา
หลักการให้บริการประชาชนของรัฐ ต้องคำนึงถึงหลัก 3 ประการคือ
1. เพื่อประโยชน์สาธารณะ การบริการประชาชน เป้ฯปฏิสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่ขององค์กรของรัฐกับประชาชน ดดยมีเป้าหมายที่จะเอื้ออำนวยประโยชน์แก่ประชาชน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกบประชาชซึ่งองค์การของรัฐมีบทบาทหน้าที่สำคัญ 2 ประการคือ เป็นกลไกปกครองอุแลประชาชนให้ปฏิบัติตามครรลองของกฎหมาย และเป็นกลไกจัดสรรทรัพยากรและการบริการพื้นฐานทางสังคม การให้บริการขององค์การของรัีฐ จึงประกอบด้วยองค์การ 2 ประเภท คือ องค์การที่ให้บริการเพื่อประดยชน์ส่วนรวม และองค์การที่ให้บริการเพื่อประโชน์ส่วนยุคคล โดยองค์การที่ดำเนินการเพื่อประโยชน์ส่วนรวม ทำหน้าที่ในกาควบคุมให้ประชาชนอยุ่ภายใต้กฎหมายและเกิดความเป็นระเบียบขึ้นในสังคม ส่วนองค์การให้บริการเพือประโยชน์ส่วนบุคคลเป็ฯองค์การที่ส่งเสริมความเป็นอยุ่ อาชีพและอนามัยให้ดีขึ้น
2. หลักการบริการประชาชน การบริการประชาชนซึ่งเป็นหน้าที่ของรัฐ จะต้องทำหน้าที่ให้บริการต่างๆ ให้แก่ประชาชน เช่นการรักษาความสงบเรียบร้อยและากรแห้ไขปัญหาความขัดแย้งในสังคม แารป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม การักษาสิทธิมนุษยชนโดยกฎมหาย แารป้องกันประเทศการให้สิ่งวตอบแทนแก่สมาชิกในสังคมผุ้ทำคุณประดยชน์ต่อชาติบ้านเมือง การออกฎหมายสวัสดิการแก่ผุ้ใช้แรงงาน การระดมทรัพยากร ได้แก่ เงินภาษีอากรจากสังคม การสาธาณสุข กาบริการแก่ผุ้ยากจนให้เปล่าโดยบัตรสุขภาพ การให้การศึกษา แก่เยาชนให้เปล่า การวางแผนใช้พลังงานและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาและวางแผนชุมชนเมือง การจัดทำบริการสาธารณะ
3. หลักการบริหารในด้านการบริการประชาชน รัฐมีเป้าหมายการบริการเพื่อความพังพอใจของประชาชน รัฐมีหน้าที่เป้ฯองค์การของรัฐ ถ้าเจ้าหน้าที่ขององค์การของรัฐบริการประชาชนดีแล้ว ประชาชนที่ได้รับบริการจากองค์การของรัฐควรมีความสบายใจ ซึ่งผลที่ได้จากการบริการของรัฐด้งกล่าว ประชาชนจะพอใจและให้ความร่วมมือกับรัฐ
การบริการสาธารณะ
คือ การปฏิบัติบใช้และให้ความสะดวกแก่ประชาชนทั่วไป การให้บริการสาธารณะตรงกับภาษาอังกฤษ Public Service Deliverly และได้มีวิวัฒนาการมาตั้งแต่มนุษย์มารวมกันอยู่เป็ฯประเทศ แต่ละประเทศก็มีลักษณะของบริการสาธารณะที่แตกต่างกันตามคามเหมาะสม ซึงบริการสาธารณะที่จัทดทำขึ้นส่วนใหย่จะมาจากฝ่ายปกครองและอาจจะถือได้ว่าเป็นหน้าที่ที่สำคัญย่ิง ในการบริหารงานของภาครัฐโดยเฉพาะในลักษณะงานทีต้องมีการติดต่อสัมพันธ์กับประชาชนโดยตรง โดยหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ผุ้ให้บริการมีหน้าที่ในการส่งต่อการบริการให้แก่ผุ้รับบริการให้แนวคิดเกี่ยวกับการให้บริการที่ของนำมากล่าวพอดังนี้
- การที่บุคคล กลุ่มบุคคลหรือหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการให้ บริกาสาธารณะ ซึ่งอสจจะเป็นของรัฐหรือเอกชน มีหน้าที่การา่งต่อการให้บริการ สาธารณะแก่ประชาชน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยส่วนร่วมการให้บริการสาธารณะที่เป้ฯระบบ "ระบบ" มีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ สถานที่และบุคคลที่ให้บริกา, ปัจจัยนำเข้าหรือทรัพยากร, กระบวนการและกิจกรรม, ผลผลิตหรือตัวบริการ, ข่องทางการให้บริกาและผลกระทบที่มีต่อผุ้รับบริการ
- แนวคิดของการให้บริการสาธารณะ อาจกล่าวได้ว่า เป็นกิจกรรมที่อยุ่ในความทำนวยการหรือในความควบคุมของฝ่ายปกครอง, มีวัตถุประสงค์ในการสนองความต้องการส่วนรวมของประชชน, การจัดระเบียบและวิธีดำเนินบริการสาธารณะยอมจะแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ เสมอเืพ่อให้เหมาะสมแก่ความจำเป้นแห่งกาลสมัย, บริการสาธารณะจะต้องจัดดำเนินการอยู่เป็นนิจและโดยสม่ำเสมอไม่มีการหุดชะงัก ถ้าบริการสาธารณะจะต้องหยุดชะงักลงด้วยประการใดๆ ประชาชนย่อมได้รับ ความเดือดร้อนหรือได้รับวามเสียหาย, เอกขนย่อมมีสทิธิที่จะได้รบประโยชน์จากบริการสาธารณะเท่าเที่ยมกัน
- บริการสาธารณะเป็นกิจการของฝ่ายปกครองที่จัดทำขึ้นเพื่อประดยชน์สาธารณะ สามารถแยกออกไดเป็นองประเทภคือ "ตำรวจทางปกครอง"และ "การบริการสาธารณะ" โดยกิจการของฝ่ายปกครองทั้งสองประเภทมีวัตถุประสงค์ของกิจกรรมที่ต่างกันกล่าวคือ
ตำรวจปกครอง เป็นกิจกรรมที่ฝ่ายปกครองจัดให้มีเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยขึ้นในสังคม การป้องกันดังกล่าวสามารถทำได้ในรูปแบบของการออกกฎหรือคำสั่งมาใช้บังคับล่วงหน้าโดยเป็นกิจกรรมที่ตำรวจใช้อำนาจฝายเดียวในการควบคุมและรักษาความสงบเรียบร้อย
การบริการสาธารณะเป็ฯกิจกรรมซึ่งรัฐมีหน้าทีต้องจัดทำขึ้นเพื่อสนองความต้องการของประชาชนโดยส่วนรวม เป็นการให้บริการแก่ประชาชนหรือการดำเนินการอื่นเพื่อสนองความต้องการของประชาชน
บริการสาธารณะมีลักษณะทางอุตสาหกรรมและพาณิชกรรมเป็นบริการสาธารณะอีประเภทหนึ่งที่ฝ่ายปกครองเป็นผู้ดำเนินการแต่มีลักษณะคล้ายกับการดำเนินการให้บริการของเอกชน คือ เน้นทางด้านการผลิต การจำหน่าย การให้บริการ และมีการแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้รับโดยมีวิะีปฏิบัติงานที่สร้างขึ้นมาเองเพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการดำเนินการ อีทั้งแหล่งรายได้ส่วนใหญ่จะมาจากค่าตอบแทนที่เรียกเก็บจากผุ้ใช้บริการ
การบริหารภาครัฐยุคใหม่ การปฏิรูประบบราชการเกิดขึ้นเพื่อลดชนาดราชการ มุ่งเพิ่มประสิทธิภาพ การวัดคุณค่า การกระจายอำนาจ การสละอำนาจและการให้บริการด้วยระบบตลาด และเทคนิคการบริหารการสมัยใหม่ การปฏิรูประบบราชการลักษระนี้นิยมเรียกว่า "การจัดการภาครัฐแนวใหม่" หรือ เรียกว่า "การจัดการนิยม" หรือ "การบริหารภาครัฐที่อาศัยระบบตลาด" หรือ "รัฐบาลแบบผุ้ประกอบการ"
"การจัดการภาครัฐแนวใหม่" ถื่อได้ว่าเป็นกรอบแนวคิดที่ครอบคลุมทฤษฎีแนวคิด และเทคนิควิทยาการทางการจักการอย่างกว้างขวาาง และหลากหลาย จนนำไปสู่ความสับสนในการจำกัดความหมายและขอบข่ายเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ดี การจัดการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะร่วมที่สำคัญ คือ การสะท้อนถึงการมุ่งเน้น ไการปฏิรูปฎ การบริหารงานในภาครัฐ เพื่อเข้ามาแก้ไขปัญหาทางการบริหารที่ตัวแบบตั้งเดิมหรือระบบแบบเดิมมิอาจจัดการได้ยอ่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังเช่นในอดคต ดดยมีจุดเน้นที่สำคัญคือ การเน้นความสำคัญไปที่ระบบกาารจัดการมากว่านนดยบาย การมุ่งเน้นผลงานและประสิทธิภาพ การมุ่งปรับโครงสร้างในแบบระบบราชการที่มีความเทอะทะและใหญ่โตไปสู่องค์การที่มีขนาดเล็ก การปรับระบบการบริหารจัดการที่วางอยุ่บนกลไกทางการตลาดมากขึ้น เพื่อกระตุ้นการแข่งขัน การตดทอนและลดค่าใช้จ่ายของภาตรัฐ และสุดท้าย ได้แก่ การปรับรูปแบบการจัดการที่เน้นเป้าหมาย การใช้ระบบสัญาว่าจั้าระยะสั้น และการให้แรงจูงใจทางการเงินและความเป็นอิสระทางการจัดการ
องค์ประกอบหลักของการจัดการภาครัฐแนวใหม่
- การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน
- การลดการควบคุมจากส่วนกลางและเพ่อมอิสระนในกาบริหารให้แก่หน่วยงาน
- การกำหนด วัด และให้รางวัลแก่ผลการดำเนินงานทั้งในระดับองค์กรแลละในระดับบุคคล
- การสร้างระบบสนับสนุนทั้งในด้านบุคลากร (เชน การฝึกอบรม ระบบค่าตอบแทนและระบบคุณธรรม) และเทคโนโลยี (เช่น ระบบข้อมูลสารสนเทศ) เพือช่วยให้หน่วยงานสามารถทำงานได้บรรลุวัตถุประสงค์
- การเปิดกว้างต่อแนวคิดการแข่งขัน ทั้งการแข่งขันระหว่างหน่วยงานของรัฐด้วยกันเองและระหว่างหน่วยงานของรัฐกับหน่วยงานของภาคเอกชน
ในขณะเดียวกันภาครัฐก็หันมาทบทวนตัวเองว่าสิ่งใดควรทำ และสิ่งใดควรปล่อยให้เอกชนทำ ถึงแม้ว่าการจัดการภาครัฐแนวใหม่จะถือได้ว่าเป็นกระแสหลักของการปฏิรูประบบราชการทั่วดลกในปัจจุบัน แต่ในการนำแนวคิดมาปรับใช้ ควรพิจารณาถึงการนำไปปฏิบัติย่างละเียดเพื่อให้มีความเหมาะสมกับความต้องการ ค่านิยมและวัฒนธรรมของแต่ละประเทศลักษณะเด่นของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ จึงอยู่ที่ความพยายามแก้ปัญหาของระบบราชการแบบดั้งเดิมโดยเฉพาะอย่างยิงการปรบปรุงในด้านประสิทธิภาพและการให้บริการประชาชน อย่างไรก็ดี การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่แยกไม่ออกจากบริบทของวิกฤตการคลังที่ร้ายแรง เพราะวิกฤตการคลังเป้นต้นเหตุสำคัญที่ทำใหเ้เกิดการปฏิรูประบบราชการตามแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ อีกทั้งการปกิรูประบบราชการยังเป้ฯหัวใจของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่เนื่องจากเหตุผล 4 ประการคือ
1) ระบบราชการเป็นกลไกหลักที่จะทำให้รรัฐเล็ลง ซึ่งจะช่วยให้การขาดดุลการคลังลดลง
2) การทำให้ระบบราชการมีความยือหยุ่นมากขึ้น เป็นวิธีการสำคัญที่จะทำให้ผุ้บริหารสามารถบริหารงานได้สำเร็จ
3) การวัดผลงานเป็นหลักในการคิดและวิเคราะห์ของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ดังนั้นการทำงานของระบบราชการใหม่ จะเปลียนไปยู่าภยใต้สัญญาการทำงานตามผลงาน ซึ่งจะต้องสามารถวัดผลงานที่ให้แก่ประชาชได้ ส่วนความรับผิดชอบก็ต้องระบุเอาไว้อย่างชัดเจนและเป็นที่เข้าใจตรงกันทั้งฝ่ายผุ้บริหารและพนักงาน จะต้องไม่กำหนดไว้กว้าง ๆ เมื่อนเมื่อก่อน
4) ประเด็นทางการเมือง ที่เกิดจากการนำการจัดการภาครัฐแนวใหม่ไปปฏิบัติ กลับปรากฎว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่การต่อต้านของฝ่ายการเมือง แต่ปัญหาอยู่ที่การต่อต้านของระบบราชการเอง โดยเฉพาะการต่อต้านการลดขนาดองค์การ และการต่อต้านาิ่งที่จะมาทำลายความมั่นคงในการทำงานของข้าราชการดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า การจัดการภาครัฐแนวใหม่เป้นแนวคิดหลักในการปฏิรูประบบราชการโดยการนำเอาหลักการจัดการสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ เพื่อการพัฒนาระบบราชการให้เป็นระบบราชการยุคใหม่ มาประยุกต์ใช้ เพื่อการพัฒนาระบบารชการให้เป้ฯระบบราชการยุคใหม่ ซึ่งสามารถทำงานตอบสนองการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งระบบราชการตามแนวคิดการจัดการภาคแนวใหม่ในปัจจุบันมีลักษณะดังนี้
- เป็นระบบราชการที่มีความหลากหลาย แต่ยึดถือค่านิยมหลักเดี่ยวกัน ซึ่งแตกต่างจากระบบราชการในอดีตที่พยายามทำทุกอยางในระบบราชการให้เป็นโหลเดี่ยวกันทังหมด
- นิยามความหมายของระบบคุณธรรมใหม่ หมายถึง ระบบคุณธรรมที่เน้นให้ข้าราชการทำงานมีประสิทธิผลสูงขึ้นและยอมรับความแตกต่าง ต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาจากการมีขีดความสามารถที่ไม่เท่าเที่ยมกัน ซึ่งแตกต่างจการะบบคุณธรรมของระบบราชการในอดีตที่เน้นการปกป้องสิทธิประดยชน์ตอบแทนให้กับข้าราชการที่ปกิบัติหน้าที่แตกต่างกันและมีขีดควรามสามารถแตกต่างกันได้
- มุ่งเน้นสัมฤทธิผลของการปฏิบัติงาน ดดยมตัวชี้วัดผลการปกิบัติงานอย่างชัดเจนซึ่งแตกต่างจากระบบราชการในอดีตที่เน้นการทำงานตามกฎระเบียบตามกระบวนการและขั้นตอนการทำงานที่กำหนดไว้
- การจ้าง การถนอมรักษา ตลอดจนการส่งเสริมความก้าวหน้าของข้าราชการ เน้นที่การแสวงหาผุ้ที่มีขีดความสามารถสูงและส่งเสริมให้มีความก้าวหน้า โดยเปิดโอกาสให้ได้ทำงานที่มีความท้าทายซึ่
ตรงกันข้ามกับระบบราชการแบบเดิม ซึ่งเน้นให้ข้าราชการมีความรุ้ความสามรถทางเทคนิคที่ตรงกับตำแหน่งงานเป็นสำคัญ
- มีมุมมอต่อข้าราชการที่มีขีดความสามารถว่า เป็นสินทรัพย์หรือเป็นทุนมนุษย์ที่มีคาขององค์การ ยิ่งลงทุนให้ได้รับการพัฒนา ยิ่งสามารถทำงานสร้างประโยชน์ให้กับระบบราชการได้มากยิ่งขึ้นซึ่งแตกต่างจากระบบราชการในอดีตที่มองข้าราชการในฐานะที่เป้นส่วนหนึ่งของปัจจัยการผลิต รายจ่ายต่างๆ เกี่ยวกับข้าราชการจึงถือว่าเป้นค่าใช้จ่ายที่สิ้นเปลื่องของระบบราชการ
- การจ้างงานมีหลากหลายรูปแบบมีทั้ง กลุ่มที่เป็นข้าราชการประจำภายใต้ระบบการจ้างงานจนถึงการเกษียณอายุ, กลุ่มพนักงานราชการหรือพนักงานของรัฐ ภายใต้รูปแบบจ้างงานตาสัญาจ้างี่มีกำหนดระยะเวลาจ้าง , กลุ่มพนักงานราชการหรือพนักงานของรัฐ ภายใต้รูปแบบการจ้างงานตามสัญญาจ้าง, กลุ่มที่จ้างเหมาแรงงานมาจากเอกชน เป้นต้นซึ่งแตกต่างจากระบบราชกรแบบเดิม ที่มีรูปแบบการจ้างงานแบบเดียว คือ ข้าราชการประจำ ซึ่งจ้างจนเกษียณอายุราชการ แม้ว่าจะมีัลักษณะการจ้างงานที่หลากหลาย แต่ทุกกลุ่มต้องยึดถือค่านิยมหลักของระบบราชการเป็นแบบเดียวกัน
- ลักษระการจ้างงานไม่เน้นที่ความมั่นคงในการจ้างงาน แต่เน้นที่ผลการปฏิบัติงานถ้าปลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับที่ไม่น่าพอใจ ก็สามารถยกเลิกการจ้างได้ทั้งี้เพราะระบบราะชการเองก็มีข้อจำกัดในการหารายได้ไม่แตกต่างจากภาคเอกชน จึงต้องคำนึงถึงความสามารถในการจ้างงานของภาครัฐเองด้วย ซึ่งแตกต่างจากระบบราชการในอดีตที่เน้นความมั่นคงของการจ้างงานเป้นหลักที่สำคัญ การจ้างงานของภาครัฐแบบเดมจึงีลักษระเหมือนกับการให้สังคมสงเคราะห์แก่ข้าราชการ
- การประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการมีส่วนต่อความสำเร็จของเป้าหมายขอองค์การ ซึ่งแตกต่างจากการประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการในแบบเดิมที่ประเมินตามกิจกรรมการทำงานของข้าราชการแต่ละคน
- ความสัมพันธ์ระหว่างข้าราชการกับฝ่ายบริหารอยุ่บนพื้นฐานความร่วมมือระหว่างกันในการผลักดันให้องค์การบรรลุเป้าหมาย ในขณะเดียวกันองค์การก็ใส่ใจความพึงพอใจการทำงานของข้าราชการ รวมทั้งการเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในกรระบวนการทำงาน ซึ่งแตกต่างจากความสัมพันธ์ระหว่างข้าราชการกับฝ่ายบริหาร ภายใต้ระบบราชการแบบเดิม ที่มีลัษณะเป็นการทำงานของข้าราชการ รวมท้้งการเปิดโอกาสใ้หมีาส่วนร่วมในกระบวนกรทำงาน ซึ่งแตกต่างจากความสัมพันธ์ระหวา่างข้าราชการกับฝ่ายบริหาร ภายใต้ระบบราชการแบบเดิม ที่มีลักษณะเป็นการทำงานตามสายการบังคับบัญชา การทำงานตามกฎระเบียบและระบบงาน ซึ่งมักก่อให้เกิดความขัดแย้งในประเด็นต่างๆ ระหว่างกัน เชน ข้าราชการมีเป้าหมายที่ไม่สอดคล้องกับองค์ากร ทำให้เกิดข้อพิพาทที่ต้องแสวงหาแนวทางการแก้ปข
- องค์การกลางบริหารงานบุคคลกระจายอำนาจให้หัวหน้าส่วนราชการต่างๆ มีอำนาจและหน้าี่บริหารงานบุคคลได้อย่่างเต็มที่ ซึ่งแตกต่างจากระบบราชการแบบเดิมที่องค์กรกลางบริหารงานและสวงนอำนาจและหน้าที่งาานด้านการบริหารบุคคลเพื่อดำเนินกาอเองเป็นสวนใหญ่
ถ้ามองการพัฒนาการการจัดการภาครัฐแนวใหม่จะเห็นว่า พัฒนามาจากการจัดการภาครัฐในยุคพาราไดม์ที่ 6 โดยเฉพาะการจัดการภาครัฐในแนวทางการจัดการเพื่อการปลดปล่อยและแนวทางการจัดการที่มุ่งเน้นตลาด และการจัดการภาครัฐทั้ง 2 แนวทางนี้ก็มีรากฐานมาจากทฤษฎีทางเลือกสาธารณะ และเศรษฐศาสตร์เชิงสถาบันใหม่ หรือเศรษฐศาสตร์องค์การมีลักษณะเด่นคือ ความพยายามแก้ปัญหาของระบบราชการแบบดั้งเดิม โดยเฉพาะอย่างยิงการปรับปรุงในด้านประสิทธิภาพและการให้บริการประชาชน ซึ่งหัวใจสำคัญของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ก็คือ การปกิรูประบบราชการนั้นเอง
- digi.library.tu.ac.th/..,ความหมายของระบบราชการ
ระบบราชการ เป้ฯรูปแบบองค์กรที่มช้เหตุผล และประสิทธิภาพโดยมีอำนาจหน้าที่ตามระเบียบ และตามกฎหมาย มีลักษณะสำคัญดังนี้
- มีสายบังคับบัญชาเป็นลำดับหน้าที่ โครงสร้างการบริหาระบบจะเป็นรูปปิรามิด ผุ้ที่อย่ระดับชั้นการบังคับบัญชาที่สูงกว่าจะคอยควบคุมและสั่งการผุ้อยุ่ในระดับต่ำกว่า
- การแบ่งงานกันทำ แบ่งงานออกเป็นกลุ่มตามลักษระการทำงานพิเศษเฉพาะอย่าง ดดยบุคคลจะอยู่ในตำแหน่งหน้าที่ตามความถนัดและความสามารถของตน
- ความไม่เป้นส่วนตัว สัมพันธภาพระหว่างบุคคลภายในระบบราชการจะต้องเป็นไปในลักษณะเป็นทางการ โดยไม่ยึดถือเรื่องส่วนตัวแต่จะยึดถือเหตุผลเป็นสำคัญ
- มีักฎระเบียบแลฃะวิธีปฏิบัตอย่างเป้ฯทางการ คือ ระเบียบและวิธีปฏิบัติต่างๆ นั้นจะต้องถูกน้ำมาช้อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน
- ความก้าวหน้าในงานอาชีพตามหลักคุณภาพ การทำงานในอาชีพจะต้องอาศัยความรู้ความสามารถเป็นสำัญและสามรถเจริญเติบโตในตำแหน่งหน้าที่ตามความรู้ความสามารถ
- การแบ่งแยกทั่งเรื่องส่วนตัวและทรัพย์สินของบุคคลออกจากองค์การ
ความหมายของระบบราชการมีผุ้ให้ความหมายไว้หลากหลาย อย่างไรก็ตาม เมื่อศึกษาและจะหเ็นว่า ระบบราชการเป็ฯระบบที่มุ่งผลสำเร็จตามเป้าหมาย อขงองค์การดังนั้นโครงสร้งของระบบราชการ จึงประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ ที่สำคัญ คือ ลำดับชั้นการบังคับบัญชา, ความรับผิดชอบ, การแบ่งงานหน้าที่และการฝึกอบรมให้มีความขำนาญเฉพาะด้าน, การมีระเบียบวินัย, การรวมการควบคุมแนะนำไว้ที่จุดศูนย์กลาง, การมีระเบียบกฎเกณฑ์ที่แน่นอนตายตัว ปัจจัยดังกล่าวนี้ ล้วนแต่จะช่วยทำหการปกิบัติงานของระบบราชการมีประสิทธิภาพสูงและมั่นคง แต่ในทางพฤติกรรมและบทบทแล้วพบ่า ระบบราชการเป็นระบบทีหใหญ่โตเทอะอะ ไม่มีประสิทธิภาพและเป็นตัวเหนียวรั้งการพัฒนาเศราฐฏิจและสังคมของประเทศ
ระบบการบริหาราชการเป็นเครื่องมือที่จำเป็นของระบบราชการที่จะผลักดันก่อให้เกิดความร่วมมือประสานงาน ความรับผิดชอบ และความร่วมใจกันปฏิบัติกิจการต่างๆ ให้บรระลุตามเป้าหมายขององค์การนั้นที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
การบริหารงานของรัฐหรือการบริหารงานขององคการราชการต่างๆ จะเจริญก้าวหน้าหรือปฏิบัติงานได้รับผลสำเร็จมีประสิทธิภาพสูงได้นั้น จะต้องพิจารณาปัจจัยสภาพแวดล้อมต่างๆ ประกอบดังต่อไปนี้
- การกำหนดโครงสร้างขององค์การ ต้องเลือกแบบที่มีผลดีมากว่าผลเสีย
- การกำหนดเป้าหมายขององค์การ ต้องพยายามให้สอดคล้องกับเป้าหมายของผู้ปฏิบัติมากที่สุด ดังนั้นการบริหารงานตามวัตุุประสค์หรือจุดมุ่งหมายจึงมีความสำคัญและจำเป็ฯอย่างยิ่งในการบริหารองค์การ
- การกำหนดแบ่งส่วนนราชการ ต้องเหมาะสมและทันต่อเหตุการณ์เมื่ององค์การดำเนินการต่อไประยะหนึ่ง อาจจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงพัฒนาองค์กร เนื่องจากไม่เหมาะสมกับสภาพการทำงานภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก เป็นต้น
- การมอบอำนาจหน้าที่ใ้แก่ผุ้ใต้บังคับบัญชาจะช่วยแบ่งเบาภาระหน้าที่ของผุ้บริหารระดับสูง เสริมสร้างพัฒนาผุ้นำในองค์การ และทำให้การบริหารมีความสะดวกคล่องตัวยิ่งขึ้น
- สิ่งจูงใจในการทำงาน มีคามจำเป็ฯและมีอิทธิพลอย่างยิงต่อประสิทธิผลของการปฏิลัติงาน
- การฝึกอบรมและการเพิ่มประสิทธิภาพมีความสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาบุคคลผู้ปฏิบัติงานให้มีความรู้ความสามารถและเชี่ยวชาญในหน้าที่รับผิดชอบของตน
- ระเบียบปฏิบัติราชการ เป็นปัจจัยช่วยทำให้การปฏิบัติงานของระบบราชการมีประสิทธิภาพสุงและมีความมั่นคงตลอดไป แต่ในทางพฤติกรรมและบทบามแล้ว มักพบเสมอว่าสิ่งนี้เป้ฯตัเหน่ยวรั้งการพัฒนาการบริหารองค์การทำให้ไม่เจริญก้าวหน้าและไม่ได้ผลทันต่อเหจุการณ์เท่าที่ควร จึงจำเป็ฯต้องปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับนโยบายและป้าหมายขององค์การ
การให้บริการของรัฐ มีความหมายดังนี้
- บริการประชาชนคล้ายกับสินค้าสาธารณะว่า หมายถึง กิจกรรมทุกประเภที่รัฐจัดทำขึ้น เพื่อสนองความต้องการส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งอาจแบ่งได้ 2 ประเภท คือ กิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการในด้านความสะดวกใน การดำเนินชีวิต
- การที่องค์การของรัฐได้กระจายสินค้าสาธารณะออกไปให้กับประชานในสังคม เพื่อความเป็ฯอยู่ที่ดีขึ้นและเอื้ออำนวยประโยชน์สุขแก่ประชาชนให้มากที่สุดโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐและยังต้องการศึกษา
หลักการให้บริการประชาชนของรัฐ ต้องคำนึงถึงหลัก 3 ประการคือ
1. เพื่อประโยชน์สาธารณะ การบริการประชาชน เป้ฯปฏิสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่ขององค์กรของรัฐกับประชาชน ดดยมีเป้าหมายที่จะเอื้ออำนวยประโยชน์แก่ประชาชน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกบประชาชซึ่งองค์การของรัฐมีบทบาทหน้าที่สำคัญ 2 ประการคือ เป็นกลไกปกครองอุแลประชาชนให้ปฏิบัติตามครรลองของกฎหมาย และเป็นกลไกจัดสรรทรัพยากรและการบริการพื้นฐานทางสังคม การให้บริการขององค์การของรัีฐ จึงประกอบด้วยองค์การ 2 ประเภท คือ องค์การที่ให้บริการเพื่อประดยชน์ส่วนรวม และองค์การที่ให้บริการเพื่อประโชน์ส่วนยุคคล โดยองค์การที่ดำเนินการเพื่อประโยชน์ส่วนรวม ทำหน้าที่ในกาควบคุมให้ประชาชนอยุ่ภายใต้กฎหมายและเกิดความเป็นระเบียบขึ้นในสังคม ส่วนองค์การให้บริการเพือประโยชน์ส่วนบุคคลเป็ฯองค์การที่ส่งเสริมความเป็นอยุ่ อาชีพและอนามัยให้ดีขึ้น
2. หลักการบริการประชาชน การบริการประชาชนซึ่งเป็นหน้าที่ของรัฐ จะต้องทำหน้าที่ให้บริการต่างๆ ให้แก่ประชาชน เช่นการรักษาความสงบเรียบร้อยและากรแห้ไขปัญหาความขัดแย้งในสังคม แารป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม การักษาสิทธิมนุษยชนโดยกฎมหาย แารป้องกันประเทศการให้สิ่งวตอบแทนแก่สมาชิกในสังคมผุ้ทำคุณประดยชน์ต่อชาติบ้านเมือง การออกฎหมายสวัสดิการแก่ผุ้ใช้แรงงาน การระดมทรัพยากร ได้แก่ เงินภาษีอากรจากสังคม การสาธาณสุข กาบริการแก่ผุ้ยากจนให้เปล่าโดยบัตรสุขภาพ การให้การศึกษา แก่เยาชนให้เปล่า การวางแผนใช้พลังงานและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาและวางแผนชุมชนเมือง การจัดทำบริการสาธารณะ
3. หลักการบริหารในด้านการบริการประชาชน รัฐมีเป้าหมายการบริการเพื่อความพังพอใจของประชาชน รัฐมีหน้าที่เป้ฯองค์การของรัฐ ถ้าเจ้าหน้าที่ขององค์การของรัฐบริการประชาชนดีแล้ว ประชาชนที่ได้รับบริการจากองค์การของรัฐควรมีความสบายใจ ซึ่งผลที่ได้จากการบริการของรัฐด้งกล่าว ประชาชนจะพอใจและให้ความร่วมมือกับรัฐ
คือ การปฏิบัติบใช้และให้ความสะดวกแก่ประชาชนทั่วไป การให้บริการสาธารณะตรงกับภาษาอังกฤษ Public Service Deliverly และได้มีวิวัฒนาการมาตั้งแต่มนุษย์มารวมกันอยู่เป็ฯประเทศ แต่ละประเทศก็มีลักษณะของบริการสาธารณะที่แตกต่างกันตามคามเหมาะสม ซึงบริการสาธารณะที่จัทดทำขึ้นส่วนใหย่จะมาจากฝ่ายปกครองและอาจจะถือได้ว่าเป็นหน้าที่ที่สำคัญย่ิง ในการบริหารงานของภาครัฐโดยเฉพาะในลักษณะงานทีต้องมีการติดต่อสัมพันธ์กับประชาชนโดยตรง โดยหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ผุ้ให้บริการมีหน้าที่ในการส่งต่อการบริการให้แก่ผุ้รับบริการให้แนวคิดเกี่ยวกับการให้บริการที่ของนำมากล่าวพอดังนี้
- การที่บุคคล กลุ่มบุคคลหรือหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการให้ บริกาสาธารณะ ซึ่งอสจจะเป็นของรัฐหรือเอกชน มีหน้าที่การา่งต่อการให้บริการ สาธารณะแก่ประชาชน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยส่วนร่วมการให้บริการสาธารณะที่เป้ฯระบบ "ระบบ" มีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ สถานที่และบุคคลที่ให้บริกา, ปัจจัยนำเข้าหรือทรัพยากร, กระบวนการและกิจกรรม, ผลผลิตหรือตัวบริการ, ข่องทางการให้บริกาและผลกระทบที่มีต่อผุ้รับบริการ
- แนวคิดของการให้บริการสาธารณะ อาจกล่าวได้ว่า เป็นกิจกรรมที่อยุ่ในความทำนวยการหรือในความควบคุมของฝ่ายปกครอง, มีวัตถุประสงค์ในการสนองความต้องการส่วนรวมของประชชน, การจัดระเบียบและวิธีดำเนินบริการสาธารณะยอมจะแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ เสมอเืพ่อให้เหมาะสมแก่ความจำเป้นแห่งกาลสมัย, บริการสาธารณะจะต้องจัดดำเนินการอยู่เป็นนิจและโดยสม่ำเสมอไม่มีการหุดชะงัก ถ้าบริการสาธารณะจะต้องหยุดชะงักลงด้วยประการใดๆ ประชาชนย่อมได้รับ ความเดือดร้อนหรือได้รับวามเสียหาย, เอกขนย่อมมีสทิธิที่จะได้รบประโยชน์จากบริการสาธารณะเท่าเที่ยมกัน
- บริการสาธารณะเป็นกิจการของฝ่ายปกครองที่จัดทำขึ้นเพื่อประดยชน์สาธารณะ สามารถแยกออกไดเป็นองประเทภคือ "ตำรวจทางปกครอง"และ "การบริการสาธารณะ" โดยกิจการของฝ่ายปกครองทั้งสองประเภทมีวัตถุประสงค์ของกิจกรรมที่ต่างกันกล่าวคือ
ตำรวจปกครอง เป็นกิจกรรมที่ฝ่ายปกครองจัดให้มีเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยขึ้นในสังคม การป้องกันดังกล่าวสามารถทำได้ในรูปแบบของการออกกฎหรือคำสั่งมาใช้บังคับล่วงหน้าโดยเป็นกิจกรรมที่ตำรวจใช้อำนาจฝายเดียวในการควบคุมและรักษาความสงบเรียบร้อย
การบริการสาธารณะเป็ฯกิจกรรมซึ่งรัฐมีหน้าทีต้องจัดทำขึ้นเพื่อสนองความต้องการของประชาชนโดยส่วนรวม เป็นการให้บริการแก่ประชาชนหรือการดำเนินการอื่นเพื่อสนองความต้องการของประชาชน
บริการสาธารณะมีลักษณะทางอุตสาหกรรมและพาณิชกรรมเป็นบริการสาธารณะอีประเภทหนึ่งที่ฝ่ายปกครองเป็นผู้ดำเนินการแต่มีลักษณะคล้ายกับการดำเนินการให้บริการของเอกชน คือ เน้นทางด้านการผลิต การจำหน่าย การให้บริการ และมีการแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้รับโดยมีวิะีปฏิบัติงานที่สร้างขึ้นมาเองเพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการดำเนินการ อีทั้งแหล่งรายได้ส่วนใหญ่จะมาจากค่าตอบแทนที่เรียกเก็บจากผุ้ใช้บริการ
การบริหารภาครัฐยุคใหม่ การปฏิรูประบบราชการเกิดขึ้นเพื่อลดชนาดราชการ มุ่งเพิ่มประสิทธิภาพ การวัดคุณค่า การกระจายอำนาจ การสละอำนาจและการให้บริการด้วยระบบตลาด และเทคนิคการบริหารการสมัยใหม่ การปฏิรูประบบราชการลักษระนี้นิยมเรียกว่า "การจัดการภาครัฐแนวใหม่" หรือ เรียกว่า "การจัดการนิยม" หรือ "การบริหารภาครัฐที่อาศัยระบบตลาด" หรือ "รัฐบาลแบบผุ้ประกอบการ"
"การจัดการภาครัฐแนวใหม่" ถื่อได้ว่าเป็นกรอบแนวคิดที่ครอบคลุมทฤษฎีแนวคิด และเทคนิควิทยาการทางการจักการอย่างกว้างขวาาง และหลากหลาย จนนำไปสู่ความสับสนในการจำกัดความหมายและขอบข่ายเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ดี การจัดการภาครัฐแนวใหม่มีลักษณะร่วมที่สำคัญ คือ การสะท้อนถึงการมุ่งเน้น ไการปฏิรูปฎ การบริหารงานในภาครัฐ เพื่อเข้ามาแก้ไขปัญหาทางการบริหารที่ตัวแบบตั้งเดิมหรือระบบแบบเดิมมิอาจจัดการได้ยอ่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังเช่นในอดคต ดดยมีจุดเน้นที่สำคัญคือ การเน้นความสำคัญไปที่ระบบกาารจัดการมากว่านนดยบาย การมุ่งเน้นผลงานและประสิทธิภาพ การมุ่งปรับโครงสร้างในแบบระบบราชการที่มีความเทอะทะและใหญ่โตไปสู่องค์การที่มีขนาดเล็ก การปรับระบบการบริหารจัดการที่วางอยุ่บนกลไกทางการตลาดมากขึ้น เพื่อกระตุ้นการแข่งขัน การตดทอนและลดค่าใช้จ่ายของภาตรัฐ และสุดท้าย ได้แก่ การปรับรูปแบบการจัดการที่เน้นเป้าหมาย การใช้ระบบสัญาว่าจั้าระยะสั้น และการให้แรงจูงใจทางการเงินและความเป็นอิสระทางการจัดการ
องค์ประกอบหลักของการจัดการภาครัฐแนวใหม่
- การให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชน
- การลดการควบคุมจากส่วนกลางและเพ่อมอิสระนในกาบริหารให้แก่หน่วยงาน
- การกำหนด วัด และให้รางวัลแก่ผลการดำเนินงานทั้งในระดับองค์กรแลละในระดับบุคคล
- การสร้างระบบสนับสนุนทั้งในด้านบุคลากร (เชน การฝึกอบรม ระบบค่าตอบแทนและระบบคุณธรรม) และเทคโนโลยี (เช่น ระบบข้อมูลสารสนเทศ) เพือช่วยให้หน่วยงานสามารถทำงานได้บรรลุวัตถุประสงค์
- การเปิดกว้างต่อแนวคิดการแข่งขัน ทั้งการแข่งขันระหว่างหน่วยงานของรัฐด้วยกันเองและระหว่างหน่วยงานของรัฐกับหน่วยงานของภาคเอกชน
ในขณะเดียวกันภาครัฐก็หันมาทบทวนตัวเองว่าสิ่งใดควรทำ และสิ่งใดควรปล่อยให้เอกชนทำ ถึงแม้ว่าการจัดการภาครัฐแนวใหม่จะถือได้ว่าเป็นกระแสหลักของการปฏิรูประบบราชการทั่วดลกในปัจจุบัน แต่ในการนำแนวคิดมาปรับใช้ ควรพิจารณาถึงการนำไปปฏิบัติย่างละเียดเพื่อให้มีความเหมาะสมกับความต้องการ ค่านิยมและวัฒนธรรมของแต่ละประเทศลักษณะเด่นของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ จึงอยู่ที่ความพยายามแก้ปัญหาของระบบราชการแบบดั้งเดิมโดยเฉพาะอย่างยิงการปรบปรุงในด้านประสิทธิภาพและการให้บริการประชาชน อย่างไรก็ดี การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่แยกไม่ออกจากบริบทของวิกฤตการคลังที่ร้ายแรง เพราะวิกฤตการคลังเป้นต้นเหตุสำคัญที่ทำใหเ้เกิดการปฏิรูประบบราชการตามแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ อีกทั้งการปกิรูประบบราชการยังเป้ฯหัวใจของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่เนื่องจากเหตุผล 4 ประการคือ
1) ระบบราชการเป็นกลไกหลักที่จะทำให้รรัฐเล็ลง ซึ่งจะช่วยให้การขาดดุลการคลังลดลง
2) การทำให้ระบบราชการมีความยือหยุ่นมากขึ้น เป็นวิธีการสำคัญที่จะทำให้ผุ้บริหารสามารถบริหารงานได้สำเร็จ
3) การวัดผลงานเป็นหลักในการคิดและวิเคราะห์ของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ดังนั้นการทำงานของระบบราชการใหม่ จะเปลียนไปยู่าภยใต้สัญญาการทำงานตามผลงาน ซึ่งจะต้องสามารถวัดผลงานที่ให้แก่ประชาชได้ ส่วนความรับผิดชอบก็ต้องระบุเอาไว้อย่างชัดเจนและเป็นที่เข้าใจตรงกันทั้งฝ่ายผุ้บริหารและพนักงาน จะต้องไม่กำหนดไว้กว้าง ๆ เมื่อนเมื่อก่อน
4) ประเด็นทางการเมือง ที่เกิดจากการนำการจัดการภาครัฐแนวใหม่ไปปฏิบัติ กลับปรากฎว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่การต่อต้านของฝ่ายการเมือง แต่ปัญหาอยู่ที่การต่อต้านของระบบราชการเอง โดยเฉพาะการต่อต้านการลดขนาดองค์การ และการต่อต้านาิ่งที่จะมาทำลายความมั่นคงในการทำงานของข้าราชการดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า การจัดการภาครัฐแนวใหม่เป้นแนวคิดหลักในการปฏิรูประบบราชการโดยการนำเอาหลักการจัดการสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ เพื่อการพัฒนาระบบราชการให้เป็นระบบราชการยุคใหม่ มาประยุกต์ใช้ เพื่อการพัฒนาระบบารชการให้เป้ฯระบบราชการยุคใหม่ ซึ่งสามารถทำงานตอบสนองการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งระบบราชการตามแนวคิดการจัดการภาคแนวใหม่ในปัจจุบันมีลักษณะดังนี้
- เป็นระบบราชการที่มีความหลากหลาย แต่ยึดถือค่านิยมหลักเดี่ยวกัน ซึ่งแตกต่างจากระบบราชการในอดีตที่พยายามทำทุกอยางในระบบราชการให้เป็นโหลเดี่ยวกันทังหมด
- นิยามความหมายของระบบคุณธรรมใหม่ หมายถึง ระบบคุณธรรมที่เน้นให้ข้าราชการทำงานมีประสิทธิผลสูงขึ้นและยอมรับความแตกต่าง ต่างๆ ที่เกิดขึ้นมาจากการมีขีดความสามารถที่ไม่เท่าเที่ยมกัน ซึ่งแตกต่างจการะบบคุณธรรมของระบบราชการในอดีตที่เน้นการปกป้องสิทธิประดยชน์ตอบแทนให้กับข้าราชการที่ปกิบัติหน้าที่แตกต่างกันและมีขีดควรามสามารถแตกต่างกันได้
- มุ่งเน้นสัมฤทธิผลของการปฏิบัติงาน ดดยมตัวชี้วัดผลการปกิบัติงานอย่างชัดเจนซึ่งแตกต่างจากระบบราชการในอดีตที่เน้นการทำงานตามกฎระเบียบตามกระบวนการและขั้นตอนการทำงานที่กำหนดไว้
- การจ้าง การถนอมรักษา ตลอดจนการส่งเสริมความก้าวหน้าของข้าราชการ เน้นที่การแสวงหาผุ้ที่มีขีดความสามารถสูงและส่งเสริมให้มีความก้าวหน้า โดยเปิดโอกาสให้ได้ทำงานที่มีความท้าทายซึ่
ตรงกันข้ามกับระบบราชการแบบเดิม ซึ่งเน้นให้ข้าราชการมีความรุ้ความสามรถทางเทคนิคที่ตรงกับตำแหน่งงานเป็นสำคัญ
- มีมุมมอต่อข้าราชการที่มีขีดความสามารถว่า เป็นสินทรัพย์หรือเป็นทุนมนุษย์ที่มีคาขององค์การ ยิ่งลงทุนให้ได้รับการพัฒนา ยิ่งสามารถทำงานสร้างประโยชน์ให้กับระบบราชการได้มากยิ่งขึ้นซึ่งแตกต่างจากระบบราชการในอดีตที่มองข้าราชการในฐานะที่เป้นส่วนหนึ่งของปัจจัยการผลิต รายจ่ายต่างๆ เกี่ยวกับข้าราชการจึงถือว่าเป้นค่าใช้จ่ายที่สิ้นเปลื่องของระบบราชการ
- การจ้างงานมีหลากหลายรูปแบบมีทั้ง กลุ่มที่เป็นข้าราชการประจำภายใต้ระบบการจ้างงานจนถึงการเกษียณอายุ, กลุ่มพนักงานราชการหรือพนักงานของรัฐ ภายใต้รูปแบบจ้างงานตาสัญาจ้างี่มีกำหนดระยะเวลาจ้าง , กลุ่มพนักงานราชการหรือพนักงานของรัฐ ภายใต้รูปแบบการจ้างงานตามสัญญาจ้าง, กลุ่มที่จ้างเหมาแรงงานมาจากเอกชน เป้นต้นซึ่งแตกต่างจากระบบราชกรแบบเดิม ที่มีรูปแบบการจ้างงานแบบเดียว คือ ข้าราชการประจำ ซึ่งจ้างจนเกษียณอายุราชการ แม้ว่าจะมีัลักษณะการจ้างงานที่หลากหลาย แต่ทุกกลุ่มต้องยึดถือค่านิยมหลักของระบบราชการเป็นแบบเดียวกัน
- ลักษระการจ้างงานไม่เน้นที่ความมั่นคงในการจ้างงาน แต่เน้นที่ผลการปฏิบัติงานถ้าปลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับที่ไม่น่าพอใจ ก็สามารถยกเลิกการจ้างได้ทั้งี้เพราะระบบราะชการเองก็มีข้อจำกัดในการหารายได้ไม่แตกต่างจากภาคเอกชน จึงต้องคำนึงถึงความสามารถในการจ้างงานของภาครัฐเองด้วย ซึ่งแตกต่างจากระบบราชการในอดีตที่เน้นความมั่นคงของการจ้างงานเป้นหลักที่สำคัญ การจ้างงานของภาครัฐแบบเดมจึงีลักษระเหมือนกับการให้สังคมสงเคราะห์แก่ข้าราชการ
- การประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการมีส่วนต่อความสำเร็จของเป้าหมายขอองค์การ ซึ่งแตกต่างจากการประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการในแบบเดิมที่ประเมินตามกิจกรรมการทำงานของข้าราชการแต่ละคน
- ความสัมพันธ์ระหว่างข้าราชการกับฝ่ายบริหารอยุ่บนพื้นฐานความร่วมมือระหว่างกันในการผลักดันให้องค์การบรรลุเป้าหมาย ในขณะเดียวกันองค์การก็ใส่ใจความพึงพอใจการทำงานของข้าราชการ รวมทั้งการเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในกรระบวนการทำงาน ซึ่งแตกต่างจากความสัมพันธ์ระหว่างข้าราชการกับฝ่ายบริหาร ภายใต้ระบบราชการแบบเดิม ที่มีลัษณะเป็นการทำงานของข้าราชการ รวมท้้งการเปิดโอกาสใ้หมีาส่วนร่วมในกระบวนกรทำงาน ซึ่งแตกต่างจากความสัมพันธ์ระหวา่างข้าราชการกับฝ่ายบริหาร ภายใต้ระบบราชการแบบเดิม ที่มีลักษณะเป็นการทำงานตามสายการบังคับบัญชา การทำงานตามกฎระเบียบและระบบงาน ซึ่งมักก่อให้เกิดความขัดแย้งในประเด็นต่างๆ ระหว่างกัน เชน ข้าราชการมีเป้าหมายที่ไม่สอดคล้องกับองค์ากร ทำให้เกิดข้อพิพาทที่ต้องแสวงหาแนวทางการแก้ปข
- องค์การกลางบริหารงานบุคคลกระจายอำนาจให้หัวหน้าส่วนราชการต่างๆ มีอำนาจและหน้าี่บริหารงานบุคคลได้อย่่างเต็มที่ ซึ่งแตกต่างจากระบบราชการแบบเดิมที่องค์กรกลางบริหารงานและสวงนอำนาจและหน้าที่งาานด้านการบริหารบุคคลเพื่อดำเนินกาอเองเป็นสวนใหญ่
ถ้ามองการพัฒนาการการจัดการภาครัฐแนวใหม่จะเห็นว่า พัฒนามาจากการจัดการภาครัฐในยุคพาราไดม์ที่ 6 โดยเฉพาะการจัดการภาครัฐในแนวทางการจัดการเพื่อการปลดปล่อยและแนวทางการจัดการที่มุ่งเน้นตลาด และการจัดการภาครัฐทั้ง 2 แนวทางนี้ก็มีรากฐานมาจากทฤษฎีทางเลือกสาธารณะ และเศรษฐศาสตร์เชิงสถาบันใหม่ หรือเศรษฐศาสตร์องค์การมีลักษณะเด่นคือ ความพยายามแก้ปัญหาของระบบราชการแบบดั้งเดิม โดยเฉพาะอย่างยิงการปรับปรุงในด้านประสิทธิภาพและการให้บริการประชาชน ซึ่งหัวใจสำคัญของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ก็คือ การปกิรูประบบราชการนั้นเอง
- digi.library.tu.ac.th/..,ความหมายของระบบราชการ
วันเสาร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2560
United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization (UNESCO)
องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ เป็นทบวงการชำรัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่องวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488 และต่อมาเหลังสังครามโลกครั้งท่ 2 ประเทศสมาชิกก่อตั้ง 20 ประเทศได้ร่วมมือกันให้สัตยาบันธรรมนุญองค์การ ซึ่งเร่ิมด้วยข้อความที่ว่า
" สงครามเร่ิมต้นที่จิตใจของมนุษย์ฉันใด ความ
หวงแหนสันติภาพก็ต้องสร้างขึ้นใจจิตใจของ
มนุษย์ด้วยฉัีนนั้น:since wars began in the
minds of men,it is in the minds of men that
the defences of peace must constructed"
นอกจากนี้ ธรรมนูญยูเนสโก ยังบงชี้ไว้ด้วยว่า สันติภาพทีเกิดจากการตกลงทางการเมือง ทางเรษฐกิจระหว่างรัฐบาลเพียงอย่างเดียว ย่อมไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างเต็มที่แท้จริงและยืนาน จากประเทศชาติต่างๆ ในโลกสันตุภาพจะต้องวางรากฐาอยงุ่บนความร่วมมือทางุมิปัญญา และจิตสำนึกของมนุษยชาติ ดังนั้นองค์การยูเนสโกจึงมุ่งเน้นการส่งเสริมสันตุภาพ ด้วยการส่งเสริมความร่วมมือของนานาชาติ ด้านการศกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมเพื่อให้ทั่วโลกเคารพในความยุติธรรม กฎหมาย สิทธิและเสรีภาพ ที่มนุษย์พึงมี โดยไม่ถือเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา ตามกฎบัตรสหประชาชาต์ ยูเนสโกมีสำนักงานใหญ่อยู่ี่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
กลไกการทำงานของยูเนสโก
การประชุมสมัยสามัญ การประชุมสมัญสามัญเป็นองค์กรบริหารสูงสุดของยูเนสโก แประกอบด้วยผุ้แทนจากรัฐสมาชิกของยูเนสโก มีประชุมทุก 2 ปี เพื่อเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารแต่งตั้งผุ้อำนวยการใหญ่ กำหนดมติเรื่องแผนงานและงบประมาณต่างๆ ตลอดจนพิจารณารับประเทศสมาชิก โดยปกติหัวหน้าคณะผุ้แทนที่เข้าร่วมการประชุมจะเป็นระดับรัฐมนตรีหรือเทียบเท่า
คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยผุ้ทรงคุณุฒิและมีชื่อเสียงทางด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม จำนวน 58 คน เลือกจากผู้แทนของประเทศสมาชิกจากภูมิภาคต่างๆ กรรมการบริหารจะอยู่ในวาระคราวละ 4 ปี คือ จะต้องปฏิบัติงานตั้งแต่การประชุมสมัยสามัญที่ตนได้รับเลือกสิ้นสุดลง จนถึงการประชุม สมัยสามัญอีก 2 ครั้งต่อไปสิ้นสุดลง คณะกรรมการบริหารของยูเนสโกมีหน้าที่พิจารณาและติดตามการดำเนินงานของสำนักเลขาธิการยูเนสโกให้สอดคล้องกับมติการประชุมสมัยสามัญ พิจารณาเสนอระเบียบวาระการประชุมทสมัยสามัญ ดครงการกิจกรรมและการปฏิวัติงานขององค์การยูเนสโก รวมทั้งงบประมาณขององค์การตามที่ผุ้อำนวยการใหญ่เสอ พิจารณารายงานกิจกรรมต่างๆ ขององค์การ เพื่อติดตามและประเมินผล
สำนักเลขาธิการ ยูเนสโก เป็นฝ่ายบริหารที่รับผิดชอบงานประจำและกิจกรรมที่เป็นงานระหว่างชาติ ทำงานภายใต้ผุ้อำนวยการใหญ่ดำเนินการ ติดตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารและที่ประชุมสมัยสามัญ มีผุ้อำนวยการใหญ่เป็นผุ้บริหารสูงสุด อยุ่ในวาระ 6 ปี
กลไกระดับชาติของประเทศสมาชิก
1 คณะผู้แทนถาวะ บางประเทศจะอต่างตั้งเอกอัครราชทูตเป็นผุ้แทนถาวรประจำยูเนสโก สำหรับประเทศไทยมีสำนักงานตั้งอยุ่
2 คณะกรรมการแห่งชาติ ตั้งอยู่ ณ เพื่อประสานงานของรัฐสมาชิกแต่ละรัฐกับองค์การเพื่อเป็นตัวแทนรัฐบาลและหน่วยงานสำคัญ ๆ ทังนี้เป็นไปตามธรรมนูญของยูเนสโกได้กำหนดให้มีหน่วยงานประสานงานหรือคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ เพื่อประสานงานของรัฐสมาชิกแต่ละรัฐกับองค์การเพื่อเป็ฯตัวแทนรัฐบาลและ หน่วยงานสำคัญๆ ของประเทศ ซึ่งดำเนินการทางด้าน การศึกษา วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม สังคมศาสตร์ และสื่อสารมวลชน ตลอดจนเผยแพร่ข่าวสารสำนักงานเลขาธิการของคณะกรรมการแห่งชาติดังกล่าว มักจะตั้งอยุ่ที่กระทรวงการต่างประเทศหรือกระทรวงศึกษาธิการตามแกต่ประเทศ สมาชิกจะกำหหนดดครงสร้งของตน โดยจะเรียกว่า สำนักเลขาธิการคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
สำหรับสำนักงานยูเนสโก กรุงเทพฯ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2504 ต่อมาปี พ.ศ. 2544 ได้เปเลี่ยนชื่อเป้ฯ สำนักงานเพื่อการศึกษาในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ปัจจุบันสำนักงานยูเนสโกกรุงเทพฯ เป้นสำนักงานของโครงการระดับภูมิภาคด้านการศึกษา วัฒนธรรม สังคมศาสตร์ สื่อสารมวลชน และสารสนเทศ ใถนถูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก นอกจานี้ยังทำหน้าที่เป็นสำนักงานผุ้แทนโดยตรงของประเทศไทย พท่า ลาว ปละสิงคโปร์ และประสานงานกับยูเนสในประเทศเวียดนาม และเขมร เกี่ยวกับกิจกรรมและดครงการของประเทศเหล่านี้ ผุ้อำนวยการสำนักงานยูเนสโก กรุงเพทฯ คนปัจจุบันคือ นายกวาง โจ คิม
ภารกิจหลักของสำนักงานยูเนสโก กรุงเทพฯ มุ่งเน้นด้านการศึกษา โดยมีโครงกรภายใต้การดำเนินงานอยู่ 3 โครงการหลักคือ โครงการการศึกษาเพื่อปวงชนแห่งภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก, โครงการนวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อการพัฒนาแห่งภูมิภาคเอเงียและแปซิฟิก และฝ่ายนโยบายและแผนงานด้านการศึกษา นอกจากนี้ยูเนสโก กรุงเทพฯยังทำหน้าที่ประสานงาน และส่งเสริม โครงการ และกิจกรรมในภูมิภาคเอเซีย และแปซิคฟิคในสาขาต่างคือ
- ส่งเสริมการสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรมและการอนุรักษณ์มรดกโลก
- การพัฒนาและดำเนินกรแปนงานวิจัย การเฝ้าสังเกตการณ์มหาสมุทรและการบริการในพื้นที่นั้นๆ
- ด้านการศึกษเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
- ส่งเสริมการเรียนรู้มาตรฐานและความร่วมมือทาง ปัญญา เพื่อเอื้อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ที่ตระหนักถึงคุณค่าของความยุติธรรม อิสรภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
- ด้านการสื่อสารและสารสนเทศ ด้านเอชไอวี อนามัยเจริญพันธุ์ในเยาวชน และสุขศึกษาในโรงเรียน
- ด้านการสื่อสาร และสรสนเทศ
- th.wikipedia.org/องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
- www.unescobkk.org /เกี่ยวกับยูเนสโก
- ยูเนสโก (UNESCO) ชื่อไกลแต่เป็นเรื่องใกล้ตัว, วันเพ็ญ อัพดัน ผุ้เชี่ยวชาญด้านต่างประเทศ.
" สงครามเร่ิมต้นที่จิตใจของมนุษย์ฉันใด ความ
หวงแหนสันติภาพก็ต้องสร้างขึ้นใจจิตใจของ
มนุษย์ด้วยฉัีนนั้น:since wars began in the
minds of men,it is in the minds of men that
the defences of peace must constructed"
นอกจากนี้ ธรรมนูญยูเนสโก ยังบงชี้ไว้ด้วยว่า สันติภาพทีเกิดจากการตกลงทางการเมือง ทางเรษฐกิจระหว่างรัฐบาลเพียงอย่างเดียว ย่อมไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างเต็มที่แท้จริงและยืนาน จากประเทศชาติต่างๆ ในโลกสันตุภาพจะต้องวางรากฐาอยงุ่บนความร่วมมือทางุมิปัญญา และจิตสำนึกของมนุษยชาติ ดังนั้นองค์การยูเนสโกจึงมุ่งเน้นการส่งเสริมสันตุภาพ ด้วยการส่งเสริมความร่วมมือของนานาชาติ ด้านการศกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมเพื่อให้ทั่วโลกเคารพในความยุติธรรม กฎหมาย สิทธิและเสรีภาพ ที่มนุษย์พึงมี โดยไม่ถือเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา ตามกฎบัตรสหประชาชาต์ ยูเนสโกมีสำนักงานใหญ่อยู่ี่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
กลไกการทำงานของยูเนสโก
การประชุมสมัยสามัญ การประชุมสมัญสามัญเป็นองค์กรบริหารสูงสุดของยูเนสโก แประกอบด้วยผุ้แทนจากรัฐสมาชิกของยูเนสโก มีประชุมทุก 2 ปี เพื่อเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารแต่งตั้งผุ้อำนวยการใหญ่ กำหนดมติเรื่องแผนงานและงบประมาณต่างๆ ตลอดจนพิจารณารับประเทศสมาชิก โดยปกติหัวหน้าคณะผุ้แทนที่เข้าร่วมการประชุมจะเป็นระดับรัฐมนตรีหรือเทียบเท่า
คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยผุ้ทรงคุณุฒิและมีชื่อเสียงทางด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม จำนวน 58 คน เลือกจากผู้แทนของประเทศสมาชิกจากภูมิภาคต่างๆ กรรมการบริหารจะอยู่ในวาระคราวละ 4 ปี คือ จะต้องปฏิบัติงานตั้งแต่การประชุมสมัยสามัญที่ตนได้รับเลือกสิ้นสุดลง จนถึงการประชุม สมัยสามัญอีก 2 ครั้งต่อไปสิ้นสุดลง คณะกรรมการบริหารของยูเนสโกมีหน้าที่พิจารณาและติดตามการดำเนินงานของสำนักเลขาธิการยูเนสโกให้สอดคล้องกับมติการประชุมสมัยสามัญ พิจารณาเสนอระเบียบวาระการประชุมทสมัยสามัญ ดครงการกิจกรรมและการปฏิวัติงานขององค์การยูเนสโก รวมทั้งงบประมาณขององค์การตามที่ผุ้อำนวยการใหญ่เสอ พิจารณารายงานกิจกรรมต่างๆ ขององค์การ เพื่อติดตามและประเมินผล
สำนักเลขาธิการ ยูเนสโก เป็นฝ่ายบริหารที่รับผิดชอบงานประจำและกิจกรรมที่เป็นงานระหว่างชาติ ทำงานภายใต้ผุ้อำนวยการใหญ่ดำเนินการ ติดตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารและที่ประชุมสมัยสามัญ มีผุ้อำนวยการใหญ่เป็นผุ้บริหารสูงสุด อยุ่ในวาระ 6 ปี
กลไกระดับชาติของประเทศสมาชิก
1 คณะผู้แทนถาวะ บางประเทศจะอต่างตั้งเอกอัครราชทูตเป็นผุ้แทนถาวรประจำยูเนสโก สำหรับประเทศไทยมีสำนักงานตั้งอยุ่
2 คณะกรรมการแห่งชาติ ตั้งอยู่ ณ เพื่อประสานงานของรัฐสมาชิกแต่ละรัฐกับองค์การเพื่อเป็นตัวแทนรัฐบาลและหน่วยงานสำคัญ ๆ ทังนี้เป็นไปตามธรรมนูญของยูเนสโกได้กำหนดให้มีหน่วยงานประสานงานหรือคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ เพื่อประสานงานของรัฐสมาชิกแต่ละรัฐกับองค์การเพื่อเป็ฯตัวแทนรัฐบาลและ หน่วยงานสำคัญๆ ของประเทศ ซึ่งดำเนินการทางด้าน การศึกษา วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม สังคมศาสตร์ และสื่อสารมวลชน ตลอดจนเผยแพร่ข่าวสารสำนักงานเลขาธิการของคณะกรรมการแห่งชาติดังกล่าว มักจะตั้งอยุ่ที่กระทรวงการต่างประเทศหรือกระทรวงศึกษาธิการตามแกต่ประเทศ สมาชิกจะกำหหนดดครงสร้งของตน โดยจะเรียกว่า สำนักเลขาธิการคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
สำหรับสำนักงานยูเนสโก กรุงเทพฯ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2504 ต่อมาปี พ.ศ. 2544 ได้เปเลี่ยนชื่อเป้ฯ สำนักงานเพื่อการศึกษาในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ปัจจุบันสำนักงานยูเนสโกกรุงเทพฯ เป้นสำนักงานของโครงการระดับภูมิภาคด้านการศึกษา วัฒนธรรม สังคมศาสตร์ สื่อสารมวลชน และสารสนเทศ ใถนถูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก นอกจานี้ยังทำหน้าที่เป็นสำนักงานผุ้แทนโดยตรงของประเทศไทย พท่า ลาว ปละสิงคโปร์ และประสานงานกับยูเนสในประเทศเวียดนาม และเขมร เกี่ยวกับกิจกรรมและดครงการของประเทศเหล่านี้ ผุ้อำนวยการสำนักงานยูเนสโก กรุงเพทฯ คนปัจจุบันคือ นายกวาง โจ คิม
ภารกิจหลักของสำนักงานยูเนสโก กรุงเทพฯ มุ่งเน้นด้านการศึกษา โดยมีโครงกรภายใต้การดำเนินงานอยู่ 3 โครงการหลักคือ โครงการการศึกษาเพื่อปวงชนแห่งภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก, โครงการนวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อการพัฒนาแห่งภูมิภาคเอเงียและแปซิฟิก และฝ่ายนโยบายและแผนงานด้านการศึกษา นอกจากนี้ยูเนสโก กรุงเทพฯยังทำหน้าที่ประสานงาน และส่งเสริม โครงการ และกิจกรรมในภูมิภาคเอเซีย และแปซิคฟิคในสาขาต่างคือ
- ส่งเสริมการสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรมและการอนุรักษณ์มรดกโลก
- การพัฒนาและดำเนินกรแปนงานวิจัย การเฝ้าสังเกตการณ์มหาสมุทรและการบริการในพื้นที่นั้นๆ
- ด้านการศึกษเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
- ส่งเสริมการเรียนรู้มาตรฐานและความร่วมมือทาง ปัญญา เพื่อเอื้อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ที่ตระหนักถึงคุณค่าของความยุติธรรม อิสรภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
- ด้านการสื่อสารและสารสนเทศ ด้านเอชไอวี อนามัยเจริญพันธุ์ในเยาวชน และสุขศึกษาในโรงเรียน
- ด้านการสื่อสาร และสรสนเทศ
- th.wikipedia.org/องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
- www.unescobkk.org /เกี่ยวกับยูเนสโก
- ยูเนสโก (UNESCO) ชื่อไกลแต่เป็นเรื่องใกล้ตัว, วันเพ็ญ อัพดัน ผุ้เชี่ยวชาญด้านต่างประเทศ.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...