แนวคิเรื่องการจัดตั้งประชาคมอาเซียนเกิดขึ้น ในการประชุมสุดยอดอาเซียนที่บาหลีในปี 2003 โดยได้มีการจัดทำ Bali Concord II ซึ่งตกลงกันว่าจะจัดตั้งประชาคมอาเซยนขึ้นภายในปี 2020 (ต่ต่อมาเป็นปี 2015) โดยประชาคมอาเซียนจะมี 3 เสาหลัก ได้แก่ ประชคมการเมืองความมั่นคง ประชาคมสังคมวัฒนธรรม สำหรับประชาคมการเมืองความมั่นคงนั้น ต่อมในปี 2004 ได้มีการจัดทำ แผนปฏิบัติการ หรือ Plan of action ขึ้น ซึ่งมีการบรรจุมาตรการต่างๆ เพื่อไปสู่การจัีดตั้งประชาคมและล่าสุด อาเซียน ได้จัดทำแผนงานหรือ Blueprint ซึ่งมีรายละเอียดมากว่า แพลน ออฟ แอคชั่น โดยได้มีการลงนามรับรอง บลูพริ้นท์ Blueprint ในการประชุมสุดยอดที่หัวหิน โดยแบ่งเรื่องหลักๆ ในการสร้างประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียนคือเรื่องการพัฒนาทางการเมือง การพัฒนาบรรทัดฐาน กลไกป้องกันความขัดแย้ง กลไกแก้ไขความขัดแย้ง
ซึ่งในประเด็นนี้ มีข้อสังเกตว่า คำนิยามของประชาคมความมั่นคงอาเซียน จำกรัฐบาลอาเซียน นั้นแตกต่างค่อนข้องมากจากคำนิยามของนักวิชาการที่ศึกษาเรื่องประชาคมความมั่นคง ซึ่งนักวิชาการให้ความสำคัญ กับ ประชาคมความมั่นคงจะต้องมีการกำหนด นโยบายร่วมกัน การับรู้ถึงภัยคุกคามร่วมกัน มีอัตลักษณ์ร่วม มีความร่วมมือทางการทหาร มีความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกัน มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย และมีสถาบันที่เป็นทางการ ซึ่งแตกต่างจากประชาคมความมั่นนคงอาเซียนที่รัฐบาลอาเซียนกำหนดขึ้นมา และกลไกการป้องกันและแก้ไขความขัดแย้งของประชาคมอาเซียมีลักษณธมุ่งเน้นแก้ความขัดแย้งระหว่างรัฐ แต่โลกในยุคปัจจุบันความขัดแย้งส่วนใหญ่เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นภายในรัฐ แต่มีลักษณะข้ามชาติ ดังนั้น กลไกอาเซียนจึงอาจจะไม่มีประสิทะิภาพรอบรับกับความขัดแย้งในรูปแบบใหม่
- การพัฒนาทางการเมือง เรื่องการส่งเสริมประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชนและการติดต่อในระดับประชาชนต่อประชาชน อย่างไรก็ตาม ในโลกแห่งความเป็นจริงอาเซียนยังมีปัญหามากมายที่เกี่ยวกับพัฒนาการประชาธิปไตย ซึ่งที่สุดแล้วกลไกนี้จะถูกตัทอดหน้าที่และละบทลาทกระทั่งไร้ประสิทธิภาพในที่สุด
- การพัฒนาบรรทัดฐาน หรือกฎเกณฑ์ข้อตกลงต่างๆ ของอาซียน (ทัศนของผู้เขียน..) ใอนาคต อาเซียนคงจะต้องพัฒนาขยายการทำสนธิสัญญาและข้อตกลงให้ครอบคลุมในด้านต่างๆ ต่อไป โดยให้มองที่สหภาพยุโรป วิวัฒนาการของสหภาพยุโรปที่เป็นมาโดยตลอด ตั้งแต่การจัดตั้งประชาคมยุโรป ก็มีสนธิสัญญารองรับ...
- การป้องกันความขัดแย้ง ประชาคมมั่นคงอาเซียน จะเน้นในการสร้างกลไกป้องกันความขัดแย้ง ซึ่งกลไกที่สำคัญคือ มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกัน การจัดประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซีน การจดทะเบียนการซื้อขายในอาเซียน และการพัฒนาระบบเตือนภัยล่วงหน้า
อย่างไรก็ดี การพัฒนามาตการเหล่านี้ ไม่ใช้เรื่องง่าย และไม่แน่ใจว่าจะทันเวลาหรือไม่ การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซีนนั้น นังมีความร่วมมือที่เบาบางมาก และเรื่องนี้ก็เป็นเรื่องที่แปลกแต่จริง ที่อาเซียนก่อตั้งมา 41 ปีแล้ว แต่ไม่มีการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนเลย ก็เพิ่งจะมีประชุมครั้งแรกเมื่อไม่กี่ปีมานี้เอง หากอาเซียนไม่มีการร่วมมือทางการทหารอย่างจริงจัง การพัฒนาไปสู่การเป็นประชาคมความมั่นคงอาเซียนอย่างแท้จริง ก็คงไม่เกิดขึ้น
- การแก้ไขความขัดแย้ง กลไกหนึงที่สำประชาชาติใช้อย่างได้ผลคือ กองกำลังรักษาสันติภาพ ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ได้มีการถกเถียงกันในประเด็นที่ว่า อาเซียนควรมีการจัดตั้งกองกำลังรักษาสันติภาพของอาเซียน หรือไม่ อินโดนีเซียนดูจะผลักดันเรื่องนี้เป็นพิเศษ แต่ก็มีหลายประเทศโดยเฉพาะประเทศที่ยังมีระบอบเผด็จการในอาเซียน ยังคงหวาดระแวงว่า กองกำลังรักษาสันติภาพอาเซียน อาจเป็นกลไกที่จะขช้ามาแรกแซงกิจการภายใน โดยเฉพาะการเข้ามาทำให้ระบอบเผด็จการของตนสั่นคลอนลง ดังนั้น ขณะนี้ อาเซียนจึงไม่สามารถตกลกันได้ในเรื่องนี้ แต่กลับมองว่ เราควรผลักัดนการจัดตั้งกองกำลังรักษาสนัติภาพของอาเซียนให้เกิดขึ้น เพราะนอกจากจะเป็นกลไกในการักษาสันจิภาพในอาเซียนแล้ว ยังจะทำให้อาเซียนมีความเป็นเแกภาพมากขึ้น โดยเฉพาะในกรอบของการส่งกองกำลังอาเซียนเข้าร่วมกับกองกำลังรักษาสันติภาพของประชาชาติ
- ความสัมพันธ์กับประเทศมหาอำนาจ การกำหนดความสัมพันธ์ของประชาคมอาเซียนกับประเทศมหาอำนาจ ซึ่งมีหลายระดับ ระดับแรกเป็นความสัมพันธ์ในลักษณะอาเซียน + 1 คือความสัมพันะ์ระหว่งอาเซียนกับสหรัฐ จีน ญี่ปุ่น อินเดียฯลฯ โจทย์สำคัยคือ ทำหอย่างไรอาเซียนจะทำใเ้หิดดดุลยภาพแห่งอำาจในภมิภาคขึ้น และทำอย่างไรประชาคมความมั่นคงอาเซียนจึงจะกลายเป็แหนหลักของสภาบันความมั่นคงในภูมิภาค อาเซียนจะต้องพยายามเล่นเกมถ่วงดุลอำนาจให้ด โดยไม่ไปแกล้ชิดกับมหาอำนาจใดมหาอำนาจหนึ่งมาเกินไป
นอกจากนี้ ความสัมพันะ์ของประชาคมอาเซียในกรอบอาเซียน +3 อีก ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เป้าหมายระยะยาวคือ การพัฒนสไปเป็นประชาคมเอเชียตะวันออก มองว่าการพัฒนาตรงนี้ น่าจะเป็นการต่อยอดไปจากประชคมความมั่นคงอาเซีนย ขยายออำปเป็นประชคมความมั่นคงเอเชียตะวันออก ซึ่งอาจจะเป็นเป้าหมายระยะยาว
ความสัมพันะ์ของอาเซียนใีอีกกรอบหนึ่งคื อEast Asia Summit ซึ่งเป็นกรอบอาเซีนย +6 มองว่า กรอบนี้ วัตถุประสงค์หลักคือ การดึงอีก 3 ปรเทศเข้ามา คือ อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เพื่อถ่วงดุลจีน แต่ก็กำลังจะเป็นดาบสองคม เพราะอาเซีย +6 กำลังเป็นตัวทำลายการจัดตั้งประชาคมเอเซียตะวันออกพังทลายลง อาเซียนจึงไม่ควรเพิ่มความสัมพันธ์ในกรอบนี้ให้เข้มข้นขึ้น
สำหรับกรอบสุดท้าย ที่จะกล่าวคือ ASEAN Regional Forum ซึ่งมองว่ายังมประโยชน์อยุ่แต่ประชาคมความมั่นคงอาเซียนจะตองมีบทบาทเป็นผู้นำต่อไป
อุปสรรค การจัดตั้งประชาคมความมั่นคงอาเซียนั้น ไม่ใช่เรื่องง่ายๆ เพราะอุปสรรคหลายเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความขัแย้งทางกเมือง กรณีพิพาทเรื่องพรมแดนระหว่างประเทศมาชิก ประเทศสมาชิกยังไม่ไว้วางใจซึ่งกันแลกัน แลยังงกำหนดยุทธศาสตร์ทางทหาร โดยตั้งอยูบนพื้ฐานว่า ประเทศเพื่อบ้านอาจจะเป็นศัตรูหาอาเซียแก้ไปัญหาเหล่านี้ไม่ได้ การจักตั้งประชาคมความมั่นคงอาเซียนอย่างแท้จริง ก็คงะไม่เกิดขึ้นอย่างแน่นอน
ประชาคมเศรษกิจอาเซียน
ตลาดร่วมอาเซียน ใน Blueprint ได้มีการพูดถึงการจัดตั้งตลาดร่วมอาเซีย โดยมี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ การไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้า, การไหลเวียนอย่างเสรีของบริการ, การไหลเวียนอย่างเสรีของการลงทุน, จะให้มีการไหลเวียนที่มีความเสรีมากขึ้น สำหรับเงนิทุนและ การไหลเวียนเสรีสำหรับแรงงานมีฝีมือ
การเปิดเสรีการค้า จะเน้กนการลดภาษีลงให้เหลือ 0% และจะมีการขจัดอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษี ซึ่งน่าจะเป็นอุปสรรคสำคัญของการเปิดเสรีการค้า
สำหรับการเปิดเสรีการค้าบริการนั้น อาเซียนตั้งเป้าหมายว่า จะเปิดเสรีโดยเริ่มต้นจากสาขา 4 สาขาด้วยกัน ได้แก่ การขนส่งทางอากาศ ด้านสุขอนามัยและการท้องถเที่ยว และหลังจากนั้น จะเปิดเสรีทุกสาขา สาขาที่น่าจะมีปัญหาคือ การเปิดเสรีสาขาการเงิน โดยชอาจจะต้องนำเอาสุตร อาเซียน-เอ็กซ์ คือประเทศไหนพร้อมก็เปิดเสรไปก่อน ส่วนประเทศไหนไม่พร้อมก็เข้ามร่วมด้วยที่หลัง
สำหรับการเปิดเสรีการลงทุนนั้น อาเซียนได้มีกรอบความตกลงในเรื่องการจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียน และมีแผนที่จะทำการความตกลงกันใหม่ ซึงจะเน้นในเรื่องของการปกป้องการลงทุน การมีกฎระเบียบด้านการลงทุน ที่มีความโปร่งใส ส่งเสริมอาเซียนให้เป็นเขตการลงทุนเดี่ยว และเปิดเสรีระบอบการลงทุนของสมาชิกอาเซียน ที่จะนำไปสู่การลงทุนเสรและเปิดกว้าง
การไหลเวียนของเงินทุน อาเซียนยังไม่สามารถตั้งเป้าหมายให้เสรี ร้อยเปอร์เซนต์ จึงได้แคตัเ้งเป้าหมายให้การไกลเวยนของเงินทุนมีความเสรีมากขึ้นเท่านั้น
การไหลเวียนของแรงงาน อาเซียนก็ยังไม่สามารถเปิดเสรี ร้อยเปอร์เซนต์ ได้ เพีงแต่ตั้งเป้าหมายเปิดเสรีเฉพาะแรงงานมีฝีมือเท่านั้น ดังนั้นถ้าดุตามทฤษฎีแล้ว ตลาดร่วมจะต้องมี 4 เสรี คือ เสรีในการค้าสินค้า เสรีการค้าภาคบริการ เสรในการเคลื่อนย้ายเงินทุน และเสรีในการเคลื่อย้ายแรงงาน ดังนั้นจึงเป็นตลาดร่วมที่ยังไม่สมบูรณ์ ดังนั้นในอนาคต อาเซียนตะต้องหารือว่า เราจะเป็นตลาดร่วมแบบไหน ถ้าต้องการเป็นตลาดร่วมอย่างแท้จริง ก็คงจะต้องมีการหารือกันถึงเรื่องการเปิดเสรด้านเงินทุนและด้านแรงงาน ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่ายๆ เลย
การลดช่องว่างระหว่างประเทศรวยและประเทศจน ใน บลูพรินท์ ได้กล่าวถึงมาตการการลดช่องว่างระหวางประเทศรวยและประเทจนในอาเซียน ซึ่งหลังจากอาเซียนรับสมาชิกใหม่เข้ามา อาเซียนก็เหมือนแตกออกเป็น 2 ขั้ว คือ ประเทศพี่เก่า 6 ประเทศ ที่มีฐานะดีกว่า กับปรเทศน้องใหม่ 4 ประเทศ ที่มีฐานะยากจน เกี่ยวกับเรื่องนี้ มีความเห็นว่า การแห้ปัญหาเรื่องนี้ของอาเซียน ยังไม่มีเอกภาพเกรพาะกลไกอาเซียนนั้น หลักๆ จะมี 2 กลไก คือ กลไกการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับกำไกกการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งมักจะมีปัญหาขัแย้งกัน โดยเฉพาะในเรื่องของการแห้ปัญหาลดช่องว่าง แต่ในกรอบของรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน เมื่อปี 2001 ได้มีการจัดทำปฎิญญาเพื่อลดช่องว่างเช่นกัน และดูเหมือนว่า ทั้ง 2 กลไกนี้ ไปด้วยกันไม่ได้
ความสัมพันธ์กับมหาอำนาจ ความสัมพันธ์กับมหาอำนาจทางเศรษฐิจ ซึ่งมีอยู่หลยกรอบด้วยกัน กรอบแรกคือ อาเซีย +1 ในขณะนี้ความสัมพันธ์ราบรื่นดี โดยเแพาะกับจีน ี่ปุ่น อินเดีย ออสเกตเลีย และ อียู โดยอาเซียนเน้นการเจรจา FTA กับประเทศคู่เจรจาเหล่านี้ อย่างไรก็ตาม ความสัมพันะ์อาเซยนกับสหรัฐ ยังไม่ดีเท่าที่ควร จึงมฃควรมีการผลักดันการเจรจา FTA อาเซียน- สหรัฐ และการประชุมสุดยอด อาเซียน-สหรัฐขึ้นเป็นครั้งแรก
มิติที่สองคือความร่วมมือในกรอบอาเซียน +3 ซึ่งเป็นความร่วมมือระหวางอาเซี่ยนกับ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ควรมีการผลักดัน ให้มีการจัดตั้งประชาคนเศรษฐกิจเอเชียตะวันออกขึ้น โดยจะเป็นการต่อยอดออกไปจากประชคมเศรษฐกิจอาเซียน
อีกมิติหนึ่งคือ อาเซียนในเวที่โลก อาเซียนยังมีปัญหาอย่างมากให้การกำหนดท่าที่ร่วมกันเวทีโลก จะเห็นได้ว่า ท่าที่ของอาเซียนใน WTO ก็ไคนละทิศละทาง ใน Blueprint ของประชาคมอาเซียน ไม่ได้มีการพูว่า อาเซียนจะมีการพัฒนาเป็นอะไรต่อไป จึงของเสนอความเห็นว่า อาเซียน่าจะพัฒนาเป็นสหภาพอาเซียน ซึงมีลักษณะคล้ายๆ กับสหภาพยุโรปนั่นเอง ดดยมีการพัฒนาระบบการเงินอาเซียนให้เป็นระบบเดียวกัน คื อให้มีการจัดตั้งสหภาพการงินอาเซียน ซึ่งในระยะยาว จะพัฒนาไปเป็นเงินสกุลอาเซีน และจัดตั้งธนาคารกลางอาเซียนขึ้น นอกจากนี้ การที่จะเป็นสหภาพอาเซียนได้ อาเซียนจะต้องมีการกำหนดนโยบายร่วมที่เป็นเนื่องเดี่ยวกัน โดยเฉพาะนโยบาย อุตสาหกรรม นโบยบายเกษตร และนโยบายต่างประเทศ
อุปสรรค ปัญหาใหญ่ของอาเซียนคือ ช่องว่างระหว่างประเทศรวยและประเทศจน ซึ่งยังคงมความแตกต่งกันมาก ระหว่างประเทศรวยซึ่งเป็นสมาชิกเก่า เช่น สิงคโปร์ กบประเทศสมาชิกน้องใหม่ ที่ยังคงมีความยากจนอยู่มากโดยเฉฑาะลาว กัมพูชา และพม่า ปรเทศอาเซียยังคงมองประเทศสมาชิกอื่นเป็นคู่แข่งทางเศรษฐกิจ แทที่จะเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ นอกจานี้ อาเซียนยังมีปัญหาทั้งบูรณาการในเชิงบลึกและใเชิงกว้าง ปัฐญหาบูรณาการในเขิงลึกคือ ไม่ใช้เรื่องง่าย ที่อาเซีนยนจะบรรลุเป้าหมายการจัดตั้งตลาดร่วมอาเซียนอย่างสมบูนณ์แบบ ในขณะที่ปัญหาบูรณาการในเชิงกว้างก็คือ ถึงแม้อาเซียนจะรวมตัวอกันอย่างเข้มแข็งแคไหน หรือในเชิงชึกแค่ไหน แต่อาเซียนก็ยังเป็นกลุ่มของประเทศเล็กๆ 10 ประเทศเท่านั้น อาเซียนจึงกำลังถึงทางตันในบูณาการในเชิงกว้าง
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ASEAN Socio Cultural Community เรียกย่อว่า ASCC มีเป้าหมายหลักที่จะทำให้เกิดประชาคมอาเซียนที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง และมีสงคมที่รับผิดชอบ เพื่ดก่อให้เกิดความเป็นอนหนึ่งอันเดี่ยวกัยและก่อให้เกิดเอกภาพ โดยเสริมสร้างอัตลักาณ์ร่วมกนแ ะลทำให้เกิดเป็นสัวงคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ซึ่งจะทำให้คุณภาพชีวิตและความเป็อยู่และสวัสดิการขปงระชาชนดีขึ้น ASCC ให้ความสำคัญกับ 5 เรื่องด้วยกัน คือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สวัสดิการสังคม สิทธิมนุษยชน สิ่งแวดล้อมและการสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เรื่องแรกที่ ASCC ให้ความสำคัญคือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยเน้นการศึกษาให้เป็นวาระของอาเซียน การสร้างสังคมความรู้ โดยส่งเสริมการเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐายอย่างทั่วถึง ส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม ส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศ อำนวยความสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเสริมสร้างทักษาในการปกอบอาร สำหรับสตรี เยาวชน ผุ้สูงอายุ และผุ้พิการ
สวัสดิการสังคม ASCC จะส่งเสริมความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ดดยลดความยากจนและส่งเสริมการคุ้มครองและวัสดิการสังคม เน้นการแก้ไขปัญหาความเหล่อล้ำด้านสังคมและเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิก รวมถึงการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาสหัสวรรษ ในการกำจัดความยากจนและความหิวโหย และ ASCC จะให้ความมั่นใจว่า ประชาชนอาเซียนทุกคนมีอาหารพอเพียงตลอดเวลา และให้ความมั่นใจในความปดลอภัยด้านอาหาร เนสการเข้าถึงการรักษาสุขภาพ ารบริหารทางการแพทย์และยาที่เพียงพอและราคาถูก รับประกันอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด และพร้อมรับกับภัยพิบัติและประชาคมที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น
สิทธิมนุษยชน ใน blueprint ของ ASCC ได้กล่าว่า อาเซียนมีพันธกรณีในการส่งเสริมความยุติธรรมและสิทธิของประชาชน โดยเน้นการปกป้องผลประโยชน์ สิทะิ รวมทั้งส่งเสริมโอกาศอย่างเท่าเทียม และยกระดับคุณภาพชีวิต มาตรฐานการดำรงชีวิตสำหรับสตรี เยาวชน ผุ้สูงอายุ และผู้พิการ...
สิ่งแวดล้าม ใน blueprint ของ ASCC ได้กล่าวว่า อาเซียน จะส่งเสริมสิ่งแวดล้อมสีเขียวและสะอาดโดยการปกป้องทรัพยากรทางธรรมชาติ อนุรักษ์ดิน น้ำแร่ธาตุและพลังงาน ความหลากหลายทางชีวภาพ ป่าไม ทรัพยากรชายฝั่ง และทรัพยากรทางทะเล รวมทั้งปรับปรุงคุณภาพน้ำและอากาศ และอาเซียนจะมีส่วนร่วมในความพยายามของโลกในการจัดการแห้ปัญหาสิ่งแวดล้อมโลก โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและคุ้มครองชั้นโอโซน...
การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน เรื่องสุดท้ายที่ ASCC ในห้ความสำคัญ คือ การสร้างอัตลักาณ์ของอาเซียน โดยจะเน้นการสร้างความรู้สึกของการอยู่ร่วมและส่งเสริมความเป็นเอกภาพในความแตกต่าง ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก เก่ยวกับวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ศาสนา และารยธรรมส่งเสริมการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน เพื่อให้ประชาชนรับรู้และเข้าใจด้านประวัติศาสตร์ของภูมิภาคที่เป็นหนึ่งเี่ยว และค้นหาเกี่ยวกับอัตลักณ์ของอาเซียน และสร้างอาเซียนที่มีประชาชนเป็แหรนำ โดยสนับสนุนทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วมใการะบวนการสร้างประชาคม
อุปสรรค กล่าวโดยสรุป การจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซยน อย่างแท้จริงไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะอาเซียนยังมีปัญหาเรื่องสังคมวัฒนธรมอีกมาก ได้แก่ ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน ปัฐหาการมีอัตลักาณ์ร่วมกัน ปัญหาสิ่งแวดล้อม ประชาชนยังมีความขัดแย้งและไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน ปัญหาช่องว่างระหว่างปรเทศรวยและประเทศจนปัญหาการทำให้ประชาคมอาเซียน เป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนยืกลาง และปัญหาที่ประชาชนไม่มีความรู้เรื่องอาเซียน...
- บทความ "ประชาคมอาเซียน", ประภัาสร์ เทพชาตรี, 2552.
วันอังคารที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2560
วันจันทร์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2560
Local government in Singapore
การที่ประเทศใดประเทศหนึ่งจะจัดให้มีการปกครองท้องถิ่นตามแบบประชาธิปไตยภายในประเทศได้ โดยอาศัย 2 หลักการพื้นฐานสำคัญที่เกื้อหนุนให้เกิดการปกครองท้องถ่ินก็คือ การกระจายอำนาจ และการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยเฉพาะในทางการเมือง หากในประเทศใดที่มีแนวคิดเกี่ยวกับการกระจายอำนาจจากส่วนกลางและแนวคิดการมีส่วนร่วมทางการเมืองแพร่หลาย และถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสภาบันทางการเมืองและวัฒนธรรมางการเมืองที่เอื้อต่อการจัดตั้งการปกครองท้องถิ่นในประเทศเพื่อเปิดให้ประชาชนในพื้นที่ได้มีส่วนร่วมจัดการปกครองกันเอง ที่สะท้อนถึงความต้องการของประชาชน และให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดตั้งการปกครองท้องถิ่นในประเทศเพื่อเปิดให้ประชาชนในพื้นที่ได้มีส่วนร่วมจักการปกครองกันเอง ที่สะท้อนถึงความต้องการของประชาชน และให้เกิดประโยชน์ต่อพื้นที่สูงสุด โดยไม่ต้องถูกจำกัดจากการดำเนินการตามคำสั่งของส่วนกลางเท่านั้น
สำหรับประเทศศิงคโปร์ โดยตัวรูปแบบการบริหารภาครัฐแล้ว ไม่มีส่ิงที่เรียกว่า "การปกครองท้องถิ่น" ดังนั้น การศึกษาเรื่องการปกครองท้องถิ่นสิงคโปร์ในครั้งนี้จึงไดม่ใช่การศึกษาหน่วยงานหรือองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น เพราะตามหลักแล้วไม่มี แต่เป็นการศึกษาถึงแนวคิดพัฒนาการการกตะจายอำนาจและการมีส่วนร่วม ตลอดจนศึกษาหน่วยงานหรืองค์กรในระดับล่างที่มีความใกล้ชิดกับประชาชนที่มีความใกล้เคียงหือมีโอกาศพัฒนาไปสู่การปกคีองท้องถิ่นได้ ดังนั้นในบทนี้จึงเร่ิมต้นด้วยกาศึกษาเกี่ยวกับการกระจายอำนาจและการมีส่วนรวมทางอการเมืองในสิงคโปร์ ทั้งในแง่ลักษณะ พัฒนาการและแนวโน้มว่ามีมากน้อยเพียงใด เพื่อค้นหาคำตอบได้ว่าทำไมสิงคโปร์จึงไม่มีการปกครองท้องถ่ิน และหากมีแนวคิดดังกล่าวอยู่ จะพัฒนาไปสู่การเกิดการปกครองท้องถ่ินสิงคโปรน์ในอนาคตได้หรือไม่
ระดับความเป็นประชาธิปไตย เศรษฐกิจและประชาธิปไตย เป็นสิ่งหนึ่งที่วงวิชาการรัฐศาสตร์ได้ให้ความสนใจเป็นเวลนาน โดยกลุ่มหนึ่งเห็นว่า การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจะส่งเสริมให้เกิดพัฒนาการทางประชาธิปไตยตามไปด้วยในขณะที่อีกกลุ่มหนึ่งกลับเห็นจรงกันข้าม โดยมองว่าเศรษฐกิจและประธิปไตยไม่มีการเกี่ยวข้องกัน ซึ่งหากพิจารณาประเทศสิงคโปรแล้ว ดูจะมีลักษณะเป็นกลุ่มหลัง เพราะในขณะที่อัตราการเจริญเติบโตท างเศราฐกิจอยู่ในระดับสูง จนถือได้ว่าเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วแต่ระดับความเป็นประชาธิปไตยของสิงคโปร์นั้นกลับสวนทางกัน แม้ว่าโดยรูปแบบการปกครองของสิงคโปร์เองจะเป็นประชาธิปไตยก็ตาม จากการสำรวจที่ได้ศึกษาดัชนี้ึความเป็นประชาธิปไตยของประเทศต่างๆ โดยพิจารณาขากกระบวนการเลือกตั้ง เสรีภาพของพลเมือง อำนาจหน้าที่ของรัฐบาลการมีส่วนร่วมทางการเมือง และวัฒนธรรมทางการเมือง ซึ่งในปี ค.ศ. 2011 พบว่า สิงคโปร์มีดัชนีความเป็นประชาธิปไตยที่อันดับ 81 จาก 167 ประเทศ โดยได้คะแนน 5.89 จากคะแนนเต็ 10 ถือว่าอยู่ในระดับประชาธิปไตยครึ่งใบ สูงกว่าค่าเแลี่ยที่ระดับคะแนน 5.49 แต่เป็นอันดับี่ 5 ในกลุ่มประเทศอาเซียนด้วยกันและเมื่อเที่ยบกับประเทศที่พัฒนาแล้วในเอเชียด้วยกัน พบว่าสิงคโปร์อยุ่ลำดับท้ายสุด โดยที่ญี่ปุ่น เกาะหลีใต้ และฮ่องกง อยู่ในอันดับที่ 21 22 และ 80 ตามลำดับ ทั้งนี้ ปัจจัยที่ทำให้ดัชนีความเป็นประชาธิปไตยของสิงคโปร์อยู่ในระดับต่ำก็คือ "การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน" ซึ่งสิงคโปร์ได้คะแนนเพียง 2.78 จากคะแนนเต็ม 10 เท่านั้น
พัฒนาการการกระจายอำนาจ เป็นรูปแบบการใช้อำนาจรัฐอย่างหนึ่งนอกเหนือจากการรวมอำนาจและการแบ่งอำนาจ โดยการกระจายอำนาจ หมายถึง การที่รัฐบาลกลางกระจายอำนาจบางส่วนทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และการบริหารให้แก่ประชาชนหรือปน่ยงานของประชาชนในท้องถิ่น ซึ่งเรียกว่า หน่วยการปกครอง ท้องถิ่น หรือรัฐบาลในท้องถ่ิน เพื่อให้ดำเนินกิจการสาธารณะและให้บริหารแก่ปรชะาชนในท้องถิ่น ดังนัน การกระจายอำนาจจึงเป็นหลักการสำคัญที่ก่อให้เกิดการปกครองท้องถิ่น
สำหรับประเทศสิงคโปร์ ในทางการบริหารภาครัฐ มีเพียงการบริหารจากส่วนกลางเท่านั้น เนื่องจากเป้นประเทศขนาดเล็ก รัฐบาลสามารถดูแลได้อย่งทั่วถึง ทำหใ้ำม่ใีความจำเป็นต้องการบริหารส่วนภูมิภาคหรือส่วนท้องถ่ินแต่อย่างไร ประกอบกับการที่สิงคโปร์อยุ่ภายใต้การบริหารงานของพรรคกิกจประชาเป็นระยะเวลานานนับตั้งแต่แยปกตัวเป็นเอกราชจากอังกฤา ก็เป็นอีกสาเหตุทำให้แนวทางการกระจายอำนาจจึงไม่ได้รับากรสนับสนุนในสิงคโปร์
ทั้งนี้ การที่พรรคิกิจประชาสามารถครองที่นั่งสภามาใได้โดยตลอเพราะมีผลงานที่เป็นรูปธรรมจการทำงานเป็นนรัฐบาลที่ยาวนาน จนสามรถทำให้สิงคโปร์ที่เป็นประเทศขนาดเล้ฏ ไม่มีทรัพยากรธรรมชาิเป็นของตัวเอง กลายเป็นประเทศที่มีพัฒนาการทางเศรษฐกิจและความเป็นอยูู่งที่สุดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อบรรลุเป้ามหายนี้ รัฐบาลพรรคกประชาจึงให้ความสำคัญกับประสทิะิภาพการบริการและเสถียรภาพทางการเมืองเป็นสำคัญ มีการปกครองในลักษระเข้มงวดและขี้นำประชาชนในุกด้สน ดดยถือว่ารัฐบาลเป็นผุ้ที่รุ้ัดีที่สุด ส่วนผุ้ที่เห็นต่างทั้ังนักการเมือง นักวิชาการ เหรือสือมวลชนก็๗ะถูกควบลคุมไม่ให้เสนอความเห็นต่อต้านรัฐบาล เพราะมองว่าจะเป็นชนวนไปสู่ความวุ่นวายและขัดแยงในสังคม ในขณ๖ะที่ประชาชนส่วนใหญ่ยังคงสนับสนุนแนวทางนี้ของรัฐบาล ตราบเท่าที่รัฐบาลัวงให้ควาสำคัญและมีผลงานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตมากกว่า
การกระจายอำนาจในความหายของการให้ท้องถิ่นสามารถบริหารจัดการดูแลกันเอง จึงเป็นสิ่งที่ไม่มีในสิงคโปร์ จะมีก็แต่การแบ่งอำนาจระหว่างหน่วยงานด้วยกัเอง โดยเฉพาะการแบ่งอำนาจจากหน่วยงานของรัฐไปยังคณะกรรมการแห่งชาติที่จัดตั้งตามกฎหมาย ซึ่งเป็นองค์กรกึ่งภาครัฐ ซึ่งรัฐบาลพรรคกิจประชาได้เริ่มบริหารภายใต้กลไกคณะกรรมแห่งชาติที่จัดตั้งตามกฎหมายมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 โดยมีคณะกรรมการพัฒนาเคหะแห่งชาติเป็นคณะกรรมการแห่งแรกที่จัดตั้งขึ้นตามกลไกนี้ และหลังจากนั้นก็ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการต่างๆ ขึ้นมาอีกมากมาย จนกระทั่งปัจจุบันคณะกรรมการแห่งชาติที่จัดตั้งตามกฎหมาย กลายเป็นหนึ่งในกลไกสำคัญของการบริหารภาครัฐสิงคโปร์
อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการแห่งชาติที่จัดตั้งตามกฎหมาย แม้จะเป็นองค์กรกึ่งภาครัฐ และมีโครงสร้างการบริหารที่คล่องตัวแบบเอกชนแต่ก็ยังอยุ่ภายใต้การดูแลอย่างเ้มงวดจากรัฐบาลพรรคกิจแระชาอีทั้งจุดประสงค์ในการก่อตั้งเพื่อแบ่งเบาภาระงานของรัฐบาลแะเพ่ิมความคล่องตัวเท่านั้น ทำให้คณะกรรมการเหล่านี้จึงยังไม่ใล้ภาพสะท้อนของการกระจายอำนาจในสิงคโปร์
ดังนั้น พัฒนาการการกระจายอำนาจของสิคโปร์จึงไม่มีความคืบหน้ามากนัก กระทั่งช่วงทศวรรษที่ 1980-1990 รัฐบาลพรรคกิจประชาเริ่มหันมาสนใจเรื่องการกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมของประชาชนมากขึ้น แต่เหตุผลของแารสนใจดังกล่าว เกิดขึ้นเนื่องจากต้องการสร้างความนิยมในตัวรัฐบาล หลังจากที่คะแนนความนิยมเร่ิมลดลง และการสูญเสียที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรให้กับพรรคฝ่ายค้านในปี ค.ศ. 1981 แม้จะเพื่อที่เดี่ยวก็ตาม ทำให้รับบาลเร่ิมก่อตั้งหน่วยงานขึ้นมาหลายหย่วยงานเพื่อดำเนินการเรือ่งการกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน
สำหรับในส่วนของการกระจายอำนาจนั้ การเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญที่สุดของสิงคโปร์เกิดขึ้นในปี ค.ศ.2000 เมื่อสิงคโปร์ได้ดำเนินแผนการกระจายอำจานสู่ท้องถิ่น ด้วยการเสริมสร้างอำนาจให้สภาพัฒนาชุมชน โดยแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 5 เขตให้สภาพัฒนาชุมชนดูแลซึ่งภายในแต่ละเขตสภาพัฒนาชุมชนก็จะมีนายกเทศมนตรีทำหน้าที่รับผิดชอบกิจการภายใน้องถ่ิ แผนการกระจายอำนาจนี้ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ด้านการเมืองของสิงคโปร์ อันเป็นความพยายามของนายโก๊ะจ๊กตง ที่จะปรับเปลี่ยนสิงคโปร์ให้เป็นสังคมที่มีระบบการควบคุมจากส่วนกลางน้อยลง
นอกเหนือจากสภาพัฒนาชุมชนแล้ว อีกหนึ่งองค์กรที่อยู่ในขอบข่ายการกระจายอำนาจของสิงคโปร์ก็คือ สภาเมือง อันเป็นองค์การที่ทำหน้าที่ดูแล บริหาร จัดการ ทรัพย์สิน ของการเคหะแห่งชาติ ซึ่งการเคหะแห่งชาติถือเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาประเทศสิงคโปร์ เพราะประชากรส่วนใหญ่ขจองสิงคโปร์ล้วยอาศัยอยู่ในการเคหะแห่งชาติ สภาเมืองเป็นหน่วยงานที่ได้รับการโอนอำนาจมาจากคณะกรรมการพัฒนาการเคหะแห่งชาติ อีกทีหนึ่ง และในการบริหารงานยังเปิดให้ผุ้อยู่อาศัยในเขตของการเคหะแห่งชาตินั้นๆ เข้ามามีส่วนร่วมด้วย
อย่างไรก็ตาม ทั้งสภาเมืองและสภาพัฒนาชุมชนเอง ก็ยังไม่สามารถถือเป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นได้ เพราะโดยอำนาจหน้าที่ยังถือว่ามีอย่างจำกัด ขณะที่โครงสร้างองค์กรเองก็เปิให้รัฐบาลเข้าไปแทรกแซงและควบคุมได้ง่าย ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า แนวคิดการกระจายอำนาจในสิงคโปร์นั้นมีอยู่ต่ำมากจนถึงแทบไม่มีเลย เนืองอ้วยการบริหารส่วนใหญ่รวมศูนย์อยู่ที่รัฐบาลพรรคกิจประชา แค่กระนั้น การมีอยู่ของคณะกรรมการที่จัดตั้งตามกฎหมาย สภาเมือง และสภาพัฒนาชุมชนแม้จะไม่ใช่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในทางทฤฎี แต่ก็ถือเป็นองค์กระดับพื้นฐานที่มีความใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด ในที่นี้จึงไดเน้นศึกษาองค์กรดังกล่าวเพื่อต้องการทราบว่า องค์กรเหล่านนี้มีความใกล้เคียงและสามารถนำไปสู่การปกครองท้องถิ่นได้หรือไม่และมากน้อยเพียงไรทั้งนี้ รายละเอียดขององค์กรทั้ง 3 จะกล่าวถึงในบที่ท 3 และ 4 ต่อไป
การมีส่วนร่วมทาองการเมืองหมายถึงกระบวนการที่ประชาชนเข้าไปมีส่วนในการแสดงความคิดเห็น ร่วมดำเนินการบริหาร รวมถึงร่วมประเมินผลกับรัฐ นอกเหนือจากการไปเลือกตั้งเพียงอย่งเดี่ยว ถือเป็นปัจจัยหลักอย่างหนึ่งที่บ่งบอกความเป็นประชธิปไตยของแต่ละประเทศอย่างไรก็ตา สำหรบสิงคโปร์ กม้จะมีรูปแบบการปกครองแบบประชาธิไตย แต่หากพิจารณาในส่วนของการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนแล้ว กลับพบว่าอยุ่ใรระดับต่ำและมีข่้องทางที่เปิดให้มีส่วนร่วมไม่มากนัก ทั้งนี้เนื่องจากรัฐบาลสิงคโปร์ถือเอาความมั่นคง และเสถียรภาพของทางการเมืองเป็นสิ่งสำคัญของประเทศเพราะทำให้สามารถบริหารประทเสได้อย่างประสิทธิภาพและประสทิะผล มิติด้านการมีส่วนร่วมจึงถูกมองข้มไป ทั้งจากรัฐบาลเองและจากประชาชนภายในประเทศ
ในช่วงแรกของการก่อตั้งประเทศนับจากการได้รับอำนาจปกครองตนเองอย่างสมบูรร์จากอังกฤษในปี ค.ศ. 1959 จนมาถึงกลางทศวรรษที 1980 ช่องทางการมีส่วนร่วมทางการเมืองหลักของประชาชนมีเพียงการอกไปใช้สิทธิเลือกตั้ง แม้สิงคโปร์ได้นัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปเป็นประจภ และมีพรรคกาเมืองส่งผุ้สมัครลงแข่งขันหลายพรรค แต่ทุกครั่งพรรคกิจประชาก็ได้รับชัยชนะสามารถคว้าที่นั่งในรัฐสภาทั้งหมดไปครองได้ ทำให้ระบบพรรรคการเมืองของสิงคโปร์มีัลักษณะแบบระบบพรรคการเมืองแบบครองความเป็นจ้าว อันเป็นระบบมี่มีการแข่งขันระหว่างพรรคแต่มีเพียงพรรคเดียวที่มีโอกาศได้รัีบชับชนะและมีควาได้เปรี่ยบเหมือนพรรคอื่นๆ ที่อ่อนแอกว่าโดยสิ้นเชิง
รัฐบาลพรรคกิกจประชาได้เริ่มหันมาสนใจการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนอย่างจริงจัง ในทศวรรษที 1980 โดยมีสาเหตุสำคัญเมื่อปี ค.ศ. 1981 นาเดวน แนร์ สมาชิกรัฐสภาพรรคกิจประชา ได้ลาออกจากตำแหน่งเพื่อดำรงอำแหน่งปรธานาธิบดีส่งผลให้ต้องมีการเลือกตั้งซ่อม แต่ผละกลับปรากฎว่า นาย เจ.บี. เจยา เร็ตนัม สมาชิกจากพรรคกรรมกร ได้รับชัยชนะ ถือเป็นตั้งแรกที่พรรคการเมืองอื่นนอกจากพรรคกิจประชาได้รับชัยชนะแม้จะเป็นเพียง 1 ที่นั่งก็ตาม และในการเลือกตั้งทัี่วไปปี ค.ศ. 1984 พรรคกิจประชาก็ต้องสูญเสียที่นั่งไปให้พรรคฝ่ายค้าน 2 ที่นั่ง และยังได้รับคะแนนเสียงเพียงร้อยละ 64.83 ลดลงจากการเลือกตั้งทั่วไปครั้งก่อนเมืองปี ค.ศ. 1980 ที่ได้ีะแนนเสียงไปกว่าร้อยละ 77.66
แม้คะแนนนิยมที่ลดลงและการสูญเสียที่นั่งให้พรรคฝ่ายค้านจะมีจำนวนน้อยแะไม่กระทบเสถียรภาพของรัฐบาล แต่ทำให้พรรคกิจประชาหัสมาทบทวนหาสาเหตุและหนทางแห้ไข ซึ่งพบว่า การเน้นความมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพประสิทธิผลของรัฐบาลมากกว่าหลักการประชาธิปไตย และการใช้มาตรการโต้ตอบของรัฐบาลต่อผุ้ที่ไม่เห็นด้วยหรือโจมตีรัฐบาล อาทิ การสังปิดหนังสือพิมพ์ที่โจมตีรัฐบาล การฟ้องร้องรักวิชาการหรือนักการเมืองฝั่งตรงข้ามด้วยข้อหาต่างๆ หรือการกีดกันนักการเมืองจากพรรการเมืองไม่ให้ได้รับชัยชนะส่งผลให้พรรคกิจประชามีภาพลักษณ์การรัฐบาลอำนาจนิยม ประกอบกับช่วงทศวรรษที่ 1980 ชนชั้นกลางและคนหนุ่มสามที่เป็นคนรุ่นที่ 2 และ 3 ได้เพ่ิมจำนวนมากขึ้ ซึ่งคนเหล่านี้มีความคาดหวังจากสังคมแบบชนชั้นกลาง ที่หากไม่ได้รับการตอบสนองอย่งพอเีเพียงก็จะส่งผลต่อความนิยมของรัฐบาล
จากปัฯหาดังกล่วทำให้รัฐบาพรรคกิจประชาได้ดำเนินการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนมากขึ้น ซึ่งก็เปเป็นช่วงปรระจวบเหมาะกับการเหลี่ยนแปลงสำคัญภายในพรรค คือ การถ่ายโอนอำนาจจากนายลีกวนยิว ทีปกครอประเทศมากกว่า 25 ปี ไปยัง นายโก๊ะจธกตง โดยนายโก๊ะจ๊กตงและผุ้นำรุ่นใหม่ภายในพรรคคนอื่นๆ ได้ดำเนินการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในทางการเมืองเพื่อลดความไม่พอใจของประชาชนต่อรัฐบาล นายโก๊ะจ๊กตง ได้ทำมาตรการต่างๆ ที่คิดว่าจะส่งผลดีต่อคะแนนนิยมพรรคกิจประชา แต่ในการเลือกตั้งทั่วไป ค.ศ. 1991 ซึ่งจัดขึ้นก่อนกำหนด 1 ปี ปรากฎว่า พรรคกิจประชาแม้จะเป็นฝ่ายชนะแต่กลับได้คะแนนเสียงน้อยสุดเมื่อเที่ยบกับการเลือกตั้งครั้งก่อนๆ โดยได้เพียงร้อยละ 60.97 และต้องสูญเสียที่นั่งไปให้พรรคฝ่ายค้านถึง 4 ที่นั่งมากที่สุดนับตั้งแต่สิงคโปร์มีการเลือกตั้งมา ผลการเลือตั้งเช่นนี้ ทำให้นายโก๊ะจ๊กตงมองว่า ประชาชนยงไม่พร้อมสำหรับการมีประชาธิปไตยที่เปิดกว้าง จึงได้หรักลับมามุ่งเน้นนโยบายความเสถียรภาพทางการเมืองเป็นหลักอีกครั้งหนึ่ง อย่างไรก็ตาม ก็มีผุ้วิเคราะหืผลการเลือกตั้งว่าเป็นเพราะไม่พอใจนโยบายบางประการ และต้องการให้มีพรรคฝ่ายค้านมาตรวจสอบรัฐบลาลมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่ออกเสียงเลือกตั้งเป็นต้งแรก
ในปี ค.ศ. 1995 นายโก๊ะจ๊กา ได้แสดงความเห็นถึงระบบการปกครองประชาธิปไตยตามแยวทางของสหรัฐอเมริกและตะวันตกว่ายังไม่เหมาะกับสิงคโปร์ เนื่องด้วยระบอบประชาธิปไตยั้นไม่สามารถนำมาใช้ให้เห็นผลได้ในประเทศแถบเอเชีย โดยตัวอย่างของประเทศที่ได้นำเาอระบอบดังกล่าวมาใช้ไ่ว่าจะเป็นไต้หวันหรือไทยก็ล้วนประสบปัญหาทางการเมืองด้วยกันทั้งสิ้น ซึ่เงป็นการสะท้อนความตั้งใจของนายโก๊ะจ๊กตง ที่ต้องการคงระบอบประชาธิปไตยแบบอำนาจนิยมในสิงคโปร์ต่อไ ปขณะที่ในส่วนจองประชาชนเองก็มีความโน้มเอียงไปางพรรคกิจประชา เพราะเห็นว่าการเจริญเติบโตางเศรษบกิจและความมั่นคงทางวัตถุมีความสำคัญและจับ้องได้มากกว่าลหลักการประชาธิปไตยที่พรรคฝ่ายค้านมักยิบยกมาใช้หาเสียง
การเปลี่ยนแปลงครังสำคัญของสิงคโปร์เกิดขึ้นอีกครั้งในปี ค.ศ. 2004 เมื่อนายลีเซียนหลุงได้ก้าวเข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรีแทนนายโก๊ะจ๊กตงภาพลักษณ์การเปิ็นคนเชื่อมั่นตนเองสูงและเข้างวดทำให้มีความกังวลว่าจะมีกาปิดกันการแสดงความคิดเห็นของประชาชมากยิ่งขึ้น แต่นายลีเซียนลุงก็ทราบว่าปัจจุบันเป็ยุโลกาภิวัตน์ ประชาชนได้ซึมซับเอาค่านิยมตะวันตกมามากขึ้น จึงได้สนับสนุนให้ประชาชนเขามารมีส่วนร่วมในการบริหารประทเศมากขึ้นโดยเฉพาะกลุ่มผู้หญิง อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการผ่อนคลายความเข้มงวดแต่ทุกอย่างก็มีอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาล
- "ระบบการปกคหรองท้องถิ่น ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน:สาธารณรัฐสิงค์โปร์", สุกิจ แดงขาว เกอวีร์ มีสุข, วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, 2556.
สำหรับประเทศศิงคโปร์ โดยตัวรูปแบบการบริหารภาครัฐแล้ว ไม่มีส่ิงที่เรียกว่า "การปกครองท้องถิ่น" ดังนั้น การศึกษาเรื่องการปกครองท้องถิ่นสิงคโปร์ในครั้งนี้จึงไดม่ใช่การศึกษาหน่วยงานหรือองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น เพราะตามหลักแล้วไม่มี แต่เป็นการศึกษาถึงแนวคิดพัฒนาการการกตะจายอำนาจและการมีส่วนร่วม ตลอดจนศึกษาหน่วยงานหรืองค์กรในระดับล่างที่มีความใกล้ชิดกับประชาชนที่มีความใกล้เคียงหือมีโอกาศพัฒนาไปสู่การปกคีองท้องถิ่นได้ ดังนั้นในบทนี้จึงเร่ิมต้นด้วยกาศึกษาเกี่ยวกับการกระจายอำนาจและการมีส่วนรวมทางอการเมืองในสิงคโปร์ ทั้งในแง่ลักษณะ พัฒนาการและแนวโน้มว่ามีมากน้อยเพียงใด เพื่อค้นหาคำตอบได้ว่าทำไมสิงคโปร์จึงไม่มีการปกครองท้องถ่ิน และหากมีแนวคิดดังกล่าวอยู่ จะพัฒนาไปสู่การเกิดการปกครองท้องถ่ินสิงคโปรน์ในอนาคตได้หรือไม่
ระดับความเป็นประชาธิปไตย เศรษฐกิจและประชาธิปไตย เป็นสิ่งหนึ่งที่วงวิชาการรัฐศาสตร์ได้ให้ความสนใจเป็นเวลนาน โดยกลุ่มหนึ่งเห็นว่า การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจะส่งเสริมให้เกิดพัฒนาการทางประชาธิปไตยตามไปด้วยในขณะที่อีกกลุ่มหนึ่งกลับเห็นจรงกันข้าม โดยมองว่าเศรษฐกิจและประธิปไตยไม่มีการเกี่ยวข้องกัน ซึ่งหากพิจารณาประเทศสิงคโปรแล้ว ดูจะมีลักษณะเป็นกลุ่มหลัง เพราะในขณะที่อัตราการเจริญเติบโตท างเศราฐกิจอยู่ในระดับสูง จนถือได้ว่าเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วแต่ระดับความเป็นประชาธิปไตยของสิงคโปร์นั้นกลับสวนทางกัน แม้ว่าโดยรูปแบบการปกครองของสิงคโปร์เองจะเป็นประชาธิปไตยก็ตาม จากการสำรวจที่ได้ศึกษาดัชนี้ึความเป็นประชาธิปไตยของประเทศต่างๆ โดยพิจารณาขากกระบวนการเลือกตั้ง เสรีภาพของพลเมือง อำนาจหน้าที่ของรัฐบาลการมีส่วนร่วมทางการเมือง และวัฒนธรรมทางการเมือง ซึ่งในปี ค.ศ. 2011 พบว่า สิงคโปร์มีดัชนีความเป็นประชาธิปไตยที่อันดับ 81 จาก 167 ประเทศ โดยได้คะแนน 5.89 จากคะแนนเต็ 10 ถือว่าอยู่ในระดับประชาธิปไตยครึ่งใบ สูงกว่าค่าเแลี่ยที่ระดับคะแนน 5.49 แต่เป็นอันดับี่ 5 ในกลุ่มประเทศอาเซียนด้วยกันและเมื่อเที่ยบกับประเทศที่พัฒนาแล้วในเอเชียด้วยกัน พบว่าสิงคโปร์อยุ่ลำดับท้ายสุด โดยที่ญี่ปุ่น เกาะหลีใต้ และฮ่องกง อยู่ในอันดับที่ 21 22 และ 80 ตามลำดับ ทั้งนี้ ปัจจัยที่ทำให้ดัชนีความเป็นประชาธิปไตยของสิงคโปร์อยู่ในระดับต่ำก็คือ "การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน" ซึ่งสิงคโปร์ได้คะแนนเพียง 2.78 จากคะแนนเต็ม 10 เท่านั้น
พัฒนาการการกระจายอำนาจ เป็นรูปแบบการใช้อำนาจรัฐอย่างหนึ่งนอกเหนือจากการรวมอำนาจและการแบ่งอำนาจ โดยการกระจายอำนาจ หมายถึง การที่รัฐบาลกลางกระจายอำนาจบางส่วนทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และการบริหารให้แก่ประชาชนหรือปน่ยงานของประชาชนในท้องถิ่น ซึ่งเรียกว่า หน่วยการปกครอง ท้องถิ่น หรือรัฐบาลในท้องถ่ิน เพื่อให้ดำเนินกิจการสาธารณะและให้บริหารแก่ปรชะาชนในท้องถิ่น ดังนัน การกระจายอำนาจจึงเป็นหลักการสำคัญที่ก่อให้เกิดการปกครองท้องถิ่น
สำหรับประเทศสิงคโปร์ ในทางการบริหารภาครัฐ มีเพียงการบริหารจากส่วนกลางเท่านั้น เนื่องจากเป้นประเทศขนาดเล็ก รัฐบาลสามารถดูแลได้อย่งทั่วถึง ทำหใ้ำม่ใีความจำเป็นต้องการบริหารส่วนภูมิภาคหรือส่วนท้องถ่ินแต่อย่างไร ประกอบกับการที่สิงคโปร์อยุ่ภายใต้การบริหารงานของพรรคกิกจประชาเป็นระยะเวลานานนับตั้งแต่แยปกตัวเป็นเอกราชจากอังกฤา ก็เป็นอีกสาเหตุทำให้แนวทางการกระจายอำนาจจึงไม่ได้รับากรสนับสนุนในสิงคโปร์
ทั้งนี้ การที่พรรคิกิจประชาสามารถครองที่นั่งสภามาใได้โดยตลอเพราะมีผลงานที่เป็นรูปธรรมจการทำงานเป็นนรัฐบาลที่ยาวนาน จนสามรถทำให้สิงคโปร์ที่เป็นประเทศขนาดเล้ฏ ไม่มีทรัพยากรธรรมชาิเป็นของตัวเอง กลายเป็นประเทศที่มีพัฒนาการทางเศรษฐกิจและความเป็นอยูู่งที่สุดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อบรรลุเป้ามหายนี้ รัฐบาลพรรคกประชาจึงให้ความสำคัญกับประสทิะิภาพการบริการและเสถียรภาพทางการเมืองเป็นสำคัญ มีการปกครองในลักษระเข้มงวดและขี้นำประชาชนในุกด้สน ดดยถือว่ารัฐบาลเป็นผุ้ที่รุ้ัดีที่สุด ส่วนผุ้ที่เห็นต่างทั้ังนักการเมือง นักวิชาการ เหรือสือมวลชนก็๗ะถูกควบลคุมไม่ให้เสนอความเห็นต่อต้านรัฐบาล เพราะมองว่าจะเป็นชนวนไปสู่ความวุ่นวายและขัดแยงในสังคม ในขณ๖ะที่ประชาชนส่วนใหญ่ยังคงสนับสนุนแนวทางนี้ของรัฐบาล ตราบเท่าที่รัฐบาลัวงให้ควาสำคัญและมีผลงานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตมากกว่า
การกระจายอำนาจในความหายของการให้ท้องถิ่นสามารถบริหารจัดการดูแลกันเอง จึงเป็นสิ่งที่ไม่มีในสิงคโปร์ จะมีก็แต่การแบ่งอำนาจระหว่างหน่วยงานด้วยกัเอง โดยเฉพาะการแบ่งอำนาจจากหน่วยงานของรัฐไปยังคณะกรรมการแห่งชาติที่จัดตั้งตามกฎหมาย ซึ่งเป็นองค์กรกึ่งภาครัฐ ซึ่งรัฐบาลพรรคกิจประชาได้เริ่มบริหารภายใต้กลไกคณะกรรมแห่งชาติที่จัดตั้งตามกฎหมายมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 โดยมีคณะกรรมการพัฒนาเคหะแห่งชาติเป็นคณะกรรมการแห่งแรกที่จัดตั้งขึ้นตามกลไกนี้ และหลังจากนั้นก็ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการต่างๆ ขึ้นมาอีกมากมาย จนกระทั่งปัจจุบันคณะกรรมการแห่งชาติที่จัดตั้งตามกฎหมาย กลายเป็นหนึ่งในกลไกสำคัญของการบริหารภาครัฐสิงคโปร์
อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการแห่งชาติที่จัดตั้งตามกฎหมาย แม้จะเป็นองค์กรกึ่งภาครัฐ และมีโครงสร้างการบริหารที่คล่องตัวแบบเอกชนแต่ก็ยังอยุ่ภายใต้การดูแลอย่างเ้มงวดจากรัฐบาลพรรคกิจแระชาอีทั้งจุดประสงค์ในการก่อตั้งเพื่อแบ่งเบาภาระงานของรัฐบาลแะเพ่ิมความคล่องตัวเท่านั้น ทำให้คณะกรรมการเหล่านี้จึงยังไม่ใล้ภาพสะท้อนของการกระจายอำนาจในสิงคโปร์
ดังนั้น พัฒนาการการกระจายอำนาจของสิคโปร์จึงไม่มีความคืบหน้ามากนัก กระทั่งช่วงทศวรรษที่ 1980-1990 รัฐบาลพรรคกิจประชาเริ่มหันมาสนใจเรื่องการกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมของประชาชนมากขึ้น แต่เหตุผลของแารสนใจดังกล่าว เกิดขึ้นเนื่องจากต้องการสร้างความนิยมในตัวรัฐบาล หลังจากที่คะแนนความนิยมเร่ิมลดลง และการสูญเสียที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรให้กับพรรคฝ่ายค้านในปี ค.ศ. 1981 แม้จะเพื่อที่เดี่ยวก็ตาม ทำให้รับบาลเร่ิมก่อตั้งหน่วยงานขึ้นมาหลายหย่วยงานเพื่อดำเนินการเรือ่งการกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน
สำหรับในส่วนของการกระจายอำนาจนั้ การเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญที่สุดของสิงคโปร์เกิดขึ้นในปี ค.ศ.2000 เมื่อสิงคโปร์ได้ดำเนินแผนการกระจายอำจานสู่ท้องถิ่น ด้วยการเสริมสร้างอำนาจให้สภาพัฒนาชุมชน โดยแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 5 เขตให้สภาพัฒนาชุมชนดูแลซึ่งภายในแต่ละเขตสภาพัฒนาชุมชนก็จะมีนายกเทศมนตรีทำหน้าที่รับผิดชอบกิจการภายใน้องถ่ิ แผนการกระจายอำนาจนี้ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ด้านการเมืองของสิงคโปร์ อันเป็นความพยายามของนายโก๊ะจ๊กตง ที่จะปรับเปลี่ยนสิงคโปร์ให้เป็นสังคมที่มีระบบการควบคุมจากส่วนกลางน้อยลง
นอกเหนือจากสภาพัฒนาชุมชนแล้ว อีกหนึ่งองค์กรที่อยู่ในขอบข่ายการกระจายอำนาจของสิงคโปร์ก็คือ สภาเมือง อันเป็นองค์การที่ทำหน้าที่ดูแล บริหาร จัดการ ทรัพย์สิน ของการเคหะแห่งชาติ ซึ่งการเคหะแห่งชาติถือเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาประเทศสิงคโปร์ เพราะประชากรส่วนใหญ่ขจองสิงคโปร์ล้วยอาศัยอยู่ในการเคหะแห่งชาติ สภาเมืองเป็นหน่วยงานที่ได้รับการโอนอำนาจมาจากคณะกรรมการพัฒนาการเคหะแห่งชาติ อีกทีหนึ่ง และในการบริหารงานยังเปิดให้ผุ้อยู่อาศัยในเขตของการเคหะแห่งชาตินั้นๆ เข้ามามีส่วนร่วมด้วย
อย่างไรก็ตาม ทั้งสภาเมืองและสภาพัฒนาชุมชนเอง ก็ยังไม่สามารถถือเป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นได้ เพราะโดยอำนาจหน้าที่ยังถือว่ามีอย่างจำกัด ขณะที่โครงสร้างองค์กรเองก็เปิให้รัฐบาลเข้าไปแทรกแซงและควบคุมได้ง่าย ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า แนวคิดการกระจายอำนาจในสิงคโปร์นั้นมีอยู่ต่ำมากจนถึงแทบไม่มีเลย เนืองอ้วยการบริหารส่วนใหญ่รวมศูนย์อยู่ที่รัฐบาลพรรคกิจประชา แค่กระนั้น การมีอยู่ของคณะกรรมการที่จัดตั้งตามกฎหมาย สภาเมือง และสภาพัฒนาชุมชนแม้จะไม่ใช่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในทางทฤฎี แต่ก็ถือเป็นองค์กระดับพื้นฐานที่มีความใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด ในที่นี้จึงไดเน้นศึกษาองค์กรดังกล่าวเพื่อต้องการทราบว่า องค์กรเหล่านนี้มีความใกล้เคียงและสามารถนำไปสู่การปกครองท้องถิ่นได้หรือไม่และมากน้อยเพียงไรทั้งนี้ รายละเอียดขององค์กรทั้ง 3 จะกล่าวถึงในบที่ท 3 และ 4 ต่อไป
การมีส่วนร่วมทาองการเมืองหมายถึงกระบวนการที่ประชาชนเข้าไปมีส่วนในการแสดงความคิดเห็น ร่วมดำเนินการบริหาร รวมถึงร่วมประเมินผลกับรัฐ นอกเหนือจากการไปเลือกตั้งเพียงอย่งเดี่ยว ถือเป็นปัจจัยหลักอย่างหนึ่งที่บ่งบอกความเป็นประชธิปไตยของแต่ละประเทศอย่างไรก็ตา สำหรบสิงคโปร์ กม้จะมีรูปแบบการปกครองแบบประชาธิไตย แต่หากพิจารณาในส่วนของการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนแล้ว กลับพบว่าอยุ่ใรระดับต่ำและมีข่้องทางที่เปิดให้มีส่วนร่วมไม่มากนัก ทั้งนี้เนื่องจากรัฐบาลสิงคโปร์ถือเอาความมั่นคง และเสถียรภาพของทางการเมืองเป็นสิ่งสำคัญของประเทศเพราะทำให้สามารถบริหารประทเสได้อย่างประสิทธิภาพและประสทิะผล มิติด้านการมีส่วนร่วมจึงถูกมองข้มไป ทั้งจากรัฐบาลเองและจากประชาชนภายในประเทศ
ในช่วงแรกของการก่อตั้งประเทศนับจากการได้รับอำนาจปกครองตนเองอย่างสมบูรร์จากอังกฤษในปี ค.ศ. 1959 จนมาถึงกลางทศวรรษที 1980 ช่องทางการมีส่วนร่วมทางการเมืองหลักของประชาชนมีเพียงการอกไปใช้สิทธิเลือกตั้ง แม้สิงคโปร์ได้นัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปเป็นประจภ และมีพรรคกาเมืองส่งผุ้สมัครลงแข่งขันหลายพรรค แต่ทุกครั่งพรรคกิจประชาก็ได้รับชัยชนะสามารถคว้าที่นั่งในรัฐสภาทั้งหมดไปครองได้ ทำให้ระบบพรรรคการเมืองของสิงคโปร์มีัลักษณะแบบระบบพรรคการเมืองแบบครองความเป็นจ้าว อันเป็นระบบมี่มีการแข่งขันระหว่างพรรคแต่มีเพียงพรรคเดียวที่มีโอกาศได้รัีบชับชนะและมีควาได้เปรี่ยบเหมือนพรรคอื่นๆ ที่อ่อนแอกว่าโดยสิ้นเชิง
รัฐบาลพรรคกิกจประชาได้เริ่มหันมาสนใจการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนอย่างจริงจัง ในทศวรรษที 1980 โดยมีสาเหตุสำคัญเมื่อปี ค.ศ. 1981 นาเดวน แนร์ สมาชิกรัฐสภาพรรคกิจประชา ได้ลาออกจากตำแหน่งเพื่อดำรงอำแหน่งปรธานาธิบดีส่งผลให้ต้องมีการเลือกตั้งซ่อม แต่ผละกลับปรากฎว่า นาย เจ.บี. เจยา เร็ตนัม สมาชิกจากพรรคกรรมกร ได้รับชัยชนะ ถือเป็นตั้งแรกที่พรรคการเมืองอื่นนอกจากพรรคกิจประชาได้รับชัยชนะแม้จะเป็นเพียง 1 ที่นั่งก็ตาม และในการเลือกตั้งทัี่วไปปี ค.ศ. 1984 พรรคกิจประชาก็ต้องสูญเสียที่นั่งไปให้พรรคฝ่ายค้าน 2 ที่นั่ง และยังได้รับคะแนนเสียงเพียงร้อยละ 64.83 ลดลงจากการเลือกตั้งทั่วไปครั้งก่อนเมืองปี ค.ศ. 1980 ที่ได้ีะแนนเสียงไปกว่าร้อยละ 77.66
แม้คะแนนนิยมที่ลดลงและการสูญเสียที่นั่งให้พรรคฝ่ายค้านจะมีจำนวนน้อยแะไม่กระทบเสถียรภาพของรัฐบาล แต่ทำให้พรรคกิจประชาหัสมาทบทวนหาสาเหตุและหนทางแห้ไข ซึ่งพบว่า การเน้นความมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพประสิทธิผลของรัฐบาลมากกว่าหลักการประชาธิปไตย และการใช้มาตรการโต้ตอบของรัฐบาลต่อผุ้ที่ไม่เห็นด้วยหรือโจมตีรัฐบาล อาทิ การสังปิดหนังสือพิมพ์ที่โจมตีรัฐบาล การฟ้องร้องรักวิชาการหรือนักการเมืองฝั่งตรงข้ามด้วยข้อหาต่างๆ หรือการกีดกันนักการเมืองจากพรรการเมืองไม่ให้ได้รับชัยชนะส่งผลให้พรรคกิจประชามีภาพลักษณ์การรัฐบาลอำนาจนิยม ประกอบกับช่วงทศวรรษที่ 1980 ชนชั้นกลางและคนหนุ่มสามที่เป็นคนรุ่นที่ 2 และ 3 ได้เพ่ิมจำนวนมากขึ้ ซึ่งคนเหล่านี้มีความคาดหวังจากสังคมแบบชนชั้นกลาง ที่หากไม่ได้รับการตอบสนองอย่งพอเีเพียงก็จะส่งผลต่อความนิยมของรัฐบาล
จากปัฯหาดังกล่วทำให้รัฐบาพรรคกิจประชาได้ดำเนินการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนมากขึ้น ซึ่งก็เปเป็นช่วงปรระจวบเหมาะกับการเหลี่ยนแปลงสำคัญภายในพรรค คือ การถ่ายโอนอำนาจจากนายลีกวนยิว ทีปกครอประเทศมากกว่า 25 ปี ไปยัง นายโก๊ะจธกตง โดยนายโก๊ะจ๊กตงและผุ้นำรุ่นใหม่ภายในพรรคคนอื่นๆ ได้ดำเนินการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในทางการเมืองเพื่อลดความไม่พอใจของประชาชนต่อรัฐบาล นายโก๊ะจ๊กตง ได้ทำมาตรการต่างๆ ที่คิดว่าจะส่งผลดีต่อคะแนนนิยมพรรคกิจประชา แต่ในการเลือกตั้งทั่วไป ค.ศ. 1991 ซึ่งจัดขึ้นก่อนกำหนด 1 ปี ปรากฎว่า พรรคกิจประชาแม้จะเป็นฝ่ายชนะแต่กลับได้คะแนนเสียงน้อยสุดเมื่อเที่ยบกับการเลือกตั้งครั้งก่อนๆ โดยได้เพียงร้อยละ 60.97 และต้องสูญเสียที่นั่งไปให้พรรคฝ่ายค้านถึง 4 ที่นั่งมากที่สุดนับตั้งแต่สิงคโปร์มีการเลือกตั้งมา ผลการเลือตั้งเช่นนี้ ทำให้นายโก๊ะจ๊กตงมองว่า ประชาชนยงไม่พร้อมสำหรับการมีประชาธิปไตยที่เปิดกว้าง จึงได้หรักลับมามุ่งเน้นนโยบายความเสถียรภาพทางการเมืองเป็นหลักอีกครั้งหนึ่ง อย่างไรก็ตาม ก็มีผุ้วิเคราะหืผลการเลือกตั้งว่าเป็นเพราะไม่พอใจนโยบายบางประการ และต้องการให้มีพรรคฝ่ายค้านมาตรวจสอบรัฐบลาลมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่ออกเสียงเลือกตั้งเป็นต้งแรก
ในปี ค.ศ. 1995 นายโก๊ะจ๊กา ได้แสดงความเห็นถึงระบบการปกครองประชาธิปไตยตามแยวทางของสหรัฐอเมริกและตะวันตกว่ายังไม่เหมาะกับสิงคโปร์ เนื่องด้วยระบอบประชาธิปไตยั้นไม่สามารถนำมาใช้ให้เห็นผลได้ในประเทศแถบเอเชีย โดยตัวอย่างของประเทศที่ได้นำเาอระบอบดังกล่าวมาใช้ไ่ว่าจะเป็นไต้หวันหรือไทยก็ล้วนประสบปัญหาทางการเมืองด้วยกันทั้งสิ้น ซึ่เงป็นการสะท้อนความตั้งใจของนายโก๊ะจ๊กตง ที่ต้องการคงระบอบประชาธิปไตยแบบอำนาจนิยมในสิงคโปร์ต่อไ ปขณะที่ในส่วนจองประชาชนเองก็มีความโน้มเอียงไปางพรรคกิจประชา เพราะเห็นว่าการเจริญเติบโตางเศรษบกิจและความมั่นคงทางวัตถุมีความสำคัญและจับ้องได้มากกว่าลหลักการประชาธิปไตยที่พรรคฝ่ายค้านมักยิบยกมาใช้หาเสียง
การเปลี่ยนแปลงครังสำคัญของสิงคโปร์เกิดขึ้นอีกครั้งในปี ค.ศ. 2004 เมื่อนายลีเซียนหลุงได้ก้าวเข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรีแทนนายโก๊ะจ๊กตงภาพลักษณ์การเปิ็นคนเชื่อมั่นตนเองสูงและเข้างวดทำให้มีความกังวลว่าจะมีกาปิดกันการแสดงความคิดเห็นของประชาชมากยิ่งขึ้น แต่นายลีเซียนลุงก็ทราบว่าปัจจุบันเป็ยุโลกาภิวัตน์ ประชาชนได้ซึมซับเอาค่านิยมตะวันตกมามากขึ้น จึงได้สนับสนุนให้ประชาชนเขามารมีส่วนร่วมในการบริหารประทเศมากขึ้นโดยเฉพาะกลุ่มผู้หญิง อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการผ่อนคลายความเข้มงวดแต่ทุกอย่างก็มีอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาล
- "ระบบการปกคหรองท้องถิ่น ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน:สาธารณรัฐสิงค์โปร์", สุกิจ แดงขาว เกอวีร์ มีสุข, วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, 2556.
วันอาทิตย์ที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2560
Local government in Brunai
การบริหารราชการแผ่นดินของเนอการาบรูไนดารุสลาม มีหน่ยการปกครอง 4 ระดับ คือ กระทรวง เขตการปกครอง, ตำบล, และหมู่บ้าน
กระทรวง การบริหารราชการแผ่นดินส่วนกลาง แบ่งการดำเนินงานออกเป็นกระทรวงต่างๆ ตามอย่างสากล ปัจจุบันมีกระทรวง 12 กระทรวงแต่ละกระทรวงมีหนวยงาน ดำเนินงานของกระทรวงหน่วยงานราชการมีรวมกันทั้งสิ้น 98 หน่วยงาน สุลต่านและสมเด็จพระราชาธิบดีทรงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนอกจานั้นับงทรงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโยมและกระทรวงการคลังอีก้ดวบ สุลต่าและสมเด็จพระราชาิบดีทรงมีพระราชอำนาจแต่างตั้งคณะรัีบมนตรี ทีังรนัฐมนตรีว่าการ รัฐมนตรีว่าการคนที่สอง และรัฐมนตรีช่วยว่าการ
การบริหารงานกระทรวงต่างๆ แต่ละกระทรวงมีปลัดกระทรวง และรองปลัดกระทรวง เป็นหัวหน้าทฝ่ายข้าราชการพลเรือน หน่วยงานในแต่ละกรทรวงก็มีผุ้อำนวยการ เป็นหัวหน้า
การปกครองของเนอการาบรูไนดารนุสสลามไม่มีรัฐสภาเหมือนกับหลายประเทศในประชาครอาเซียน สภา ที่มีอยู่ในลกษณะสภาที่ปรึกษา สุลต่านและสมเด็นพระราชาธิบดี ทรางบิหารราชการแผ่นดันโดยมีสภาที่ปรึกษา 5 สภาดังได้กล่าวไปแล้วในหัวข้อระบอบการปกครอง นอกจากนั้น นังมีสภาที่ปรึกษาด้านต่างๆ แก่คณะรัฐมนตรี อีก 4 สภา ได้แก่ สภากัารศึกษา, สภาเศรษฐกิจ, สภากลาโหม, สภาสังคมแห่งชาติ
เขตการปกครอง หน่วยการปกครองระดับล่างจากกระทรวง คือ เขตการปกครอง อยุ่ในสายบังคับบัญชา กระทรวงมหาดไทย มีผุ้อำนายการเขตการปกครอง เป็นหัวหน้าเขตการปกครอง เป้ฯหน่วยการปกครองที่เชื่อมต่อระหว่างการปกครอง สวนกลางกับหน่วยการปกครองระดับลาง มี 4 เขตการปกครอง คือ
- เขตการปกครองเบอไลท์ ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศ เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่กวางขวางทีสุดส่วนใหญ่เป็นภูเขาและป่า มีศูนย์กลางอยุ่กัวลา เบอไลท์
- เขตการปกครองบรูไน - มูอารา ตั้งอยู่ทางเหนือของประเทศ มีพื้นทีน้อยที่สุด แต่มีประชากรเหหนาแน่นที่สุด เนื่องจากเป็นที่ตั้งเมืองหลวง ทำให้เป็นศูนย์กลางด้านการปกครองประเทศ ด้านเศราฐกิจการค้ามีศูนย์กลางอยู่ทบันดาร์ เสรี เบการวัน
- เขตการปกครองเต็มบูรง ตั้่งอยู่างตะวันออกเของประเทศ เป็นเขชตการปกครองที่ไม่มีพื้นที่ที่เป็นผืนดินติดต่อกับเขตการปกครองอื่นของประเทศ มีพื้จที่ของรัฐซารนาวัก สหพันธรัฐมาเลเซีย คั่นไว้ การเดินทางติดต่อเขตการปกครองอื่นจึงต้องผ่านเขตแดนของรัฐซาราัก หรือไใช้เ้นทางทะเลไปยังเขตการปกครองบรูไน -มูอารา เขตการปกครองเต็มบูรงเป็นเขชตการปกครองที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นลำดับ 3 ศูนย์กลางอยู่ที่ปีกัน บังการ์
- เขตการปกครองตูตง ตั้งอยุ่ตาอนกลางของประเทศ อยู่ระหว่างเขตการปกครองบรุไน-มูอารากับเขตกาปกครองเบอไล์ มีพื้นที่ใหญ่เป็นลำดับที่ 2 และพื้ที่สวนใหญ่เป็นภูเขาและป่าเช่นเดี่ยวกับเขตการปกครองเบอไลท์ มีศุนย์กลางอยู่ที่ ปีกัน ตุตง
เขตการปกครอง มภาระหน้าที่หลักๆ อยู่ 4 ประการ คือ
- จัดทำโครงการพัฒนาเกี่ยวกับสาธารณูปโภค ศูนย์การค้าสวนสาะารณะ เขื่อน และทำโดยสาร รวมังการพัฒนาที่อยู่อาศัย ระบบกาเดินทางขนส่ง ปละระบบการสื่อสารให้ดีขึ้น
- สร้างความเข้มแข้งให้แก่สภาบันกำนัด และผู้ใหญ่บ้าน
- ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการที่ปรึกษรตำบล แลุคณะกรรมการที่ปรึกษาปมู่บ้าน ทั้งในด้านสวัสดิการ ด้านศาสนาท และที่สำคัญในด้านเศรษฐกิจ เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
- การออกใบอนุญาตในเรื่องต่างๆ
- การให้บริการสาธารณะด้านการจัดเก็บขยะมูลฝอย และดูแลระบบระหบ่ายน้ำและแม่น้ำ
- ดุแลที่จอดรถ สวนสาธารณะ และสถานที่ให้ความบันเทิงต่างๆ
ภาระหน้าที่เหล่านี้ บางส่วนมีส่วนงานรัฐผิดชอบ บางส่วนจะกระตายไปยังหน่ยการแดครองที่ต่ำลงไปคือ ตำบล และหมู่บ้าน
ตำบล หน่วยการปกครองระดับล่าง ก่อนล่างสุด ในภาษามาเลย์เรียกว่า Mukim เทียบได้กับตำบลของประทเศไทย ผุ้นำของตำบล ในภาษมาเลย์เรียกว่า Penghulu Mukin เทียบได้กับกำนัน เป็นหน่วยการปกครองที่เชื่อมโยงเขตการปกครองกับหมู่บ้าน Kampung
หมู่บ้าน เป็นหน่วยการปกครองระดับล่างสุด ในภาษามาเลย์เรียกว่า Kampung หรือ Village ในภาษาอังกฤษ ผู้นำหมู่บ้านที่ของไทยเรียกว่า ผุ้ใหญ่บ้าน ในภามาเลย์เรียก Ketua Kampung
มีหน่วยการปกครองอีกหน่วยการปกครองหนึ่ง คือ เทศลบาล อยุ่ในระดับชั้นเดียวกับเขตการปกครอง เป็นหนวยการปกครองท้องถิ่นที่เป็นเมืองหรือชุมชนเมืองการบริหารงานขึ้นต่อกระทรวงมหาดไทย
การปกครองของเนอการราบรูไนดารุสลามเป็นแบบรวมศูนย์อำนาจอย่างมาก ไม่มีการกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นมีอิสระในการปกครองตนเอง การปกครองท้องถิ่นจึงเป็นแบบสายบังคับบัฐชาที่มีลำดับชั้นจากกระทรวงมหาดไทย ดดยมีเขชตการปกคอง เป็นหน่วยการปกครองเชื่อมโยงระหว่างรัฐบาลกับท้องถ่ินหรือประชาชน การที่เนอการาบรูไนดารุสลามเป็นประเทศที่มีขนาดเล็กมีพื้นที่เพียง 5,765 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่ส่วนใหญ่เป็เขตป่ารวมทัี้งประชกรมีมไ่มาก คือประมาณ 400,000 คน ทำให้รัฐบาลสามารถำเนินงานบริการสาธารณะใป้ประชาชอย่างทัวถึงได้งายโดยไม่ต้องให้ท้องถ่ินดำเนิงาน เช่น การฯึากา การสาธารณะสนุขการคมนาคมขน่ง อย่างไรก็ตาม ตำบล แฃะหู่บ้าน ก็บยังเป็นหน่ยกรปกครองที่สำคัญเพราะเป็นหน่วยการปกคีองที่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุ ทั้งตำบล และหมุ่บ้าน มีบทบาทในการพัฒนาชุมชนทั้งในด้านสวัสดิการ และชีวิตความเป็นอยุ่ทีดีให้แก่คนในท้องถ่ิน ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เข การปกคหรอง หรือรัฐบาลมีบทบาทดดำเนินการได้ไม่สะดวก ส่วนเขตเมืองหรือชุมชนเมือง ได้มีเทศบาลดำเนินงานบริหารจัดการแบบชุมชนเมือง
รูปแบบการปกครองส่วนท้องถ่ิน มี 2 รูปแบบ คือกาปกคีองท้องถิ่นในเชตะมืองหรือชุมชนเมือง กับการปกครองท้องถิ่นทั่วไป
การปกครองท้องถิ่นในเขตเมืองหรือชุมชนเมือง การปกครองท้องถิ่นในเขตเมืองหรอืชุมชนเมือง เป็นหารปคกรองรูปแบบเทศบาล ซึ่งมีพัฒนาการจากเมืองครั้งที่ประเทศอังกฤษเข้ามาปกคหรองเนอการาบูรไนดารุสลาม ซึ่งบรูไน ได้ทำข้อตกลง 1888 กับประเทศอังกฤษ ข้อตกลงนี้มีส่วนสำคัญที่ทำให้บรูไน ได้รับอิทธิลด้านการเมองกาปกครองจากประเทศอังกฤษ มีการแบ่งเขตพื้นที่เืพ่อการปกคหรองที่เรียกว่า เขตการปกครอง ในปี ค.ศ. 1906 โดยแบ่งออกเป็น 4 เขตการปกครอง ในปี ค.ศ. 1906 ก็ได้ทำข้อตกลงเสริม 1905 และ 1906 เป็นข้อตกลงที่มีความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงบรูไน เป็นอย่างมาก และเป็นรากฐานการพัฒนาด้านต่างๆ มาจนถึงปัจจุบัน ข้อตกลงดังกล่าวเกิดขึ้นบนความเห็นพ้องกันระหว่างประเทศอังกฤษกับสุลต่านแห่งบรูไนดารรุสลาม ที่จะร่วมกันพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในด้านต่างๆ ทั้งด้านการเมือง การปกครอง การศึกษา และการพัฒนเศรษฐกิจ
การพัฒนาการเมืองและการปกครองแบบจารีตของบรูไน ที่ผุ้มีอำนาจ ผุ้นำชั้นสูง หรือขุนนางที่มีอำนาจบารมี ซึ่งพิจารณาจากปริมาณที่ดิที่ถือครอง ได้ถูกทำลายไป และทแนที่ด้วยรูปแบบการบริหารการปกครองแบบใหม่ คือ ระบบราชการ อย่างไรก็ตามอำนาจสูงสุดยังคงอยู่ที่สุลต่าน แต่พระราชอำนาจของสุลต่าสจะอยู่ภายใต้คำปรึกษาและแนะนำของฝ่ายอังกฤษ ยกเว้นเรื่องศาสนา จากความเปลี่ยนแปลงนี้ได้เกิดหน่วยงานของรัฐขึ้น เช่น กรมตำรวจ สำนักงานที่ดิน ฝ่ายชกิจการทั่วไ ปศุลกาการ และหน่วยงาน ราชการอื่นๆ นอกจากนั้นยังได้มีการจัดตั้งสภาแห่งชาติ ประกอบ้วยผุ้แทนและเจ้าหน้าที่อังกฤษกับผุ้นำชาวบรูไนทำหน้าทีในการดูแลและแลกเปลี่ยนความเห็นซึ่งกันและกันเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของประเทศ
การเติบโตของชุมชนเมืองมีกมากขึ้น ทั้งจากการพัฒนาดังได้ กล่าวมาแล้วและจากเป็นเมืองชุมทางการค้าของบริฒัทบริติช นอร์ท บอร์เนียว ใน ปี พ.ศ. 2464 กงสุลอังกฤษประจำบรูไนก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการสุขาภิบาลเมืองบูรไน ขึ้น ซึงปัจจุบัน คือบันดราร์ เสรี เบกาวัน และค่อย ๆ ขยายไปอีก 3 เขตการปกคหรอง สุขาภิบาบนี้มีหน้าที่ในกาพัฒนาเมืองใหม่และดุแลด้านสุขอนามัย โดยการบิหารงานได้เปิดโอกาศ ให้ประชาชนเข้ามามีบทบาทด้วย ต่อมาในปี พ.ศ. 2509 ถึงได้เปลี่ยนสุขาภิบาลเป็นเทศบาลภายใต้กฎหมายบรูไน เรื่องคระกรรมการเทศบาล หน่วยการปกครองนี้ยังคงมีบทบาทอยุ่จนถึงปัจจุบัน แต่ลดบทบาทของประชาชนในด้านการบริหารงานเทศบาล
ปัจจุบัน เทศบาลของบรูไน อยุ่ภายใจ้การกำกับดูแลของกระทรวงมหาดไทย เป้นการแบ่งภาระของเขตการปกครอง ซึ่งมีภาระหน้าที่ดูแลที่อยู่อาศัยและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนโดยทั่่วไป เทศบาลมีภาระหน้าที่จัดการบริหารสาธารณะแบบเมือง เช่น การดูแลความเป็รระเบียบเรียบร้อยของเทมืองและจัดการด้านสุขลักษณะของเมืองเป็นหลัก
เทศบาบในบรูไร มี 3 แห่ง คือ เทศลาลันดาร์ เสรี เบกาวัน อยุ่ในเขตการปกครองบรู ไน มูอารา และเป็นที่ตั้งของเมืองหลวง เทศบาลกัวลา เบอไลท์และซีเรีย อยุ่ในเขตการปกครองเบอไลท์และเทศบาลตุตง อยู่ในเขชตการปกครองตูตง
การปกครองท้องถิ่นทั่วไป การปกครองทั่วไปมีกระจายอยู่ทั่วทั้งประเทศ เป็นหน่วยการปกครองลำดับชั้นต่อจากเขตการปกครอง คือ ตำบล และหมู่บ้าน ต่างๆ เป็นเครือข่ายคล้าบยระบบ แลนด์ลอร์ด ภายใต้เครือข่ายนี้ ผุ้นำตำบล และผุ้นำหมูบ้านมีหน้าที่เก็บรวบรวมภาษีจากประชาชน แล้วส่งต่อไปยังขุนนางในเครืองข่าย
ในยุคอาณาคมอังกฤษ บรูไนได้ปรับการบริหาราชการแผ่นดินให้เป็นสมัยใหม่ โดยเฉพาะเทืองได้ทำข้อตกลงเสริม ตามที่ได้บรรยายไว้แล้ว่อหนหน้าทนี้แล้ว มีการแบ่งพื้นที่การปกคองประเทศเป็นเขตการปกครอง มี 4 เขตการปกครอง ซึ่งทำให้มีการจัดระบบกลุ่มหมู่บ้าน ต้างไปจากเดิ มดบ้างและบริหารราชการแผ่นดินแบ่งเป็นฝ่ยต่างๆ มีข้าราชการับผิดชอบตามตำหน่งหน้าที่การปกครองและการตัดสินพระทัยของสุลต่านต้องผ่านความเห็นชอบของกงสุลอังกฤษประจำบรูไน คามสัมพันะ์ของผุ้นำตำบลและผุ้นำหมู่บ้านกับรัฐก็เปลี่ยนไปด้วย ผุ้นำตำบลและผุ้นำหมู่บ้านมีบทบาทเป็นตัวแทนหรือเป็นข้อาราชการของส่วนกลาว และมีบทบาทในการพัฒนาหมู่บ้าน
ยุคสัมยปกครองตนเองภายใต้อารักขาอังกฤษ การบริหาราชการแผ่นดินได้เข้ารูปแบบรัฐสมัยอย่างเต็มที่กว่าช่วงก่อน ทั้งนี้เนื่องจากก่อนหน้านี้คนบรูไนยังไม่มีการศึกษาแบบใหม่จำเป็นต้องพึ้งคนอังกฤษมาเป็นเจ้าหน้าที่อ้านการปกครอง เมืองถึงช่วงทศวรรษ 1920 คนบรูไนมีการศึกษาสมัยใหม่มากขึ้นเรื่อยๆ ทำให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปกครองมากขึ้น ในปี 1954 คนบรูไนมีการศึกษาสมัยใหม่มากขึ้นเอง ๆ ที่ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปกครองมากขึ้น มีการจัดต้งคณะกรรมการที่รึกษาเขตการปกครอง และต่อมาก็ได้จัดตั้เงสภาเทศลาล และสภาการปกครองท้องถิ่น ซึ่งมีสภาแยกกันตามเขตการปกครองโดยสภาเหล่นนั้นให้ประชาชนเข้ามามีบทบาท แต่การดำเนินงานไใ่ประสบความสำเร็จมากนัก เพราะเทศบาลและเขตการปกครองไม่สามารถจัดเก็บภาษีเองได้เหรือมีรายได้เป็นของตนเอง ในปี พ.ศ. 2502 บรูไน มีรัฐธรรมนูญฉบับแรก และกำหนดให้เมีการจัดตั้งสภาองค์มนตรี สภาคณะรัฐมนตรี และสภานิติบัญญัติ ขึ้นเพื่อการบริหารราชการแผ่นดิน
ในระดับตำบล และหมู่บ้านจัดให้มีการเลือกตั้งผุ้นำตำบล และผุ้นำหมู่บ้านตามอุดมการณ์ประชาธิปไตย ซึ่งรับผลมาจากประเทศอังกฤษ โดยกำหนดให้แต่ละสมัยมีระยะเวลา 3 ปี และผุ้สมัครรับเลือกตั้งผุ้นำตำบล และผู้นำหมู่บ้านในเวลาต่อมาจนถึงปัจจุบัน ผุ้นำหมุ่บ้านอยุ่ภายใต้การกำกับดูแลตำบล และเขตการปกครอง มีหน้าที่ในการพัฒนาหมู่บ้าน ความสัมพันธ์ระหว่างหมู่บ้านกับรัฐปรับเปลี่ยนจากรัฐจารีตที่ผุ้ปกครองเรียกเก็บภาษีจากประชาชน มาเป็นแบบรัฐสวัสดิการ คือ รัฐมีภารกิจที่จะให้บริการสาธารณะต่างๆ เพื่อให้ประชาชนมีการดำรงชีวิตอย่างสงบสุข และรัฐก็ไม่ได้จัดเก็บภาษีจากประชาชนอีกด้วย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแนคิด MIB ในด้านที่ผุ้แกครองพึงมีต่อประชาชน
- "ระบบการปกครองท้องถิ่นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน: เนอการราบรูไนดารุสสลาม", นิชานท์ สิงหพุทธางกูร, วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่นสถาบันพระปกเกล้า, 2556.
กระทรวง การบริหารราชการแผ่นดินส่วนกลาง แบ่งการดำเนินงานออกเป็นกระทรวงต่างๆ ตามอย่างสากล ปัจจุบันมีกระทรวง 12 กระทรวงแต่ละกระทรวงมีหนวยงาน ดำเนินงานของกระทรวงหน่วยงานราชการมีรวมกันทั้งสิ้น 98 หน่วยงาน สุลต่านและสมเด็จพระราชาธิบดีทรงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนอกจานั้นับงทรงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโยมและกระทรวงการคลังอีก้ดวบ สุลต่าและสมเด็จพระราชาิบดีทรงมีพระราชอำนาจแต่างตั้งคณะรัีบมนตรี ทีังรนัฐมนตรีว่าการ รัฐมนตรีว่าการคนที่สอง และรัฐมนตรีช่วยว่าการ
การบริหารงานกระทรวงต่างๆ แต่ละกระทรวงมีปลัดกระทรวง และรองปลัดกระทรวง เป็นหัวหน้าทฝ่ายข้าราชการพลเรือน หน่วยงานในแต่ละกรทรวงก็มีผุ้อำนวยการ เป็นหัวหน้า
การปกครองของเนอการาบรูไนดารนุสสลามไม่มีรัฐสภาเหมือนกับหลายประเทศในประชาครอาเซียน สภา ที่มีอยู่ในลกษณะสภาที่ปรึกษา สุลต่านและสมเด็นพระราชาธิบดี ทรางบิหารราชการแผ่นดันโดยมีสภาที่ปรึกษา 5 สภาดังได้กล่าวไปแล้วในหัวข้อระบอบการปกครอง นอกจากนั้น นังมีสภาที่ปรึกษาด้านต่างๆ แก่คณะรัฐมนตรี อีก 4 สภา ได้แก่ สภากัารศึกษา, สภาเศรษฐกิจ, สภากลาโหม, สภาสังคมแห่งชาติ
เขตการปกครอง หน่วยการปกครองระดับล่างจากกระทรวง คือ เขตการปกครอง อยุ่ในสายบังคับบัญชา กระทรวงมหาดไทย มีผุ้อำนายการเขตการปกครอง เป็นหัวหน้าเขตการปกครอง เป้ฯหน่วยการปกครองที่เชื่อมต่อระหว่างการปกครอง สวนกลางกับหน่วยการปกครองระดับลาง มี 4 เขตการปกครอง คือ
- เขตการปกครองเบอไลท์ ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศ เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่กวางขวางทีสุดส่วนใหญ่เป็นภูเขาและป่า มีศูนย์กลางอยุ่กัวลา เบอไลท์
- เขตการปกครองบรูไน - มูอารา ตั้งอยู่ทางเหนือของประเทศ มีพื้นทีน้อยที่สุด แต่มีประชากรเหหนาแน่นที่สุด เนื่องจากเป็นที่ตั้งเมืองหลวง ทำให้เป็นศูนย์กลางด้านการปกครองประเทศ ด้านเศราฐกิจการค้ามีศูนย์กลางอยู่ทบันดาร์ เสรี เบการวัน
- เขตการปกครองเต็มบูรง ตั้่งอยู่างตะวันออกเของประเทศ เป็นเขชตการปกครองที่ไม่มีพื้นที่ที่เป็นผืนดินติดต่อกับเขตการปกครองอื่นของประเทศ มีพื้จที่ของรัฐซารนาวัก สหพันธรัฐมาเลเซีย คั่นไว้ การเดินทางติดต่อเขตการปกครองอื่นจึงต้องผ่านเขตแดนของรัฐซาราัก หรือไใช้เ้นทางทะเลไปยังเขตการปกครองบรูไน -มูอารา เขตการปกครองเต็มบูรงเป็นเขชตการปกครองที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นลำดับ 3 ศูนย์กลางอยู่ที่ปีกัน บังการ์
- เขตการปกครองตูตง ตั้งอยุ่ตาอนกลางของประเทศ อยู่ระหว่างเขตการปกครองบรุไน-มูอารากับเขตกาปกครองเบอไล์ มีพื้นที่ใหญ่เป็นลำดับที่ 2 และพื้ที่สวนใหญ่เป็นภูเขาและป่าเช่นเดี่ยวกับเขตการปกครองเบอไลท์ มีศุนย์กลางอยู่ที่ ปีกัน ตุตง
เขตการปกครอง มภาระหน้าที่หลักๆ อยู่ 4 ประการ คือ
- จัดทำโครงการพัฒนาเกี่ยวกับสาธารณูปโภค ศูนย์การค้าสวนสาะารณะ เขื่อน และทำโดยสาร รวมังการพัฒนาที่อยู่อาศัย ระบบกาเดินทางขนส่ง ปละระบบการสื่อสารให้ดีขึ้น
- สร้างความเข้มแข้งให้แก่สภาบันกำนัด และผู้ใหญ่บ้าน
- ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการที่ปรึกษรตำบล แลุคณะกรรมการที่ปรึกษาปมู่บ้าน ทั้งในด้านสวัสดิการ ด้านศาสนาท และที่สำคัญในด้านเศรษฐกิจ เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
- การออกใบอนุญาตในเรื่องต่างๆ
- การให้บริการสาธารณะด้านการจัดเก็บขยะมูลฝอย และดูแลระบบระหบ่ายน้ำและแม่น้ำ
- ดุแลที่จอดรถ สวนสาธารณะ และสถานที่ให้ความบันเทิงต่างๆ
ภาระหน้าที่เหล่านี้ บางส่วนมีส่วนงานรัฐผิดชอบ บางส่วนจะกระตายไปยังหน่ยการแดครองที่ต่ำลงไปคือ ตำบล และหมู่บ้าน
ตำบล หน่วยการปกครองระดับล่าง ก่อนล่างสุด ในภาษามาเลย์เรียกว่า Mukim เทียบได้กับตำบลของประทเศไทย ผุ้นำของตำบล ในภาษมาเลย์เรียกว่า Penghulu Mukin เทียบได้กับกำนัน เป็นหน่วยการปกครองที่เชื่อมโยงเขตการปกครองกับหมู่บ้าน Kampung
หมู่บ้าน เป็นหน่วยการปกครองระดับล่างสุด ในภาษามาเลย์เรียกว่า Kampung หรือ Village ในภาษาอังกฤษ ผู้นำหมู่บ้านที่ของไทยเรียกว่า ผุ้ใหญ่บ้าน ในภามาเลย์เรียก Ketua Kampung
มีหน่วยการปกครองอีกหน่วยการปกครองหนึ่ง คือ เทศลบาล อยุ่ในระดับชั้นเดียวกับเขตการปกครอง เป็นหนวยการปกครองท้องถิ่นที่เป็นเมืองหรือชุมชนเมืองการบริหารงานขึ้นต่อกระทรวงมหาดไทย
การปกครองของเนอการราบรูไนดารุสลามเป็นแบบรวมศูนย์อำนาจอย่างมาก ไม่มีการกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นมีอิสระในการปกครองตนเอง การปกครองท้องถิ่นจึงเป็นแบบสายบังคับบัฐชาที่มีลำดับชั้นจากกระทรวงมหาดไทย ดดยมีเขชตการปกคอง เป็นหน่วยการปกครองเชื่อมโยงระหว่างรัฐบาลกับท้องถ่ินหรือประชาชน การที่เนอการาบรูไนดารุสลามเป็นประเทศที่มีขนาดเล็กมีพื้นที่เพียง 5,765 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่ส่วนใหญ่เป็เขตป่ารวมทัี้งประชกรมีมไ่มาก คือประมาณ 400,000 คน ทำให้รัฐบาลสามารถำเนินงานบริการสาธารณะใป้ประชาชอย่างทัวถึงได้งายโดยไม่ต้องให้ท้องถ่ินดำเนิงาน เช่น การฯึากา การสาธารณะสนุขการคมนาคมขน่ง อย่างไรก็ตาม ตำบล แฃะหู่บ้าน ก็บยังเป็นหน่ยกรปกครองที่สำคัญเพราะเป็นหน่วยการปกคีองที่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุ ทั้งตำบล และหมุ่บ้าน มีบทบาทในการพัฒนาชุมชนทั้งในด้านสวัสดิการ และชีวิตความเป็นอยุ่ทีดีให้แก่คนในท้องถ่ิน ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เข การปกคหรอง หรือรัฐบาลมีบทบาทดดำเนินการได้ไม่สะดวก ส่วนเขตเมืองหรือชุมชนเมือง ได้มีเทศบาลดำเนินงานบริหารจัดการแบบชุมชนเมือง
รูปแบบการปกครองส่วนท้องถ่ิน มี 2 รูปแบบ คือกาปกคีองท้องถิ่นในเชตะมืองหรือชุมชนเมือง กับการปกครองท้องถิ่นทั่วไป
การปกครองท้องถิ่นในเขตเมืองหรือชุมชนเมือง การปกครองท้องถิ่นในเขตเมืองหรอืชุมชนเมือง เป็นหารปคกรองรูปแบบเทศบาล ซึ่งมีพัฒนาการจากเมืองครั้งที่ประเทศอังกฤษเข้ามาปกคหรองเนอการาบูรไนดารุสลาม ซึ่งบรูไน ได้ทำข้อตกลง 1888 กับประเทศอังกฤษ ข้อตกลงนี้มีส่วนสำคัญที่ทำให้บรูไน ได้รับอิทธิลด้านการเมองกาปกครองจากประเทศอังกฤษ มีการแบ่งเขตพื้นที่เืพ่อการปกคหรองที่เรียกว่า เขตการปกครอง ในปี ค.ศ. 1906 โดยแบ่งออกเป็น 4 เขตการปกครอง ในปี ค.ศ. 1906 ก็ได้ทำข้อตกลงเสริม 1905 และ 1906 เป็นข้อตกลงที่มีความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงบรูไน เป็นอย่างมาก และเป็นรากฐานการพัฒนาด้านต่างๆ มาจนถึงปัจจุบัน ข้อตกลงดังกล่าวเกิดขึ้นบนความเห็นพ้องกันระหว่างประเทศอังกฤษกับสุลต่านแห่งบรูไนดารรุสลาม ที่จะร่วมกันพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในด้านต่างๆ ทั้งด้านการเมือง การปกครอง การศึกษา และการพัฒนเศรษฐกิจ
การพัฒนาการเมืองและการปกครองแบบจารีตของบรูไน ที่ผุ้มีอำนาจ ผุ้นำชั้นสูง หรือขุนนางที่มีอำนาจบารมี ซึ่งพิจารณาจากปริมาณที่ดิที่ถือครอง ได้ถูกทำลายไป และทแนที่ด้วยรูปแบบการบริหารการปกครองแบบใหม่ คือ ระบบราชการ อย่างไรก็ตามอำนาจสูงสุดยังคงอยู่ที่สุลต่าน แต่พระราชอำนาจของสุลต่าสจะอยู่ภายใต้คำปรึกษาและแนะนำของฝ่ายอังกฤษ ยกเว้นเรื่องศาสนา จากความเปลี่ยนแปลงนี้ได้เกิดหน่วยงานของรัฐขึ้น เช่น กรมตำรวจ สำนักงานที่ดิน ฝ่ายชกิจการทั่วไ ปศุลกาการ และหน่วยงาน ราชการอื่นๆ นอกจากนั้นยังได้มีการจัดตั้งสภาแห่งชาติ ประกอบ้วยผุ้แทนและเจ้าหน้าที่อังกฤษกับผุ้นำชาวบรูไนทำหน้าทีในการดูแลและแลกเปลี่ยนความเห็นซึ่งกันและกันเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของประเทศ
การเติบโตของชุมชนเมืองมีกมากขึ้น ทั้งจากการพัฒนาดังได้ กล่าวมาแล้วและจากเป็นเมืองชุมทางการค้าของบริฒัทบริติช นอร์ท บอร์เนียว ใน ปี พ.ศ. 2464 กงสุลอังกฤษประจำบรูไนก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการสุขาภิบาลเมืองบูรไน ขึ้น ซึงปัจจุบัน คือบันดราร์ เสรี เบกาวัน และค่อย ๆ ขยายไปอีก 3 เขตการปกคหรอง สุขาภิบาบนี้มีหน้าที่ในกาพัฒนาเมืองใหม่และดุแลด้านสุขอนามัย โดยการบิหารงานได้เปิดโอกาศ ให้ประชาชนเข้ามามีบทบาทด้วย ต่อมาในปี พ.ศ. 2509 ถึงได้เปลี่ยนสุขาภิบาลเป็นเทศบาลภายใต้กฎหมายบรูไน เรื่องคระกรรมการเทศบาล หน่วยการปกครองนี้ยังคงมีบทบาทอยุ่จนถึงปัจจุบัน แต่ลดบทบาทของประชาชนในด้านการบริหารงานเทศบาล
ปัจจุบัน เทศบาลของบรูไน อยุ่ภายใจ้การกำกับดูแลของกระทรวงมหาดไทย เป้นการแบ่งภาระของเขตการปกครอง ซึ่งมีภาระหน้าที่ดูแลที่อยู่อาศัยและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนโดยทั่่วไป เทศบาลมีภาระหน้าที่จัดการบริหารสาธารณะแบบเมือง เช่น การดูแลความเป็รระเบียบเรียบร้อยของเทมืองและจัดการด้านสุขลักษณะของเมืองเป็นหลัก
เทศบาบในบรูไร มี 3 แห่ง คือ เทศลาลันดาร์ เสรี เบกาวัน อยุ่ในเขตการปกครองบรู ไน มูอารา และเป็นที่ตั้งของเมืองหลวง เทศบาลกัวลา เบอไลท์และซีเรีย อยุ่ในเขตการปกครองเบอไลท์และเทศบาลตุตง อยู่ในเขชตการปกครองตูตง
การปกครองท้องถิ่นทั่วไป การปกครองทั่วไปมีกระจายอยู่ทั่วทั้งประเทศ เป็นหน่วยการปกครองลำดับชั้นต่อจากเขตการปกครอง คือ ตำบล และหมู่บ้าน ต่างๆ เป็นเครือข่ายคล้าบยระบบ แลนด์ลอร์ด ภายใต้เครือข่ายนี้ ผุ้นำตำบล และผุ้นำหมูบ้านมีหน้าที่เก็บรวบรวมภาษีจากประชาชน แล้วส่งต่อไปยังขุนนางในเครืองข่าย
ในยุคอาณาคมอังกฤษ บรูไนได้ปรับการบริหาราชการแผ่นดินให้เป็นสมัยใหม่ โดยเฉพาะเทืองได้ทำข้อตกลงเสริม ตามที่ได้บรรยายไว้แล้ว่อหนหน้าทนี้แล้ว มีการแบ่งพื้นที่การปกคองประเทศเป็นเขตการปกครอง มี 4 เขตการปกครอง ซึ่งทำให้มีการจัดระบบกลุ่มหมู่บ้าน ต้างไปจากเดิ มดบ้างและบริหารราชการแผ่นดินแบ่งเป็นฝ่ยต่างๆ มีข้าราชการับผิดชอบตามตำหน่งหน้าที่การปกครองและการตัดสินพระทัยของสุลต่านต้องผ่านความเห็นชอบของกงสุลอังกฤษประจำบรูไน คามสัมพันะ์ของผุ้นำตำบลและผุ้นำหมู่บ้านกับรัฐก็เปลี่ยนไปด้วย ผุ้นำตำบลและผุ้นำหมู่บ้านมีบทบาทเป็นตัวแทนหรือเป็นข้อาราชการของส่วนกลาว และมีบทบาทในการพัฒนาหมู่บ้าน
ยุคสัมยปกครองตนเองภายใต้อารักขาอังกฤษ การบริหาราชการแผ่นดินได้เข้ารูปแบบรัฐสมัยอย่างเต็มที่กว่าช่วงก่อน ทั้งนี้เนื่องจากก่อนหน้านี้คนบรูไนยังไม่มีการศึกษาแบบใหม่จำเป็นต้องพึ้งคนอังกฤษมาเป็นเจ้าหน้าที่อ้านการปกครอง เมืองถึงช่วงทศวรรษ 1920 คนบรูไนมีการศึกษาสมัยใหม่มากขึ้นเรื่อยๆ ทำให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปกครองมากขึ้น ในปี 1954 คนบรูไนมีการศึกษาสมัยใหม่มากขึ้นเอง ๆ ที่ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปกครองมากขึ้น มีการจัดต้งคณะกรรมการที่รึกษาเขตการปกครอง และต่อมาก็ได้จัดตั้เงสภาเทศลาล และสภาการปกครองท้องถิ่น ซึ่งมีสภาแยกกันตามเขตการปกครองโดยสภาเหล่นนั้นให้ประชาชนเข้ามามีบทบาท แต่การดำเนินงานไใ่ประสบความสำเร็จมากนัก เพราะเทศบาลและเขตการปกครองไม่สามารถจัดเก็บภาษีเองได้เหรือมีรายได้เป็นของตนเอง ในปี พ.ศ. 2502 บรูไน มีรัฐธรรมนูญฉบับแรก และกำหนดให้เมีการจัดตั้งสภาองค์มนตรี สภาคณะรัฐมนตรี และสภานิติบัญญัติ ขึ้นเพื่อการบริหารราชการแผ่นดิน
ในระดับตำบล และหมู่บ้านจัดให้มีการเลือกตั้งผุ้นำตำบล และผุ้นำหมู่บ้านตามอุดมการณ์ประชาธิปไตย ซึ่งรับผลมาจากประเทศอังกฤษ โดยกำหนดให้แต่ละสมัยมีระยะเวลา 3 ปี และผุ้สมัครรับเลือกตั้งผุ้นำตำบล และผู้นำหมู่บ้านในเวลาต่อมาจนถึงปัจจุบัน ผุ้นำหมุ่บ้านอยุ่ภายใต้การกำกับดูแลตำบล และเขตการปกครอง มีหน้าที่ในการพัฒนาหมู่บ้าน ความสัมพันธ์ระหว่างหมู่บ้านกับรัฐปรับเปลี่ยนจากรัฐจารีตที่ผุ้ปกครองเรียกเก็บภาษีจากประชาชน มาเป็นแบบรัฐสวัสดิการ คือ รัฐมีภารกิจที่จะให้บริการสาธารณะต่างๆ เพื่อให้ประชาชนมีการดำรงชีวิตอย่างสงบสุข และรัฐก็ไม่ได้จัดเก็บภาษีจากประชาชนอีกด้วย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแนคิด MIB ในด้านที่ผุ้แกครองพึงมีต่อประชาชน
- "ระบบการปกครองท้องถิ่นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน: เนอการราบรูไนดารุสสลาม", นิชานท์ สิงหพุทธางกูร, วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่นสถาบันพระปกเกล้า, 2556.
วันเสาร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2560
Local government in Malaysia
จากการที่เป็นเมืองขึ้นของประเทศอังกฤษทำให้ได้รับอิทธิพบของโครงสร้างการเมืองการปกครองของประเทศอังกฤษมา คือ การปกครองอ้วยโครงสร้างของระบบรัฐสภา ยกเว้น ระบบรัฐาบซึ่งมาเลเซียมีทั้งระบบรัฐบาลหรือสหพันธ์และรัฐบาลแห่งรัฐ สำหรับโครงสร้างการเมืองการปกครองโดยทั่วไปเป็นดังนี้
ระดับสหพันธรัฐ
- สภาประมุของผุ้ปกครองรัฐ และพระราชธิบดี
- นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี
- สภาผุ้แทรราษฎรและวุฒิสภ
- สภาบันตุลาการ
ระดับรัฐ
- ประมุขแห่งรัฐ
- สภาการบริหารและมุขมนตรี
- สภานิติบัญญัติแห่งรัฐ
- เลขาธิการประจำรัฐ
การปกครองส่วนภูมิภาคและการปกครองส่วนท้องถิ่น
- ส่วนภูมิภาค
- ส่วนท้องถิ่น
ระดับสหพันธรัฐ
ถือได้ว่าเป็นรัฐบาแห่งชาติ ซคึ่งเป็นตัวแทนของประเทศมาเลเซียในการดำเนินความทสัมพันธ์กับประเทศอื่นๆ ในเวทีระหว่างประเทศการทำสนธิสัญญา การกำหนดนโยบายต่างประเทศ การป้องกันประเทศ การรักษาความมั่นคงภายใน การกำหนดกฎหมายการศาลการแลบงสัญชาติ การคลัง การต้า พาณิชย์และอุตสาหกรรม
- สถาบันประมุข ในโครงสร้างของการปกครองของรัฐบาล กลางมีการแหยกประเภทของผุ้นำระดับสูง ดังนี้
กษัตริย์ เป็นประมุขของประทเศ เป็ฯผุ้นำสูงสุดของประเทศแต่อยู่ภายใต้กำหมายรัฐธรรมนูญ ซึ่งประเทศมาเลเซียได้เรีกกษัตริยืของตนว่า ยัง ดี เปอร์ ตวน อากง ที่มีที่มาจากการเลือกตั้งทุกๆ 5 ปี จากบรรดาสุลต่านที่เป็นประมุขของรัฐทั้ง 9 รัฐที่เรียกว่า ยัง ดี เปอร์ ตาน เนเกอรี ในส่วนอำนาจของกษัตริย์หรือประมุขจะกี่ยวข้องกับด้านศาสนา พิธีการต่างๆ นอกจานี้ยังม่อำนาจในด้านอื่นๆ เช่น อำนาจทางการบริหาร และนิติบัญญัติ กล่าวคือ กฎหมายจะต้องประกาศใช้ถูกยับขั้ง หรือถูกแก้ไขโดยกาัตริย์อีกทั้งกษัตริย์ยังมีอำนาจในด้านอื่นๆ เช่น อำนาจทางการบริหาร และนิติบัญญัติ กล่าวคือ กฎหมายจะต้อง ประกาศใช้ถูกยับยั้ง หรือถูกแก้ไขโดยกษัตริย์ อีกทั้งกษัตริย์ยังมีอำนาจในการแหต่งตั้งให้หัวหน้าพรรคการเมอืงที่มีเสียงข้างมากหรือที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
ที่ประชุมแห่งประมุขรัฐ มีความเกี่ยวข้องกับกษัตริย์สุลต่าน ศาสนา ประเพณี และวัฒนธรรม องค์ประกอบของที่ประชุมฯ ประกอบขึ้นจากสุลต่าน 9 รัฐ และ 4 ผุ้ว่าแห่งรัฐปีนัง มะละกา ซาบาห์ และซาราวัค ส่วนอำนาจหน้าที่หลักของที่ประชุม คือ การแต่งตั้งกษัตริย์ และอุปราชหรือผุ้สำเร็จราชการแทนพระองค์
- สถาบันบริหาร ในส่วนนี้มีเพียง 2 กลุ่มผุ้นำ คือ นายก รัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรี เป็นผุ้นำสุงสุดของฝ่ายบริหารตามระบบรัฐสภา นายกรัฐมนตรีเป้นหัวหน้าพรรคอากรเมืองที่สมาชิกได้รับเลือกเข้ามานั่งในสภมากที่สุ หรืออาจเป็นหัวหน้าพรรคที่เป็นนำในสภาผุ้แทนราษฎร ทั้งนี้กษัตริย์จะเป็นผู้ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี สำหรับหน้าที่นั้น นอกจากจะเป็นผุ้นำคณะรัฐบาลในการบริหารประทเศแล้ว นายกรัฐมนตรียังสามารภแต่งตั้งบุคคลเช้าดำรงตำแหน่งผุ้บริหารระดับสุงในระบบราชการ นอกจานี้ยังต้องถวายนโยบายการปกครองและการบริหารรัฐให้แก่กาัตริย์ทราบ ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการแต่งตั้งผุ้ิพากษา อธิบิีกรมตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการบริหารสาธารณะ และคณะกรรมการการเลือกตั้งอีกด้วย
คระรัฐมนตรี ถือว่าเป็นหุ่มผุ้กำหนดนโยบายอันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า นายกรัฐมนตรีเองจะเลือกสมาชิกสภาผุ้แทนราษฎรเข้ามาดำรงตำแหน่งดังกล่าวตามกระทรวงต่างๆ ซึ่งจะมีสมาชิกของคณะรัฐมนตรีทั้งหมด 26 คน จาก 24 กระทรวง กระทรวงต่างๆ ทั้ง 24 กระทรวงในระดับสหพันธรัฐจะส่งตัวแทนของตนเข้าไปยู่ประจำรัฐต่างๆ เพราะโครงสร้างการบริหารงานในแต่ละรัฐจะมีกระทรวงที่รองรับดครงสร้างกันอันมาจากการปกครองระดับชาติ ทั้งนี้เพื่อให้ตัวแทนจากสหพันธ์คอยให้คำปรึกษาแนะนำ เป็นสื่อกลางระหว่างรัฐบาลมลรัฐและรัฐบาลแห่งสหพันธ์ การมีโครงสร้้างในการแหบงกระทรวงที่ถอดแบบมาจากส่วนกลางนี้เป็นเครื่องมือในการควบคุมการดำเนินงานให้เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลแห่งสหพันธ์ทางหนึ่ง สำหรับกระทรวงที่ทำหน้าที่ดูแลการปกครองส่วนภูมิภาคและการปกครองส่วนท้องถิ่น คือ กระทรวงมหากไทยและกระทรวงการเคหะและการปกครองส่วนท้องถิ่น
- สภาผุ้แทนราษฎรและวุฒิสภา นับแต่ปี พ.ศ. 2500 เป็นต้นมา อำนาจนิติบัญฐัติชองสหพันธรัฐ ประกอบด้วยกษัตริย์ และ 2 สภาด้วยกันคือ วุฒิสภา และสภาผุ้แทนราษฎร
วุฒิสภา ประกอบขึ้นจากสมาชิก 2 กลุ่มด้วยกัน รวมเป็น 70 คน โดยที่ 26 คนมาจากการเลือกต้้งของสภานิติบัญญัติ 13 รัฐ รัฐละ 2 คน ส่วนอีก 44 คนมาจากการเสอนชื่อโดยนายกรัฐมนตรีเพื่อให้กษัตริย์แต่งตั้งจากบุคคลผุ้มีความรู้ความสามรรถในงานสาขาอาชีพต่างๆ เช่น การค้า อุตสาหกรรม เกษตรกรรม หรืองาน วัฒนธรรม งานด้านสงคมสงเคราห์ หรือผุ้นำชนกลุ่มนอย ซึ่งสมารถดำรงอยู่ในตำปน่งได้วาระละ 6 ปี และมีบทบามในการเป็นตัวแทนให้กับรัฐและ เป็นเครื่องมือสำหรับการปกป้องสิทธิของรัฐต่างๆ ที่อยุ่ในสหพันธ์ุด้วย
สภาผุ้แทนราษฎร ในปัจจุบับสภาผุ้แทนราษฎรมีสมาชิกที่ได้รับการเลือกตั้งโดยตรงมาจากราษฎรในรัฐต่าง โดยมาจากเขชตเลือกต้งแขตละ 1 คน รวม 222 คน สมิชิกสภาผุ้แทนราษฎรนี้จะต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 21 ปี บริบูรณ์ และอยุ่ในตำแหน่งได้คราวลิ 5 ปี
- สถาบันตุลาการ(ในระดับสหพันธรัฐ) เนื่องจากเคยเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ การบริหารงานทางด้านยุติธรรมและรูปแบบของศาลทั้งประเทศจึงอาศัยแบบอย่างของกฎหมายอังกฤษ ยกเว้นแต่ศษอิสลามหรือศาลการศาสนาที่ใช้รูปแบบแตกต่างออกกไป โยรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธรับมาเลเซียเกิดขึ้นโดยการตกลงร่วมกันระหว่างรัฐบาลอังกฤษและบรรดาเจ้าผุ้ครองนครต่างๆ ในมาลาย และได้รับสัตยาบรรณทั้งโดยกฎหมายของรัฐบาลกลางและรัฐบาลรัฐต่างๆ จึงเป็นที่ยอมรับนับถือว่า รัฐธรรมนูญของสหพันธรัฐเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศและรัฐธรรมนูญนี้ก็ได้ตราบทบัญญัติกี่ยวกัยอำนาจทางนิติบัญญัติของรัฐบาลกลางและรัฐบาลของรัฐไว้หลายแระการ เฉพาะที่เกี่ยวกับอำนาจทางตุลาการหรือศาลยุติธรรมซึ่งมาเลเซียมอบห้แก่ศาลระดับต่างๆ
ระดับรัฐ รัฐบาลแห่งรัฐเป็นรัฐบาลท้องถ่ินของรัฐในประทเศมาเลเซียจำนวน 13 รัฐ ทำหน้าที่ปกครองบริหารราชการในรัฐนั้นๆ มีลักษณะเป็นรัฐบาลเล็กๆ 13 รัฐบาลอยฦู่ในประเทศเดียวกัน เพราะมีโครงสร้างเช่นเดี่ยกับรัฐบาลกลาง ที่ประกอบด้วย
- ประมุขแห่งรัฐ คือ เจ้าผุ้ครองรัฐใน 9 รัฐ หรือเรียกอีกชื่อว่า ยัง ดี เปอร์ ตวน เนเกอรี ซึงทรงมีพระอิสระยยศแตกต่างกัน โดยเจ้าผุ้ครองรัฐยะโฮร์ ตรังกานู ปาหัง สลังงอร์ เปอร์ลิส กลันตัง เนกรีซัมบิลัน เคดาห์ และเปรัค มียศเป็น "สุลต่าน" ซึ่งในปัจจุบันพระปรุมขหรือพระราชาของสหพันธณัฐมาเลเซย คื อเจ้าผุ้ครองรัฐเคดาห์มีพระยศเป็น "พระมหากษัตริย์" ส่วนอีก 4 รัฐที่ไม่มีเจ้าปุ้ครองรัฐจะมีข้าหลวง ที่ำด้รับการแต่งตั้งจากรัฐบาลกลางทำหน้าที่เป็นประมุขโดยทำหน้าที่ด้านพิธีการเป็นส่วนมาก
- ฝ่ายบริหาร รัฐบาลแห่งรัฐจะมีมุขมนตรีแห่งรัฐ ในรัฐที่มีเจ้าผุ้ครองรัฐ ส่วนในรัฐที่ไม่มีเจ้าผุ้คีองรัฐจะมีผุ้ว่าการรัฐ โดยแต่งตั้งมาจากสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะผุ้บริหารรัฐ ดูแลด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ ความปลอดภัยสาธารณะ การศึกษา หรือสุขภาพอนามัยของผุ้คนในรัฐ โดยแต่ละรัฐมีอิสระในกรบริหารจากรัฐบาลกลางพอสมควร ยกเว้นด้านการต่างประเทศ การทหาร การเงินและเศรษฐกิจมหภาคที่ยังคงอยุ่ภายใต้การดูแลของรัฐบาลและรัฐบาลแห่งรัฐ
- ฝายนิติบัญญัติ แต่ละรัฐมีสภานิติบัญญัติแห่งรับ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับรัฐสภาในรัฐบาลกลาง หากแต่ในระดับรัฐจะมีเพียงสภาเดียว ประกอบด้วยสมาชิกที่ได้รับการเลือกตั้งจากประชาชน ดดยทำหน้าทีออกกฎหมายท้องถิ่นภายในรัฐมีวาระ 5 ปี
- ฝ่ายตุลาการ (ในระดับรัฐ) งานด้านตุลาการส่วนใหญ่ในประเทศมาเลเซียจะอยุ่ในระดับรัฐ ซึงแต่ละรัฐก็มีสภาบันตุลาการของตนแยกออกเป็น 7 ประเทภทด้วยกัน
การปกครองส่วนภูมิภาค การปกคหรองส่วนภูมิภาคและการปกครองส่วนท้องถิ่นภายในแต่ละรัฐนั้น อยุ่ภายต้การกำกับดูแลของรัฐบาลลรัฐอย่างเต็มที่ ถึงแม้ว่าการปกครองส่วนภูมิภาคและการปกครองส่วนท้องถิ่นจะเป็นเรื่องภายในของแต่ละรัฐที่จะสารถบริหารจัดกรและออกแบบโครงสร้างได้เอง แต่โดยส่วนใหญ่รูปแบบการปกครองส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถภ่ินในแต่ละัฐก็จะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันในภาพรวม
การปกคหรองส่วนภูมิภาคของประเทศมาเลเซียลักษณะการแบ่งโครงสร้างคล้ายกับประเทศไทย โดยการกำหนดให้มีหน่วยการปกครองระดับอำเภอและตำบล จะมีความแตกต่างบ้รางก็ตรงที่บุคคลผุ้มาทำไน้าทีปกครองในหน่วยการปกครอระดับภูมิภาคทั้งในระดับอำเภอและตำบลจากการแต่างตั้งของส่วนกลาง มีฐานะเป็นข้าราชการสังกัดกระทรวงเคนะและการปกครองส่วนท้องถิ่น
จุดเริ่มต้นของการศึกษาการปกครองส่วนท้องถิ่นของมาเลเซียเริ่มจากการปฏิรูปกันอย่งจริงจัง เมื่อปี พ.ศ. 2519 ที่ได้มีการออกกฎหมายที่เกี่ยวกับการปกครองท้องถ่ิน เรียกว่า Local Government Act 124 ในปี พ.ศ. 2519 กฎหมายฉบับนี้นับว่ามีความสำคัญต่อการปกครองส่วนท้องถ่ินของมาเลเซียเป็นอย่างมาก เพราะเป็นกฎหมายที่มีเนื้อหนาปฏิรูปการปกครองท้องถิ่นของมาเลเซียเป็นอย่างมาก เพราะเป็นกฎหมายที่มีเปนื้อหาปฏิรูปการปกครองท้องถ่ินของมาเลเซียอย่างจริงจัว ดดยมีความพยายาทำให้การปกครองท้องถ่ินเป็นของประชาชนในท้องถ่ินมากที่สุด ซึ่งจากเดิมากรปกครองส่วนท้องถิ่นของมาเลเซียอยู่ภายใต้การปกครองโดยรัฐส่วนกลาง โดยที่เจ้าหน้าที่รํบสามารไปดำรงตำแหน่งในระดับท้องถิ่นได้ ซึ่งเป็นไปตามแนวทางการรวมศูนย์อำนาจรัฐที่ต้องการสร้างความเข้มแข็งทางการปกครอง เนื่องจากความหลากหลายของเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่อกาจนำไปสู่ควาขัดแย้งในท้องถ่ินต่างๆ ที่ส่งผลต่อแนวนโยบายในการพยายามสร้างความเป็นหนึ่งเดียวกันของมาเลเซียนับแต่ได้รับเอกราช
อย่างไรก็ตาม การพิจารณาถึงการปกครองส่วนท้องถิ่นของมาเลเซียจำเป็อย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาถึงการปกครองส่วนภูมิภาคควบคู่กันไปด้วย เพราะมาิเลเซียมีลักษณการรบอำนาจเข้าสู่ส่วนกลางและสร้างองค์กรของรัฐให้เข้มแข็งเพ่อเหตุผลดังที่กล่าวมา ดังนั้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นของมาเลเซียจึงไม่ได้เป็นอิสระอย่งแท้จริงและยัง๔ูกควบคุมโดยโครงกสร้างการปกครองของส่วนกลง เทศมนตรีหรือผุ้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็มาจากการแต่างตั้งของ Menteri Besar โดยตรงและโดยปกติชื่อมี่ถูกเสนอขึ้นไปจะมาจากการเสนอของพรรคการเมืองที่ได้รับชัยชนะในรัฐน้้นๆ หากมองในแง่นี้เทศมนตรีหรือผุ้นำในระดับท้องถ่ินเหล่านี้ก็จะไม่มีอิสระในการบริหารเท่ารที่ควร เพราะพวกเขาจะขึ้นตรงต่อผุ้ที่แต่างตั้งเขามาเท่านั้น
ได้มีผู้สรุปคุณลักษณะขงอองค์กรปกครองท้องถ่ินมาเลเวีย ดังนี้
- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีขอบเขตการปกครองที่ชัดเจนตามกฎหมายที่กำหนดให้แต่ละเขตพื้ที่มีอำนาจการปกครองในระดับท้องถ่ินอย่งเท่าเทียมกัน
- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่ ความรัีบผิดชอบในการดและประชาชนในพื้นที่แลพัมรสาผลประดยชน์สาธารณะต่างๆ ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ
- องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินถือเป็นสภาบันหนึงที่เกิดขึ้นตามกฎหมายพิเศษและอยุ่ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐบาลสหพันธรัฐ
- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องดำเนินหน้าที่ตามกฎหมายกำหนด มิเช่นนั้นอาจโดนฟ้องร้องได้ โดยมีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ดำเนินฟ้องร้อง ครอบครองพื้นที่และเซ็นศัญญาเหรือข้อตกลงตางๆ ได้
- องค์การปกครองสวนท้องถิ่นมีอำนาจในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีหน้าที่ตาข้อบัญญัติท้องถ่ิน เช่น มีอำนาจและหน้าที่กำหนดไว้ตามกฎหมายเท่านั้น
- ถึงแม้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจะอยงุ่ภายใต้การกำกับดูแลโดยรัฐบาลสหพันธรัฐ แต่ยังคงมีความเป็นอิสระตามทีบทบัญญัติท้องุ่ินกำหนดอำนาไว้ให้
- ที่มาของตัวแทนที่ทำหน้าที่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมทั้งจากการแต่งตั้งโดยผุ้มีอนำาจสุงสุดหรือรัฐบาลและมาทั้งจากการเลือกโดยประชาชนในพืั้นที่
- ผุ้ปกครองรัฐที่ได้รับเลือกจากรัฐบาลกลางจะทำงานร่วมกับสมาชิกของสภาท้องถิ่น
- บทบาทหน้าที่พื้นฐานที่สำคัญขององครกปกครองส่วนท้องถิ่น คือ การดูแลความสะอากของย้านเมือง การให้บริการต้านสาธารณสุข สุขอนามัย และากรรักษาความปลอดภัย
- อำนาจขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินยังหมายวามรวมถึงการจัดเก็บภาษีและลงโทษสำหรับผู้ไม่เสียภาษี อีกทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังสามารถแต่งตั้งพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้ รวมทั้งมีอำนาจของตนเอง ในการบริหารจัการงลประมาณท้องถ่ินภายในองค์กรได้
โครงสร้างและรูปแบบการปกครองท่้องถิ่น รูปแบบการปกครองส่วนทองถิ่นของมาเลเซียหรือรัฐบาลท้องถิ่น บริหารกิจการท้องถ่ินภายใต้การควบคุมของรัฐบาลแห่งรัฐ มีรูปแบบหลัก ๆ 5 รูปแบบดังนี้
1 สภานคร รัฐบาลท้องถ่ินรูปแบบนี้มีทั้งสิ้น 12 แห่ง คณะกรรมารธิการสภนครมาจากการเลือกตั้ง
2 สภาเทศบาล (นคร) ซึ่งมี 39 แห่งซึ่งรัฐบาลท้องถิ่นและคณะกรรมาธิการของการปกครองรูปแบบนี้มาจากการเลือกตั้ง มัอำนาจสมบูรณ์ทางการเงินการเก็บภาษีและใบอนุญาตต่างๆ
การปกครองท้องถิ่น 2 รูปแบบที่กล่าวมาจะถูกจัดตั้งขึ้นในเขตที่มีความเป็นเมืองสูง จำนวนประชากรมากและความหนาแน่นของประชากรมีสูง มีรายได้เพียงพอต่อการบริหากิจการเเมืองขนาดใหญ่รายได้ส่วนใหญ่มาจากการจัดเก็บภาษีในท้องถ่ิน ส่วนเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเป็นเพียงรายได้เสริม ความแตกต่างระหว่าง Municipal Council กับ City Council ใช้รูปแบบที่แยกฝ่ายบริหารกับสภาออกจากกัน
3 สภาเมือง คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จัดตั้งขึ้นในเขตเมืองใหญ่ๆ ที่มีประชกรมากกวา 5,000 คน แต่ไม่เกิน 100,000 คน มีความสามารถในทางด้านการคลังอยุ่ใระดับปานกลาง รัฐบาลท้องถิ่นรูปแบบนี้มาจากการเลือกตั้ง
4 คณะกรรมการเมือง คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดเล็ก มีหน้าที่คล้ายสภาเมือง แต่สัดส่วนของบทบาทหน้าที่ และการบิหารจัดการจะแคบกว่าคณะกรรมาธิการเมืองจะมาจากการแต่งตั้ง จัดตั้งขึ้นในเขตเมืองที่มีประชกรีมาก่ 5,000 คนขึ้นไป มีรายได้ต่ำรายได้ส่วนใหญ่มาจากเงินอุดหนุนของรัฐบาลแต่ยังามสามารถบริหาจัดการได้
5 สภาท้องถ่ิน หรือสภาอำเภอ คือ งอค์กรปกครองสวนท้องถ่ินที่จัดตั้งขึ้ในเขต อำเภอจำนวน 98 แห่งซึ่งจัดตั้งขึ้นในเขตพี้ทีชนบทที่มีรายได้ต่ำ ประชากรน้อย ประชากรส่วนใหญ่อยุ่ในเขตชนบทและทำอาชีพเกษตรกรรม นับเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีขนาดเล็กที่สุดรูปแบบหนึ่งขององค์กรปครองส่วนท้องถิุ่นในมาเลเซีย (คล้ายกับองค์การบริหารส่วยตำบรลของไทย)และมักจะตั้งทัซ้อนอยู่กับการปกครองระดับตำบลและหมู่บ้าน มีรูปแบบบ่อย ดังนี้สภาชนบท, คณะกรรมการหมู่บ้าน ,สภาชนบทประจำอำเภอ, สภาอำเภอ, คณะกรรมการชนบท คือ องคกรปกครองส่วนท้องถ่ินในเขตชนบทที่มีขนาดพื้ที่ใหญ่และมักจะตั้งทับซ้อนอยู่กับการปกครองในระดับอำเภท มีพื้นที่ครอบคลุมทั้งอำเภอ ยกเว้นส่วนที่เป้นการปกครองส่่วนท้องถิ่นในรูปแบบอื่น)
การเลือกตั้งระดับท้องถ่ินในยุคหนึ่งได้ถูกยกเลิกไปจากเหตุความขัดแย้งรุนแรงเรื่องเชื้อชาติที่เกิดขึ้นในการเลือกตั้งท้องถ่ิน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2508 โดยมีการแก้ไขปรับปรงุพระราชยัญญัติการปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2508 โดยมีการแก้ไขปรัฐปรุงพระราชบัฐฐัติการปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2519 ที่กำหนดให้สภาท้องถิ่นมาจากการแต่งตั้งในหมาดที่ 15 สภาท้องถิ่นถูกแต่งตั้งโดยรัฐบาลมลรัฐ การยกเลิกการเลือกตั้งท้องถ่ินเป็นไปตามประกาศกฎหมายสองฉบับ ได้แก่การปกระกาศภาวะฉุกเฉิน และประกาศภาวะฉุกเฉินแก้ไขเพิ่มเติม ที่สงผลใหประชาชนในระดับท้องถ่ินไม่ได้มีประสบการณ์ในการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น สำหรับรัฐซาบลาร์และซาราวักรวมถึงรัฐตามที่ก"มกายกำหนดไม่มีการกำหนดการเลือกตั้ง มลรัฐแต่ละมลรัฐรวมถึงการปกครองกรุงกัวลาลัมเปอร์จะถูกบริหารปกครองโดยตรงภายใต้อำนาจของกระทรวงอาณาเขตของสหพันธ์ ถึงแม้ว่าประเทศมาเลเซียได้เรียนรู้ระบบการปกครองท้องถิ่นจากประเทศเจ้าอารานิคมอังกฤษก็ตาม แต่แน่นอนว่าบริบททางสังคมและเชื้อชาติ ศาสนาที่ส่งผลโดยตรงต่อระบบการเมืองภายในของมาเลิซีย ที่มีผลให้ไม่ประสบความสำเร็จในการกระจายอำนาจไปสู่ส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
การปกครองส่วนท้องถิ่นของมาเลเซียจึงไม่เหมือกับรูปแบบการปกครองส่วนท้องถ่ินของประเทศไทยนักที่มีหน่วยงการปกครองส่วนท้องถิ่นตั้งแต่ระดับจังหวัด เทศบาล ตำแบล ในรูปแบบขององค์การบริหารส่วนจังหงีก เทศบาลนคร เมือง และตำบล และงอค์การบริหารส่วนตำบลที่มีการต่อสู้ทางการเมือง มีพรรคการเมืองชัดเจน และมีการจัดการเลือกตั้บงี่ได้รับเลือกมาจากประชาชนโดยตรง ในขณะที่ประเทศมาเลเซียมีระดับในการปกครองส่วนท้องถ่ินที่แยกหว้าง ๆ ได้ 2 ระดับ คือสภาะชนบท และสภาท้องถิ่น ที่ม่บทบาทหน้าทีเหมือนกับสภาเทศบาลและสภาเมืองใหย๋ เพียงแต่ต่างกันที่บริบทของภูมิศาสตร์และพื้นทีในกาควบคุมดูแล
สภาเทศบาลสามารถยกฐานะไปเป็นสภาเมืองใหย๋ได้หากเข้าเงื่อขปตามที่กฎหมายกำหนด สภาเมืองใหญ่ปกครองโดยยายกสภาเมือง ในขณะที่สภาเทบาลปกครองโดยประธารสภาเทศบาลรัฐบาลแห่งรัฐแต่งตั้งนายกสภาเทศบาล รัฐบาลแห่งรัฐแต่งตั้งนายกสภาเทองและปรธานสภาเทศบาล รวมถึงสมาชิกสภาทั้งหมก โดยมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี และสามารถได้รับการแต่งตั้งซ้ำอีกได้ หากมาองที่มาของผุ้บริหารปกครองระดับภูมิภาคท้องถ่ินจะเห็นว่าเป็นการยึดสายโครงสร้าง การปกครองที่ขึ้นกับส่วนกลาง แต่ประเทศมาเลเซียก็กรนะจายอำนาจให้เฉพาะในส่วนของภารกิจหน้าที่ให้กับอน่วยการปกครองทั้งระดับภูมิภาคและท้องถิ่น อำนาจทางนิติบัญฐักติของการปกครองทั้งในระดับ สภาเมืองใหญ่ สภาเทศบาล และระดับอำเภอ อยู่ที่ผู้บริหาสูงสุดที่ได้รับการแต่งตั้ง ซึ่งอาจเป็นหารแต่งตั้งเต็มเวลาหรือชั่วคราว ซึ่งรัฐบาลแห่งรัฐเป็นผุ้กำหนดคำตอบแทนให้
-"ระบบการปกครองท้องถิ่นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน: สหพันธรัฐมาเลเซีย", ดร. ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สภาบันพระปกเกล้า, 2556.
ระดับสหพันธรัฐ
- สภาประมุของผุ้ปกครองรัฐ และพระราชธิบดี
- นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี
- สภาผุ้แทรราษฎรและวุฒิสภ
- สภาบันตุลาการ
ระดับรัฐ
- ประมุขแห่งรัฐ
- สภาการบริหารและมุขมนตรี
- สภานิติบัญญัติแห่งรัฐ
- เลขาธิการประจำรัฐ
การปกครองส่วนภูมิภาคและการปกครองส่วนท้องถิ่น
- ส่วนภูมิภาค
- ส่วนท้องถิ่น
ระดับสหพันธรัฐ
ถือได้ว่าเป็นรัฐบาแห่งชาติ ซคึ่งเป็นตัวแทนของประเทศมาเลเซียในการดำเนินความทสัมพันธ์กับประเทศอื่นๆ ในเวทีระหว่างประเทศการทำสนธิสัญญา การกำหนดนโยบายต่างประเทศ การป้องกันประเทศ การรักษาความมั่นคงภายใน การกำหนดกฎหมายการศาลการแลบงสัญชาติ การคลัง การต้า พาณิชย์และอุตสาหกรรม
- สถาบันประมุข ในโครงสร้างของการปกครองของรัฐบาล กลางมีการแหยกประเภทของผุ้นำระดับสูง ดังนี้
กษัตริย์ เป็นประมุขของประทเศ เป็ฯผุ้นำสูงสุดของประเทศแต่อยู่ภายใต้กำหมายรัฐธรรมนูญ ซึ่งประเทศมาเลเซียได้เรีกกษัตริยืของตนว่า ยัง ดี เปอร์ ตวน อากง ที่มีที่มาจากการเลือกตั้งทุกๆ 5 ปี จากบรรดาสุลต่านที่เป็นประมุขของรัฐทั้ง 9 รัฐที่เรียกว่า ยัง ดี เปอร์ ตาน เนเกอรี ในส่วนอำนาจของกษัตริย์หรือประมุขจะกี่ยวข้องกับด้านศาสนา พิธีการต่างๆ นอกจานี้ยังม่อำนาจในด้านอื่นๆ เช่น อำนาจทางการบริหาร และนิติบัญญัติ กล่าวคือ กฎหมายจะต้องประกาศใช้ถูกยับขั้ง หรือถูกแก้ไขโดยกาัตริย์อีกทั้งกษัตริย์ยังมีอำนาจในด้านอื่นๆ เช่น อำนาจทางการบริหาร และนิติบัญญัติ กล่าวคือ กฎหมายจะต้อง ประกาศใช้ถูกยับยั้ง หรือถูกแก้ไขโดยกษัตริย์ อีกทั้งกษัตริย์ยังมีอำนาจในการแหต่งตั้งให้หัวหน้าพรรคการเมอืงที่มีเสียงข้างมากหรือที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
ที่ประชุมแห่งประมุขรัฐ มีความเกี่ยวข้องกับกษัตริย์สุลต่าน ศาสนา ประเพณี และวัฒนธรรม องค์ประกอบของที่ประชุมฯ ประกอบขึ้นจากสุลต่าน 9 รัฐ และ 4 ผุ้ว่าแห่งรัฐปีนัง มะละกา ซาบาห์ และซาราวัค ส่วนอำนาจหน้าที่หลักของที่ประชุม คือ การแต่งตั้งกษัตริย์ และอุปราชหรือผุ้สำเร็จราชการแทนพระองค์
- สถาบันบริหาร ในส่วนนี้มีเพียง 2 กลุ่มผุ้นำ คือ นายก รัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรี เป็นผุ้นำสุงสุดของฝ่ายบริหารตามระบบรัฐสภา นายกรัฐมนตรีเป้นหัวหน้าพรรคอากรเมืองที่สมาชิกได้รับเลือกเข้ามานั่งในสภมากที่สุ หรืออาจเป็นหัวหน้าพรรคที่เป็นนำในสภาผุ้แทนราษฎร ทั้งนี้กษัตริย์จะเป็นผู้ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี สำหรับหน้าที่นั้น นอกจากจะเป็นผุ้นำคณะรัฐบาลในการบริหารประทเศแล้ว นายกรัฐมนตรียังสามารภแต่งตั้งบุคคลเช้าดำรงตำแหน่งผุ้บริหารระดับสุงในระบบราชการ นอกจานี้ยังต้องถวายนโยบายการปกครองและการบริหารรัฐให้แก่กาัตริย์ทราบ ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการแต่งตั้งผุ้ิพากษา อธิบิีกรมตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการบริหารสาธารณะ และคณะกรรมการการเลือกตั้งอีกด้วย
คระรัฐมนตรี ถือว่าเป็นหุ่มผุ้กำหนดนโยบายอันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า นายกรัฐมนตรีเองจะเลือกสมาชิกสภาผุ้แทนราษฎรเข้ามาดำรงตำแหน่งดังกล่าวตามกระทรวงต่างๆ ซึ่งจะมีสมาชิกของคณะรัฐมนตรีทั้งหมด 26 คน จาก 24 กระทรวง กระทรวงต่างๆ ทั้ง 24 กระทรวงในระดับสหพันธรัฐจะส่งตัวแทนของตนเข้าไปยู่ประจำรัฐต่างๆ เพราะโครงสร้างการบริหารงานในแต่ละรัฐจะมีกระทรวงที่รองรับดครงสร้างกันอันมาจากการปกครองระดับชาติ ทั้งนี้เพื่อให้ตัวแทนจากสหพันธ์คอยให้คำปรึกษาแนะนำ เป็นสื่อกลางระหว่างรัฐบาลมลรัฐและรัฐบาลแห่งสหพันธ์ การมีโครงสร้้างในการแหบงกระทรวงที่ถอดแบบมาจากส่วนกลางนี้เป็นเครื่องมือในการควบคุมการดำเนินงานให้เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลแห่งสหพันธ์ทางหนึ่ง สำหรับกระทรวงที่ทำหน้าที่ดูแลการปกครองส่วนภูมิภาคและการปกครองส่วนท้องถิ่น คือ กระทรวงมหากไทยและกระทรวงการเคหะและการปกครองส่วนท้องถิ่น
- สภาผุ้แทนราษฎรและวุฒิสภา นับแต่ปี พ.ศ. 2500 เป็นต้นมา อำนาจนิติบัญฐัติชองสหพันธรัฐ ประกอบด้วยกษัตริย์ และ 2 สภาด้วยกันคือ วุฒิสภา และสภาผุ้แทนราษฎร
วุฒิสภา ประกอบขึ้นจากสมาชิก 2 กลุ่มด้วยกัน รวมเป็น 70 คน โดยที่ 26 คนมาจากการเลือกต้้งของสภานิติบัญญัติ 13 รัฐ รัฐละ 2 คน ส่วนอีก 44 คนมาจากการเสอนชื่อโดยนายกรัฐมนตรีเพื่อให้กษัตริย์แต่งตั้งจากบุคคลผุ้มีความรู้ความสามรรถในงานสาขาอาชีพต่างๆ เช่น การค้า อุตสาหกรรม เกษตรกรรม หรืองาน วัฒนธรรม งานด้านสงคมสงเคราห์ หรือผุ้นำชนกลุ่มนอย ซึ่งสมารถดำรงอยู่ในตำปน่งได้วาระละ 6 ปี และมีบทบามในการเป็นตัวแทนให้กับรัฐและ เป็นเครื่องมือสำหรับการปกป้องสิทธิของรัฐต่างๆ ที่อยุ่ในสหพันธ์ุด้วย
สภาผุ้แทนราษฎร ในปัจจุบับสภาผุ้แทนราษฎรมีสมาชิกที่ได้รับการเลือกตั้งโดยตรงมาจากราษฎรในรัฐต่าง โดยมาจากเขชตเลือกต้งแขตละ 1 คน รวม 222 คน สมิชิกสภาผุ้แทนราษฎรนี้จะต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 21 ปี บริบูรณ์ และอยุ่ในตำแหน่งได้คราวลิ 5 ปี
- สถาบันตุลาการ(ในระดับสหพันธรัฐ) เนื่องจากเคยเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ การบริหารงานทางด้านยุติธรรมและรูปแบบของศาลทั้งประเทศจึงอาศัยแบบอย่างของกฎหมายอังกฤษ ยกเว้นแต่ศษอิสลามหรือศาลการศาสนาที่ใช้รูปแบบแตกต่างออกกไป โยรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธรับมาเลเซียเกิดขึ้นโดยการตกลงร่วมกันระหว่างรัฐบาลอังกฤษและบรรดาเจ้าผุ้ครองนครต่างๆ ในมาลาย และได้รับสัตยาบรรณทั้งโดยกฎหมายของรัฐบาลกลางและรัฐบาลรัฐต่างๆ จึงเป็นที่ยอมรับนับถือว่า รัฐธรรมนูญของสหพันธรัฐเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศและรัฐธรรมนูญนี้ก็ได้ตราบทบัญญัติกี่ยวกัยอำนาจทางนิติบัญญัติของรัฐบาลกลางและรัฐบาลของรัฐไว้หลายแระการ เฉพาะที่เกี่ยวกับอำนาจทางตุลาการหรือศาลยุติธรรมซึ่งมาเลเซียมอบห้แก่ศาลระดับต่างๆ
ระดับรัฐ รัฐบาลแห่งรัฐเป็นรัฐบาลท้องถ่ินของรัฐในประทเศมาเลเซียจำนวน 13 รัฐ ทำหน้าที่ปกครองบริหารราชการในรัฐนั้นๆ มีลักษณะเป็นรัฐบาลเล็กๆ 13 รัฐบาลอยฦู่ในประเทศเดียวกัน เพราะมีโครงสร้างเช่นเดี่ยกับรัฐบาลกลาง ที่ประกอบด้วย
- ประมุขแห่งรัฐ คือ เจ้าผุ้ครองรัฐใน 9 รัฐ หรือเรียกอีกชื่อว่า ยัง ดี เปอร์ ตวน เนเกอรี ซึงทรงมีพระอิสระยยศแตกต่างกัน โดยเจ้าผุ้ครองรัฐยะโฮร์ ตรังกานู ปาหัง สลังงอร์ เปอร์ลิส กลันตัง เนกรีซัมบิลัน เคดาห์ และเปรัค มียศเป็น "สุลต่าน" ซึ่งในปัจจุบันพระปรุมขหรือพระราชาของสหพันธณัฐมาเลเซย คื อเจ้าผุ้ครองรัฐเคดาห์มีพระยศเป็น "พระมหากษัตริย์" ส่วนอีก 4 รัฐที่ไม่มีเจ้าปุ้ครองรัฐจะมีข้าหลวง ที่ำด้รับการแต่งตั้งจากรัฐบาลกลางทำหน้าที่เป็นประมุขโดยทำหน้าที่ด้านพิธีการเป็นส่วนมาก
- ฝ่ายบริหาร รัฐบาลแห่งรัฐจะมีมุขมนตรีแห่งรัฐ ในรัฐที่มีเจ้าผุ้ครองรัฐ ส่วนในรัฐที่ไม่มีเจ้าผุ้คีองรัฐจะมีผุ้ว่าการรัฐ โดยแต่งตั้งมาจากสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะผุ้บริหารรัฐ ดูแลด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ ความปลอดภัยสาธารณะ การศึกษา หรือสุขภาพอนามัยของผุ้คนในรัฐ โดยแต่ละรัฐมีอิสระในกรบริหารจากรัฐบาลกลางพอสมควร ยกเว้นด้านการต่างประเทศ การทหาร การเงินและเศรษฐกิจมหภาคที่ยังคงอยุ่ภายใต้การดูแลของรัฐบาลและรัฐบาลแห่งรัฐ
- ฝายนิติบัญญัติ แต่ละรัฐมีสภานิติบัญญัติแห่งรับ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับรัฐสภาในรัฐบาลกลาง หากแต่ในระดับรัฐจะมีเพียงสภาเดียว ประกอบด้วยสมาชิกที่ได้รับการเลือกตั้งจากประชาชน ดดยทำหน้าทีออกกฎหมายท้องถิ่นภายในรัฐมีวาระ 5 ปี
- ฝ่ายตุลาการ (ในระดับรัฐ) งานด้านตุลาการส่วนใหญ่ในประเทศมาเลเซียจะอยุ่ในระดับรัฐ ซึงแต่ละรัฐก็มีสภาบันตุลาการของตนแยกออกเป็น 7 ประเทภทด้วยกัน
การปกครองส่วนภูมิภาค การปกคหรองส่วนภูมิภาคและการปกครองส่วนท้องถิ่นภายในแต่ละรัฐนั้น อยุ่ภายต้การกำกับดูแลของรัฐบาลลรัฐอย่างเต็มที่ ถึงแม้ว่าการปกครองส่วนภูมิภาคและการปกครองส่วนท้องถิ่นจะเป็นเรื่องภายในของแต่ละรัฐที่จะสารถบริหารจัดกรและออกแบบโครงสร้างได้เอง แต่โดยส่วนใหญ่รูปแบบการปกครองส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถภ่ินในแต่ละัฐก็จะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันในภาพรวม
การปกคหรองส่วนภูมิภาคของประเทศมาเลเซียลักษณะการแบ่งโครงสร้างคล้ายกับประเทศไทย โดยการกำหนดให้มีหน่วยการปกครองระดับอำเภอและตำบล จะมีความแตกต่างบ้รางก็ตรงที่บุคคลผุ้มาทำไน้าทีปกครองในหน่วยการปกครอระดับภูมิภาคทั้งในระดับอำเภอและตำบลจากการแต่างตั้งของส่วนกลาง มีฐานะเป็นข้าราชการสังกัดกระทรวงเคนะและการปกครองส่วนท้องถิ่น
จุดเริ่มต้นของการศึกษาการปกครองส่วนท้องถิ่นของมาเลเซียเริ่มจากการปฏิรูปกันอย่งจริงจัง เมื่อปี พ.ศ. 2519 ที่ได้มีการออกกฎหมายที่เกี่ยวกับการปกครองท้องถ่ิน เรียกว่า Local Government Act 124 ในปี พ.ศ. 2519 กฎหมายฉบับนี้นับว่ามีความสำคัญต่อการปกครองส่วนท้องถ่ินของมาเลเซียเป็นอย่างมาก เพราะเป็นกฎหมายที่มีเนื้อหนาปฏิรูปการปกครองท้องถิ่นของมาเลเซียเป็นอย่างมาก เพราะเป็นกฎหมายที่มีเปนื้อหาปฏิรูปการปกครองท้องถ่ินของมาเลเซียอย่างจริงจัว ดดยมีความพยายาทำให้การปกครองท้องถ่ินเป็นของประชาชนในท้องถ่ินมากที่สุด ซึ่งจากเดิมากรปกครองส่วนท้องถิ่นของมาเลเซียอยู่ภายใต้การปกครองโดยรัฐส่วนกลาง โดยที่เจ้าหน้าที่รํบสามารไปดำรงตำแหน่งในระดับท้องถิ่นได้ ซึ่งเป็นไปตามแนวทางการรวมศูนย์อำนาจรัฐที่ต้องการสร้างความเข้มแข็งทางการปกครอง เนื่องจากความหลากหลายของเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่อกาจนำไปสู่ควาขัดแย้งในท้องถ่ินต่างๆ ที่ส่งผลต่อแนวนโยบายในการพยายามสร้างความเป็นหนึ่งเดียวกันของมาเลเซียนับแต่ได้รับเอกราช
อย่างไรก็ตาม การพิจารณาถึงการปกครองส่วนท้องถิ่นของมาเลเซียจำเป็อย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาถึงการปกครองส่วนภูมิภาคควบคู่กันไปด้วย เพราะมาิเลเซียมีลักษณการรบอำนาจเข้าสู่ส่วนกลางและสร้างองค์กรของรัฐให้เข้มแข็งเพ่อเหตุผลดังที่กล่าวมา ดังนั้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นของมาเลเซียจึงไม่ได้เป็นอิสระอย่งแท้จริงและยัง๔ูกควบคุมโดยโครงกสร้างการปกครองของส่วนกลง เทศมนตรีหรือผุ้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็มาจากการแต่างตั้งของ Menteri Besar โดยตรงและโดยปกติชื่อมี่ถูกเสนอขึ้นไปจะมาจากการเสนอของพรรคการเมืองที่ได้รับชัยชนะในรัฐน้้นๆ หากมองในแง่นี้เทศมนตรีหรือผุ้นำในระดับท้องถ่ินเหล่านี้ก็จะไม่มีอิสระในการบริหารเท่ารที่ควร เพราะพวกเขาจะขึ้นตรงต่อผุ้ที่แต่างตั้งเขามาเท่านั้น
ได้มีผู้สรุปคุณลักษณะขงอองค์กรปกครองท้องถ่ินมาเลเวีย ดังนี้
- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีขอบเขตการปกครองที่ชัดเจนตามกฎหมายที่กำหนดให้แต่ละเขตพื้ที่มีอำนาจการปกครองในระดับท้องถ่ินอย่งเท่าเทียมกัน
- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่ ความรัีบผิดชอบในการดและประชาชนในพื้นที่แลพัมรสาผลประดยชน์สาธารณะต่างๆ ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ
- องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินถือเป็นสภาบันหนึงที่เกิดขึ้นตามกฎหมายพิเศษและอยุ่ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐบาลสหพันธรัฐ
- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องดำเนินหน้าที่ตามกฎหมายกำหนด มิเช่นนั้นอาจโดนฟ้องร้องได้ โดยมีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ดำเนินฟ้องร้อง ครอบครองพื้นที่และเซ็นศัญญาเหรือข้อตกลงตางๆ ได้
- องค์การปกครองสวนท้องถิ่นมีอำนาจในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีหน้าที่ตาข้อบัญญัติท้องถ่ิน เช่น มีอำนาจและหน้าที่กำหนดไว้ตามกฎหมายเท่านั้น
- ถึงแม้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจะอยงุ่ภายใต้การกำกับดูแลโดยรัฐบาลสหพันธรัฐ แต่ยังคงมีความเป็นอิสระตามทีบทบัญญัติท้องุ่ินกำหนดอำนาไว้ให้
- ที่มาของตัวแทนที่ทำหน้าที่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมทั้งจากการแต่งตั้งโดยผุ้มีอนำาจสุงสุดหรือรัฐบาลและมาทั้งจากการเลือกโดยประชาชนในพืั้นที่
- ผุ้ปกครองรัฐที่ได้รับเลือกจากรัฐบาลกลางจะทำงานร่วมกับสมาชิกของสภาท้องถิ่น
- บทบาทหน้าที่พื้นฐานที่สำคัญขององครกปกครองส่วนท้องถิ่น คือ การดูแลความสะอากของย้านเมือง การให้บริการต้านสาธารณสุข สุขอนามัย และากรรักษาความปลอดภัย
- อำนาจขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินยังหมายวามรวมถึงการจัดเก็บภาษีและลงโทษสำหรับผู้ไม่เสียภาษี อีกทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังสามารถแต่งตั้งพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้ รวมทั้งมีอำนาจของตนเอง ในการบริหารจัการงลประมาณท้องถ่ินภายในองค์กรได้
โครงสร้างและรูปแบบการปกครองท่้องถิ่น รูปแบบการปกครองส่วนทองถิ่นของมาเลเซียหรือรัฐบาลท้องถิ่น บริหารกิจการท้องถ่ินภายใต้การควบคุมของรัฐบาลแห่งรัฐ มีรูปแบบหลัก ๆ 5 รูปแบบดังนี้
1 สภานคร รัฐบาลท้องถ่ินรูปแบบนี้มีทั้งสิ้น 12 แห่ง คณะกรรมารธิการสภนครมาจากการเลือกตั้ง
2 สภาเทศบาล (นคร) ซึ่งมี 39 แห่งซึ่งรัฐบาลท้องถิ่นและคณะกรรมาธิการของการปกครองรูปแบบนี้มาจากการเลือกตั้ง มัอำนาจสมบูรณ์ทางการเงินการเก็บภาษีและใบอนุญาตต่างๆ
การปกครองท้องถิ่น 2 รูปแบบที่กล่าวมาจะถูกจัดตั้งขึ้นในเขตที่มีความเป็นเมืองสูง จำนวนประชากรมากและความหนาแน่นของประชากรมีสูง มีรายได้เพียงพอต่อการบริหากิจการเเมืองขนาดใหญ่รายได้ส่วนใหญ่มาจากการจัดเก็บภาษีในท้องถ่ิน ส่วนเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเป็นเพียงรายได้เสริม ความแตกต่างระหว่าง Municipal Council กับ City Council ใช้รูปแบบที่แยกฝ่ายบริหารกับสภาออกจากกัน
3 สภาเมือง คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จัดตั้งขึ้นในเขตเมืองใหญ่ๆ ที่มีประชกรมากกวา 5,000 คน แต่ไม่เกิน 100,000 คน มีความสามารถในทางด้านการคลังอยุ่ใระดับปานกลาง รัฐบาลท้องถิ่นรูปแบบนี้มาจากการเลือกตั้ง
4 คณะกรรมการเมือง คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดเล็ก มีหน้าที่คล้ายสภาเมือง แต่สัดส่วนของบทบาทหน้าที่ และการบิหารจัดการจะแคบกว่าคณะกรรมาธิการเมืองจะมาจากการแต่งตั้ง จัดตั้งขึ้นในเขตเมืองที่มีประชกรีมาก่ 5,000 คนขึ้นไป มีรายได้ต่ำรายได้ส่วนใหญ่มาจากเงินอุดหนุนของรัฐบาลแต่ยังามสามารถบริหาจัดการได้
5 สภาท้องถ่ิน หรือสภาอำเภอ คือ งอค์กรปกครองสวนท้องถ่ินที่จัดตั้งขึ้ในเขต อำเภอจำนวน 98 แห่งซึ่งจัดตั้งขึ้นในเขตพี้ทีชนบทที่มีรายได้ต่ำ ประชากรน้อย ประชากรส่วนใหญ่อยุ่ในเขตชนบทและทำอาชีพเกษตรกรรม นับเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีขนาดเล็กที่สุดรูปแบบหนึ่งขององค์กรปครองส่วนท้องถิุ่นในมาเลเซีย (คล้ายกับองค์การบริหารส่วยตำบรลของไทย)และมักจะตั้งทัซ้อนอยู่กับการปกครองระดับตำบลและหมู่บ้าน มีรูปแบบบ่อย ดังนี้สภาชนบท, คณะกรรมการหมู่บ้าน ,สภาชนบทประจำอำเภอ, สภาอำเภอ, คณะกรรมการชนบท คือ องคกรปกครองส่วนท้องถ่ินในเขตชนบทที่มีขนาดพื้ที่ใหญ่และมักจะตั้งทับซ้อนอยู่กับการปกครองในระดับอำเภท มีพื้นที่ครอบคลุมทั้งอำเภอ ยกเว้นส่วนที่เป้นการปกครองส่่วนท้องถิ่นในรูปแบบอื่น)
การเลือกตั้งระดับท้องถ่ินในยุคหนึ่งได้ถูกยกเลิกไปจากเหตุความขัดแย้งรุนแรงเรื่องเชื้อชาติที่เกิดขึ้นในการเลือกตั้งท้องถ่ิน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2508 โดยมีการแก้ไขปรับปรงุพระราชยัญญัติการปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2508 โดยมีการแก้ไขปรัฐปรุงพระราชบัฐฐัติการปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2519 ที่กำหนดให้สภาท้องถิ่นมาจากการแต่งตั้งในหมาดที่ 15 สภาท้องถิ่นถูกแต่งตั้งโดยรัฐบาลมลรัฐ การยกเลิกการเลือกตั้งท้องถ่ินเป็นไปตามประกาศกฎหมายสองฉบับ ได้แก่การปกระกาศภาวะฉุกเฉิน และประกาศภาวะฉุกเฉินแก้ไขเพิ่มเติม ที่สงผลใหประชาชนในระดับท้องถ่ินไม่ได้มีประสบการณ์ในการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น สำหรับรัฐซาบลาร์และซาราวักรวมถึงรัฐตามที่ก"มกายกำหนดไม่มีการกำหนดการเลือกตั้ง มลรัฐแต่ละมลรัฐรวมถึงการปกครองกรุงกัวลาลัมเปอร์จะถูกบริหารปกครองโดยตรงภายใต้อำนาจของกระทรวงอาณาเขตของสหพันธ์ ถึงแม้ว่าประเทศมาเลเซียได้เรียนรู้ระบบการปกครองท้องถิ่นจากประเทศเจ้าอารานิคมอังกฤษก็ตาม แต่แน่นอนว่าบริบททางสังคมและเชื้อชาติ ศาสนาที่ส่งผลโดยตรงต่อระบบการเมืองภายในของมาเลิซีย ที่มีผลให้ไม่ประสบความสำเร็จในการกระจายอำนาจไปสู่ส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
การปกครองส่วนท้องถิ่นของมาเลเซียจึงไม่เหมือกับรูปแบบการปกครองส่วนท้องถ่ินของประเทศไทยนักที่มีหน่วยงการปกครองส่วนท้องถิ่นตั้งแต่ระดับจังหวัด เทศบาล ตำแบล ในรูปแบบขององค์การบริหารส่วนจังหงีก เทศบาลนคร เมือง และตำบล และงอค์การบริหารส่วนตำบลที่มีการต่อสู้ทางการเมือง มีพรรคการเมืองชัดเจน และมีการจัดการเลือกตั้บงี่ได้รับเลือกมาจากประชาชนโดยตรง ในขณะที่ประเทศมาเลเซียมีระดับในการปกครองส่วนท้องถ่ินที่แยกหว้าง ๆ ได้ 2 ระดับ คือสภาะชนบท และสภาท้องถิ่น ที่ม่บทบาทหน้าทีเหมือนกับสภาเทศบาลและสภาเมืองใหย๋ เพียงแต่ต่างกันที่บริบทของภูมิศาสตร์และพื้นทีในกาควบคุมดูแล
สภาเทศบาลสามารถยกฐานะไปเป็นสภาเมืองใหย๋ได้หากเข้าเงื่อขปตามที่กฎหมายกำหนด สภาเมืองใหญ่ปกครองโดยยายกสภาเมือง ในขณะที่สภาเทบาลปกครองโดยประธารสภาเทศบาลรัฐบาลแห่งรัฐแต่งตั้งนายกสภาเทศบาล รัฐบาลแห่งรัฐแต่งตั้งนายกสภาเทองและปรธานสภาเทศบาล รวมถึงสมาชิกสภาทั้งหมก โดยมีวาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี และสามารถได้รับการแต่งตั้งซ้ำอีกได้ หากมาองที่มาของผุ้บริหารปกครองระดับภูมิภาคท้องถ่ินจะเห็นว่าเป็นการยึดสายโครงสร้าง การปกครองที่ขึ้นกับส่วนกลาง แต่ประเทศมาเลเซียก็กรนะจายอำนาจให้เฉพาะในส่วนของภารกิจหน้าที่ให้กับอน่วยการปกครองทั้งระดับภูมิภาคและท้องถิ่น อำนาจทางนิติบัญฐักติของการปกครองทั้งในระดับ สภาเมืองใหญ่ สภาเทศบาล และระดับอำเภอ อยู่ที่ผู้บริหาสูงสุดที่ได้รับการแต่งตั้ง ซึ่งอาจเป็นหารแต่งตั้งเต็มเวลาหรือชั่วคราว ซึ่งรัฐบาลแห่งรัฐเป็นผุ้กำหนดคำตอบแทนให้
-"ระบบการปกครองท้องถิ่นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน: สหพันธรัฐมาเลเซีย", ดร. ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์, วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สภาบันพระปกเกล้า, 2556.
วันศุกร์ที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2560
Local government in Thailand
การเมืองไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2540 ถึงปัจจุบันเป้นช่วงเวลาที่มีความผันผวนมากที่สุดยุคหนึ่งที่ส่งผลต่อการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถ่ินทังในด้านพัฒนาและด้านอุปสรรค เพราะเมืองมีการประกาศใช้รัฐธรรม พ.ศ. 2540 และการเข้ามาบริหารประทศของ พ.ต.ท. ทักษษิณ ชินวัตร ที่เป็นนายกรัฐมนตรีชวง พ.ศ. 2544-2549 ซึ่งในช่วงเวลากรบริาหปรเทศของเขาได้สร้างความเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านการกระจายอำนาจในมิติตหนึ่งและด้านการกรชับอำนาจเข้าสู่ส่วนกลางในอีกมิติตหึงซึงเกิดจากกความมุ่งหมายของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และภาวะผู้นำที่เข้มแข็ง ก่อนที่รัฐบาลทักษิณ จะถูกทำรัฐประหาร ในปี พ.ศ. 2549 ซึ่งต่อมามีการยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ในด้านการกระจายอำนาจและกาเพิ่มบทบาทการมีส่วนร่วมของประชาชน แต่รัฐธรรมนูญฉบับนั้ก็มีหลายมิติที่มีลักษณะการเนิ้นระบบตรวจสอบ การไม่ไว้วางใจในนัการเมือง และการเพ่ิมอำนาจแก่วุฒิสภากับองค์กรอิสระที่ไม่ได้ยึดโยงกับประชาชน
ภายใต้สถานะการณ์ทางการเมืองทีผันผวนและความแตกแยกของประชาชนที่เรื้อรังมาต้งแต่ก่อนการทำรัฐประหารใน พ.ศ. 2549 มีการเลือกตังและโค่นล้มรัฐบาลหลายครั้ง รวมถึงเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองทั้งใร พ.ศ. 2552, พ.ศ. 2553 และพ.ศ. 2556-2557 ได้ทให้ประเด็นการผลักดันเก่ยวกับการกระจายอำนาจถูกหยิบบกขึ้นเป้นประเด็นทางนโยบายสาธารณะที่มีกรผลักดันอย่างจิรงจังและเป็นทั้งวาทกรรมทางการเมือง รวมถึงมีข้อเนิทางวิชาการในการอธิบายปรากฎการณ์เปลี่ยนแปลงในชนบทที่ได้รับอิทธิพลจากกลไกใหม่ๆ ในการกระจายอำนาจและการมี่วนร่วมของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 กับรัฐธรมนูญ พ.ศ. 2550 และปรากฎการณ์การเปลียนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจที่ทำให้สภาพการณ์ทางสังคมการเมืองไทยในยุคปัจจุบันเป็นการขยับขยายและเปลี่ยนผ่านจากการเมืองแบบรวมศูนย์ในระบบราชการและระบบการเมืองแบบรัฐสภาของส่วนกลางแบบเดิม มาสู่การเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนที่ถุกขยายแลดึงเข้ามาอย่งกวางขวาง ทั้งผ่านกลำกที่เป็นทางการแลเผ่ารการวมกลุ่มทางการเมืองซึ่งมาเห็ฯได้อย่างเด่นชัดเมือเกิดวิกฤตการณ์ทางการเมืองที่ผ่านมา
อย่างไรก็ตามจากความรุนแรงทางการเมือภายหลังการเสนอร่างพระราชบัญญัตินิรโทษำรรมในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 จนเป็นชนวนที่นำมาซึ่งการประท้วงและความรุนแรงทางการเมือง ซึ่งปรากฎหการณ์ความรถนเรงนี้มาจาการแตกขัวยทางการเมืองและความคิดของฝ่ายที่สนับสนุนรัฐบาลและผ่ายที่คัดค้านรัฐบาลที่ยาวนานและมิได้มีสาเหตุจาการผลักดันร่างพระาชบัญญัตินิรโทษกรรมเพียงอย่างเดียว แต่เป็นปมคามตึงเครียดทางการเมืองและสังคมที่แตกแยกในระดับมูลฐานของบรรทัดฐานและทิศทางในการกไหนดสังคมการเมืองไทยทั้งในมิติศีลธรรมพลเมืองรุปแบบการปกครอง/รูปแบบรัฐ ความไม่เท่าเที่ยมทางสังคม หลักนิติรัฐความน่าเชื่อถือต่อสถาบันทางการเมืองทั้งฝ่ายนิติบัญญํติ บริหา และตุลาการ บทบาทของระบบราชการและกองทัพ ปัญหาของสื่อสารมวลชน รวมไปถึงการจัดารกและการอยู่ร่วมกันของผุ้ที่เข้ามามีส่วนร่วมทางการเมือบที่แตกแยกกันออกเป็นหลายฝ่าย ซึ่งความตึงเครียดนีได้นำมาซึ่งการรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษ๓าคม พงศ. 2557 โดย พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผุ้บัญชาการกองทัพบกและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) การเข้ามามีบทบาทนำเื่อกำหนดทิศทางของประเทศโดยรัฐราชการอีกครั้งภายใต้บริบททางการเมืองที่กลุ่มพลังทางสังคมนอกภาครัฐถูกกันออกจากระบบการเมืองและมีความแตกแยกระหว่างประธานกลุ่มต่างๆ มี่สนับสนุนและคัดค้านการรัฐประหารครั้งนี้ ซึคงภายหลังการรัฐประหารครั้งนี้ได้ส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อการปกครองท้องถิ่นและการกระจายอำนาจดังจะกล่าวถัดไปโดยลักษณะสำคัญของการกระจายอำนาจช่วง พงศ.2540-ปัจจุบันแบ่งการอธิบายออกเป็ฯ 33 ช่วงเวลาดังนี้
การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถ่ิน พ.ศ. 2540-2549 การกระจายอำนาจที่ไม่ได้ไปพร้อมกับการปฏิรูประบบราชการ ในด้านการกระจายอำนาจช่วง พ.ศ. 2540-2549 นับตั้งแต่กระแสของการปฏิรูปการเมืองช่วงทศวรรษที่ 2530 ได้นำไปสู่การรางรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณจักรไทย พ.ศ. 2540 ถือได้ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญที่สุดของการปกครองท้องถ่ินไทยเนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้บรรจุเนื้อหาด้านการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถ่ินอย่างเป็นทางการ เลปการประกาศใช้พระราชบัญญัติกำหนดและแผนขขั้นตอนการกระจายอำนาจแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน พงศ. 2542 ที่เป็นปัจจัยเร่งให้เกิดการแรับเปลี่ยนโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างระบบบริหาราชการส่วนกลางและส่วนภูิมภาคกับองค์กรปคกรองส่วนท้องถิ่น จนส่งผลต่อสภาพการณ์โดยรวมของท้องถ่ินและการเมืองการปกครองระดับชาติ และทำให้การกระจายอำนาจถูกกำหนดให้เป็นกระบวนการถาวรที่ฝ่ยการเมืองและฝ่ายขาราชการประจำไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ จนทำให้มีกาตราและแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการปกครองท้องถ่ินจำนวนมาก เช่น กฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถ่น กฎหมายที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถ่ิน กฎหมายว่าด้วยการออกเสียงประชามติ เป็นต้น
อย่างไรก็ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ก็มีมิติทีสรางความเข้มแข็งและเอื้อต่อการกระชับอำนาจของระบบราชการ่วนกลางเพราะเป็ฯรัฐธรรมนูญที่ออกเเบบให้มีรัฐบาลที่เข้มแข็ง ในการกุมอำนาจได้ค่อยข้างเด็ดขาดและแก้ไขปัญหาการขาดเสถียรภาพทางการเมืองจากกลุ่มการเมืองภายในพรรคและพรรคร่วมรัฐบาลเช่น การอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีที่ทำได้ยากขึ้นกำหนดใหสมาชิกสภาผุ้แทนราษฎรที่จะดำรงตำแหน่งนรัฐมนตรีต้องลาออกจากการเป็น ส.ส. ก่อน ทไใ้รัฐมนตรีต้องระวังไม่ให้มีความขัดแย้งกับนายกฯ เพราะเกรงว่าจะถูกปลดจากตำแหน่งและไม่สามารถกลับไปเป็น สส.ได้อีก เป็นต้น ทำให้รับบาลกลางมีเสถียรภาพและความมั่นคงในการริเร่ิมนโยบายของตนมากว่าในอดีต
นอกจากนี้มีแนวโน้มการกระชับอำนาจของระบบราชการผ่านการปฏิรูประบบราชการเพื่อแก้ไขปัฐหาโครงสร้างที่ใหญ่โตของระบบราชการส่วนกลางที่มีหน่วยงานในระดบกระทรวง ทบวง กรม เป้นจำนวนมาก มีการทำงานและภารกิจที่ซ้ำซ้อนหรือไม่สอดคล้งกับสภาวการณ์ปัจจุบัน มีสานการบังคับบญชาหลายขั้นตอนที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน ปัญหาการทุจริตและการห้ผลประโยชน์โดยเจ้าหน้าที่รัฐ โดยประกาศใช้พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 แต่การปฏิรูปครั้งนี้กลับขยายโครงสร้างของระบบราชการให้มีหน่วยงานมากขึ้น มีจำนวนบุคลากรของหน่วยงานราชการส่วนกลางเพ่ิมขึ้นจาก 968,400 คน ในปี 2545 เปผ้น1,275,350 คน ในพ.ศ. 2550 และเป็นการปฏิรูประบบราชการที่ไม่ได้ให้ความสำคัญต่อการกระจายอำนาจในฐาน "ส่วนหนึ่งของการปฏิรูป" เนื่ื่องจาก "...เพื่อปรับโครงสร้างและแบ่งส่วนราชการใหม่จาก 14 กระทรวง 1 ทบวง 126 กรม มาเป็น 20 กระทรวง กับอีก 143 กรม โดยมีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) เป้นหน่วยงานขับเคลื่อนการปฏิรูประบบราชการ และมีการออกกฎหมาย ระเบียบ และแผนงานที่เกี่ยวข้องเพื่อรองรับการปฏิรูประบบราชการ อย่างไรก็ดีการปฏิรุประบบราชการกลับเป็นอุปสรรคของการกระจายอำนาจและไม่ได้ให้น้ำหนักต่อการกระจายอำนาจให้เป็นเรื่องที่ต้องเคียงคู่หรือทำไปพร้มกับการปฏิรุประบบารชการเช่น ในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ก็มิได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนด้านการกรจายอำาจให้เป็นยุทธศาสตร์หลักแต่อย่างใด จนทำให้ระบบราชการส่วนกลางและส่งนภูมิภาคยังขยานตัวทั้งในเชิงโครงสร้างแลการบริาหรงานบุคคลเพราะจำนวนของหน่ยงานและตำแหน่งของข้าราชการรดับสูงที่เป้ฯผุ้บริหารหน่วยงานเพิ่มขึ้น"
นอกจากนี้การบริหารงานในยุคของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ยังได้ดำเนินนโยบายการบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการเหรือ "นโยบายผู้ว่าฯ CEO " เพื่อปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานของจังหวัดจากเดิมที่ขาดประสิทธภาพ ล่าช้า และไม่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนจากความไม่เป็นเอกภาพในการบริาหราชการส่วนภูมิภาคโดยการออกเระเบียบสำนักนากยกรัฐมนตรีวาด้วยระบบบริหาราชการจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2546 จึงทำให้การบริหารราชการส่วนภูมิภาคมีความเข้มแข็งและอยู่ภายใต้การควบคุมสั่งการของราชการส่วนกลางมากขึ้น
การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น พ.ศ. 2550-2557 ข้อเสนอที่หลากหลายของการกระจายอำนาจ ภายหลังการรัฐประหารในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 จนมีการยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และมีการร่างและประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ซึ่งยังคงสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 แต่ได้ปรับปรุงเนื้อหาสาระให้มีความชัดเจนมากขึ้น แต่นี้ก็มีการออกกฎหมายที่เอื้อต่อการกระชับอำนาจของส่วนกลางเช่น การกำหนดให้ผู้ใหญ่บ้านที่ได้รับการเลือกตั้งสามารถอยู่ใตำแหน่งอย่างไม่มีวาระจนผู้ใหญ่บ้านอายุครบ 60 ปี เป็นต้น แต่ความน่าสนใจในยุคนี้คือข้อเสนอเกี่ยวกับการกระจายอำนาตเร่ิมมีความหลากหลายมากขึ้น เช่น
- ข้อเสนอการปฏิรูปโครงสร้างอำนาจโดยคณะกรรมการปฏิรูป (คปร.) ข้อเสนอการปฏิรูปประเทศไทยที่จัดทำโดยคณะกรรมการปฏิรูปทีได้รับการแต่งตั้งดดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีใน พ.ศ. 2553 แล้วได้จัดทำหนังสือแนวทางการปฏิรุปประเทศไทย ข้อเสนอต่อพรรคการเมืองและผู้มีสิทธิเลือกตั้งใน พ.ศ.2554 โดยในส่วนของข้อเสนอการปฏิรูปโครงสร้างอำนาจ ฉบับสมบูรณ์ ได้เสนอเกี่ยกับการกระจายอำนาจว่าเป็นส่ิงที่ควรทำเพื่อแก้ไขความเหลื่อมล้ำของความสัมพันธ์ทางอำนาจเพราะปัญหาความเหลื่อมล้ำในความสัมพันธ์ทางอำนาจที่ถูกค้ำจุนโดยโครงสร้างทั้งที่เป้ฯทางการและไม่เป็นทางการ ซึงโครงสร้างของรัฐถือเป็นโครงสร้างอำนาจที่มีความสำคัญซึ่งต้องอาศัยการปฏิรูปแการจัดระเบียบกลไกของรับใหม่เพราะรัฐมักมีการรวมศูนย์และกระจุกตัวของอำนาจที่ศูนย์กลางจนสร้างความไม่พอใจในการกระจุกตัวของำนาจจากประชาชนและความเฉี่ยอชาในทางการเมือง รวมถึงการเพิกเฉยข้อเรียกร้องของท้องถ่ินในทุกด้าน ซึงรายงานชิ้นนี้เสนอว่าการกระจายอำนาจจากส่วนกลางสู่ท้องถ่ินไม่ใช่แค่การถ่ายโอนอำนาจจากองค์กรปกครองขนาดใหญ่สู่องค์กรปกครองที่เล็กกว่า ซึ่งจะเป็นเพียงแค่เปลี่ยนการรวมศูนย์อำนาจจากศูนย์กลางไปยังท้องถิ่นต่างๆ แต่ต้องดำเนินควบคู่ไปกับการลดอำนาจรัฐและเพิ่มอำนาจให้กับประชาชนเพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นสามารถจักการชวิตของตนเองและชุมชนได้มากขึ้น
- ข้อเสนอการตั้งจังหวัปกครองตนเองโดยคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.) คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย ที่ได้เสนอ "ร่างพระราชบัญญัติการบริาหรจังหวัปกครองตนเอง พ.ศ...." เพื่อยุบเลิกการปกครองส่วนภูมิภาคในระดับจังหวัดลงและให้มีการเลือกตั้งผุ้ว่าการจังหวัดแทน โดยใร่างพระราชบัญญัติกำหนดให้มีกาตั้งจังหวัดปกครองตนเองที่มีสถานะเป็นนิติบุคคลและถือเป็นราชการบริหารส่วนท้องถ่ินแทนที่จะเป็นราชกาบริหารส่วนภูมิภาคเดิมโดยการจัดตั้งจังหวัดปกครองตอนเองนั้นดำเนินการโดยให้ใช้พระราชกฤาฎีกาจัดตั้งจังหวัดปกครองตอนเงอและผลของพระราชกฤษฎีกานี้ให้มีผลยกเลิกกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งจังหวัดนั้น โดยในจังหวัดปกครองตนเองจะมีโครงสร้างภายใน 2 ระดับคือ องคกรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับบน ได้แก่ จังหวัดปกครองตนเอง มีเขตพื้อนที่การปกครองครอบคลุมทั้งจังหวัและ องค์การปกครองส่วนท้อถงิ่นระดับล่าง ได้แก่ เทศบาลและองค์กาบริหารส่วนตำบลมีเขตพื้นที่การปกครองบางส่วนของจังหวัด โดยทั้งสองระดับจะมีสภาพลเมืองที่จัดตั้งในจังหวัดปกครองตนเอง เทศลาลและองค์การบริหารส่วนตำบล
- ข้อเสนอการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบพิเศษ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีอยู่เดิม โดยรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 กำหนดให้รัฐต้องพัฒนาจังหฝัที่มีความพร้อมให้เป็ฯองคกรปกครองส่วนท้องถิ่นรุปแบบพิเศษขนาดใหญ่โดยคำนึงถึงเจตนารมณ์ของประชาชนในจังหวัดและกำหนดให้สามารถจัตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษให้กระทำได้ตามกฎหมายบัญญัติ โดยที่คณะผุ้บริหารท้องถิ่นหรือผุ้บิหารท้องถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้งโดยปัจจุบับนมีเมืองที่เสนอร่างกฎหมายที่เพื่อยกระดับเป็นเมืองพิเศษ ตัวอย่างเช่น แม่สอด สมุย และแหลมฉบัง ดดยเฉพาะแม่สอดนั้นได้มีการผลักดันใหจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรุปแบบพิเศษ "นครแม่สอด" จังหวัดตากโดยเสนอร่าง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ...อย่างเป็นรูปธรรม
แนวโน้มการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นพ.ศ. 2557 การรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ทำให้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ถูกยเลิก ทำให้เกิดการปลี่ยนแปลงของการปกครองท้องถิ่นที่มีแนวโน้มการกระชับอำนาจการปกครองท้ถงิุ่นสู่ส่วนกลางในรูปของประกาศจากคณะรัฐประหารเป็นครั้งแรกในรอบ 40 ปีนับตั้งแต่ประกาศคณะปฏิวัติ..ที่แกไขปรับุรงองค์การบริหารส่วนตำบลและการก่อตั้งกรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2515
จากประกาศคณะรักษาความสวบแห่งชาติฉบับ..กำหนดให้สมาชิกาภท้องถ่ินของทั้งองค์การบริหารส่วยตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลและกรุงเทพมหานครที่ครบวาระหรือพ้นจากตำแหน่งในช่วงเวลานี้ให้งดการจัดให้มีการเลือกตั้งสามาชิกสภาท้องถ่ินหรือผุ้บิริหารท้องถ่ินจนกว่าจะมีประกาศเปลี่ยแปลง โดยให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผุ้บริหารท้องถิ่นจนกว่าจะมีประกาศเปลี่ยนแปลง โดยให้มีการคัดเลือกบุคคลที่เข้ามาเป็นสมาชิกสภาท้องถ่ินโดยคณะกรรมการสรรหาที่ประกอบด้วยข้าราชการที่มาคัดเลือผุ้ที่จะมาดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถ่นโดยผุ้ที่จะมาเป็นสมชิกสภาท้องถิ่นอย่างน้อยต้องมาจากผู้ที่เป็นข้าราชการหรืออดีตข้อาราชการที่มีตำแหน่งตั้งแต่ระดับชำนาญการพิเศษหรือเที่ยบเท่าขึ้นไป ส่วนตำปหน่ผู้บริหารท้องถ่ินที่ว่างอูนันกำหนดให้ปลัดองค์กรปกครองส่ท้องถ่ินปฏิบัติหน้าที่นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึงทำให้ในแต่ละจังหวัดจึงมีการตั้งคณะกรรมการสรรหาผู้ที่มาเป็ฯสมาชิกสภาท้องถิ่นขึ้นมาทดแทน โดยตั้งแต่เพือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม ใน พ.ศ. 2557 จะมีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่ครบวาระและกำลังจะครบวาระหทั้งหมด 225 แห่ง
ผลลัพธ์ที่หลากหลายของการกระจานอำนาจนับตั้งแต่ทศวรรษที่ 2540 -ปัจจุบันก็เร่ิมีงานศึกษเพื่อประเมินสถานการณ์พัฒนาการของการปกครองท้องถิ่นไทยและผลลัพธ์ของการกระจายอำนาจึ่งมีคำตอบแตกต่างกันทั้งในเชิงบวกและเชิงลบ โดยการกระจายอาจในช่วงเร่ิมต้นยังมีอุปสรรคและปัญหาในการปฏิบัติงานอของค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามที่ได้รับมอบหมายทั้งในด้านประสิทธิภาพและการมีประสิทธิผลตรวตามเวลา จากากรประเมินโดยธนาคารโลกในเดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 ภายหลังที่มีการประกาศใช้พระราชยัญญัติกำหนดแผนและขึ้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พงศ. 2542 พบว่า
- การบริหารจัการข้อมูลด้านการกระจายอำนาจ พบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินไม่ได้รับทราบข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับแผนปฏิบัติการการกระจายอำนาจที่เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ตน
- การประหยัดเชิงขนาดในการปกครองส่วนท้อบงถิ่น พบว่างค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีขนาดเล็กแทบไม่มีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติตามหน้าทที่ที่ได้รับมอบหมายได้อถูกต้องประหยัด และมีประสิทธิภาพ
- ข้อจำกัดของกฎข้อบังคัย พบว่าหน่วยงานส่วนใหญ่ถูกจำกัดด้วยกฎระเบียบต่างๆ ดดยเฉพาะการจัดหารายได้การใช้เงินอุดหนุน และการจัดทำงลประมาณ
- นโยบายด้ารบุคลากร พบว่าบุคลากรของภาีรัฐไม่มีแรงสนับสนุนที่ดีพอในการจูงใจให้เจ้าหน้าที่จากส่วนกลางโอนย้ายไปทำงานในหน่วยราชการส่วนท้องถ่ิน
- กลยุทธ์การอบรมด้านการกระจายอำนาจ พบว่าในสถานศึกษามีการเปิดสอนหลักสูตรอบรมเกี่ยวกับการกรจายอำนาจแต่ไม่มแนวทางการอบรมหรือแผนแม่บทการอบรมเกี่ยวกับการเพ่ิมประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
- สิ่งจำเป็นเร่งด่วนสำหรับการฝึกอบรม พบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้องได้รับการอบรมด้านการคลังท้องถ่ินอย่างเร่งด่วน เช่น การวางแผนทางการเงิน การจัดทำงบประมาณ การบัญชี การจัดทำรายงานทางการเงิน และรายงานการบริหารสินทรัพย์
- การเพ่ิมศักยภาพให้กับหน่วยงาน พบว่าสำนักงานคณะกรรมการการกระจยอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้รับวบประมาณน้อยมาก ในขณะที่สันนิบาตเทศาลแห่งประทเศไทยยังไม่มีความชัดเจนในการเป็นอิสระจากกรมการปกครอง
- ความช่วยเหลือทางด้านวิชาการสำหรับงานจัดการเพ่ิมขีดความสามารถที่สำคัญ บพบว่าหน่วยงานที่มีความพร้อมนั้นังขาดแคลนเครื่องไม่เครื่องมือที่จำเป็นต่อการฝึกอบรม
- การกระจายอำนาจในส่วนของกรุงเทพมหานคร พบว่างานส่วนใหญ่ยังอิงกับระบบราชการเช่น หน้าที่ความรับผิดชอบการดำเนิงสน นโยบายด้านบุคคล การจัดสรรทรัพยากร ฯลฯ
ส่วนมิติด้านประชาธิปไตยจากการประเมินจากหลายพื้นที่พบว่าวัฒนธรรมการทำงานอขงรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังทำงานแบบระบบราชการและเน้นด้านกฎระเบียบมากกว่าผลงาน ยังเน้นให้ประชานต้องเชื่อฟังหรอปฏิบัติตาม มากว่าการทำงานแบบรับผิดชอบร่วมกันที่อยู่บนฐานของความเสมอภาค ซึ่งเป็นปัจจัยหลักอย่างอนึ่งที่ขัดขวางขบวนการประชาสังคมและประชาธิปไตยชุมชน
ในทางกลับกันงานศึกษาบางข้ินได้ให้ภาพการเปี่ยนแปลงในเชิงบวกของการกระจายอำนาจ ดที่ได้ประเมินผลการกระจายอำนาจใน พ.ศ. 2556 ที่ให้ความสำคัญในด้านประสิทธิภาพการบริหารงานของท้องถิ่นหลังการกระจายอำนาจพบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดบริหารที่หลากหลายซึ่งไม่เคยมีหน่วยงานราชการ นอกจากนี้ท้องถิ่นให้ความสำคัญกับระบบการศึกษาโดยทุ่มเททรัพยากรไปกับการพัฒนาบุคลากร จัดการศึกษาภาษาต่างประเทศ หรอืการศึกษาหลักสูตรท้องถิ่นที่ผ่านการมีส่วร่วมของประชาชน ทำให้เมื่อมีการเปรียบเทียบผลสัมฟทธิ์ทางการศึกษาของโรงเรียนระับท้องถ่ิน พบหลายวิชาสูงกว่าปลการทดสอบทองการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (โอเน็ต) ในจังหัด นอกจากนี้เมื่อสำรวจถึงความพึงพอใจของประชานต่องอค์กาปกครองส่นท้องถิ่นพบว่าประชาชนให้ความพึงอพใจต่อการบริหารสาธารณะในด้านการศึกษาพอใจร้อยละ 63 ด้านสาธารณสุขร้อยละ 68.4 ด้านสิ่งแวดล้อมร้อยละ 61.6 และด้านโครงสร้างพื้นฐานประชาชนพอใจร้อยละ 62.9-69.4 และประชาชนร้อยละ 75 เห็นว่าไม่ควรมีกายุบเลิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพราะมีประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
นอกจากนี้ในแง่มุมของประชาธอปไตยในระดับท้องถิ่นกลับมองว่าการกระจายอำนาจและการลงหลักปักฐานของสถาบันทางการเมืองทั้งในระดับชาิตและท้องถ่ินตั้งแต่การประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 5240 ทำใหเกิดการสร้างแรงจูงใจให้นักการเมืองตอบสนองความต้องการของผุ้ออกเสียงเลือกตั้งมากขึ้น นอกจากนี้ความเปลี่นแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจตังแต่ทศวรรษที่ 2530 ทำให้ความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ในแนวดิ่งกลับลดบทบาทลงและกลับเร่ิมมีปฏิสัมพันะ์ระหว่งกันของคนที่เท่าเที่ยมใรู)แบบแนวนอนมากขึ้น นอกจากนี้การกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินผ่านการเลือกตั้งทางตรงใรระดับ อบต.และเทศบาล ที่มีความใกล้ชิดกับประชาชนได้สร้างความใกล้ิดทั้งในเชิงกายภาพ ปฏิสัมพันะ์ทางสังคม และความรับผิดชอในอำนาจหน้าที่ที่อปท. ได้รับมอหมายและส่งผลต่อผุ้มีสิทธิเลือกตั้งในพื้นที่ ได้ส่งผลต่อวิถีชีวิตของประชาชนในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้การพิจารณาลงคะแนนเสียงให้กับผุ้บริหารอปท. ก็อาศัยปัจจัยเชิงศักยภาพ ความสามารถ และครือข่ายของผุ้สมัครมากขึ้นในการดึงทรัพยากรมาสู่พื้นที่ "...เนื่องจากงบประมาณเกือบ 40% ของ อปท.มาจากการอุดหนุนของรัฐส่วนกลางโดยตรง ในขณะที่เกณฑ์การจัดสรรวบอุดหนุนหลายประเภทให้แก่ อปท. แต่ละแห่งนั้น เปิดโอกาสให้ผุ้มีอำนาจในส่วนกลางใช้ดุลพินิจได้กว้างขวาทำให้อปท.ต้อง "วิ่งงบ"กับส่วนกลางเพื่อให้ได้รับการจัดสรรมากที่สุดจึงหล่าววได้ว่าชาวบ้านใช้เครื่องมือการเลือกตั้งระับ้องถิ่นในการต่อราองเพื่อดึงทรัพยากรจากรัฐส่วนกลาง"
เช่นเดี่ยวกับงานของนักมานุษยวิทยาอย่างแคเธอรีน เบาว์วี (2555) "..ผุ้มีส่วนร่วใรการเมืองการเลือกตั้งอย่างเท่าทัน ชาวบ้านตำบลทุ่งนาตระหนักถึงโอกาสใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นภายมต้การปฏิรูปกฎมหายในปี 2535 และ 2537 พวกเขาผนกรวมทั้งกฎหมายใหม่ที่เป็นประชาธิปไตย กฎหมายเก่าสมัยศักดินาขนบะรรมเนียมแบบเดิม พิธีกรรมที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นใหม่นัการเมืองภายนอก เจ้าหน้าที่อำเภอ และครือข่ายองค์การพัฒนเอกชนให้เป็นประโยชน์แก่การรณรงค์หาเสียงของพวกเขาในกระบวนการนี้ ทัศนะประชาธิปไตยที่าดหวังว่าผุ้สมัครควรได้รับการคุ้มครองสิทธิในการหาเสียงปะทะกบกฎหมายเก่าในยุคศักดินาที่สร้างความหมายเชิงวัฒนธรรมให้ตำแหน่งผุ้ใหญ่บ้านว่า เป็น "เจ้าของ" หมู่บ้าน"
จะเห็นได้ว่า งานศึกษาต่างๆ ที่ประเมินผลลัพธ์ของการกระจายอำนาจทั้งในด้านประสทิธิภาพและการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นกลับให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างแลหลากหลายก็จริงแต่แนวโน้มในปัจจุบนกลับพบว่าผลลัพธ์การกระจายอำนาจมีทิศทางที่ดีขึ้นตามลำดับ แม้ปัญหาและความท้าทาสำคัญที่มีมาตั้งแต่เร่ิมีการกระจายอำนาจใน พ.ศ. 2540 จะมีอยู่ก็ตาม
การวางโครงสร้างและกระบวนการกระจายอำนาจนั้น รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2550 มาตรา..กำหนดให้มีกฎหมายกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ จึงมีการตราพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2542 โดยหมวด กำหนดให้ตั้งคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีลักาณะไตรภาคี คือ ผู้แทนส่วนราชการที่เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและผุ้ทรงคุณวุฒิ เพื่อจัดทำแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและแผนปฏิบัติการกำหนดขึ้นจตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ร.บ. ฉบับรี้ได้กำหนดโครงสร้งและกระบวนการการกระจายอำนาจกลำกเพื่อสนับสนุนกระบวนการการกระจายอำนาจให้เป็นกระบวนการที่เป็ฯทางการและมีสภาพบังคับในทางกฎหมายเป็นครั้งแรก อย่างไรก็ตามการปฏิบัติงานของคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ก็ยังมีข้อบกพร่องอยู่โดยศุภสวัสดิ์ ชัชวาล (2555) เห็นว่าเมื่อพิจารณาจากองค์ประกอบของคณะกรรมการฯ ซึงเป็นพื้นที่การต่อรองและผลักดันทิศทางการกระจายอำนาจของผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการกระจายอำนาจก็สะท้อนคุณลักษณะของคณกรรมการคือ
- บทบาทที่มีไม่มากของนักวิชากร นักวิชากรจะมีบทบาทในคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ในฐานะคณะกรรมการุ้ทรงคุณวุฒิ แต่มักเป็นเสียงส่วนน้อยในคณะกรรมการกระจายอำนาจฯ และไม่ใช่ผุ้มีอำนาจที่จะขับเคลื่อนกระบวนการการกระจายอำนาจในทางปฏิบัติ โดยนักวิชาการมักมีบทบาทในการเสอนแนวคิดและการทำงานทางวิชาการเป็นหลัก
- การขาดบทบาทของฝ่ยภาคประชาชน เนื่องจา พ.ร.บ. การกระจายอำนาจฯ ไมด่ได้กำหนดให้มีสัดส่วนสำหรับตัวแทนของภาคประชาชนในคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ทำให้กระบวนการการกระจายอำนาจยังขาดการมีส่วนร่วมชของภาคประชาชนที่เป็นผุ้ได้รับผลจากการกระจายอำนาจดดยตรง
- บทบาทที่กระตือรือร้นฝ่ายผุ้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่เป็นตัวแทนในการผลักดันนโยบายหรือเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีจำนวนมากถึง 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทั้งหมด แต่มักถุกวิพากษืเสมอว่าข้อเรียกร้องของพวกเขามักเกี่ยวข้องกับประโยชน์าางการเมืองของนักการเมืองท้องถิ่นเอง
- การต้านการกระจายอำนาจของฝ่ายข้าาชการแระจำที่เป็นตัวแทนของข้ราชการหรืออดีตข้าราชการส่วนกลางแลส่วนภูมิภาค เป็นกลุ่มที่มีสัดส่วนใคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ที่มาโดยตำแหน่งและมาจากส่วยของผุ้ทรงคุณวุฒิสูงถึง 15 คน จากทั้งหมด 36 คนทำให้คณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ถูกครอบงำจาฝ่ายราชการที่มักจะปกป้องผลประโยช์ของระบบราชการมากว่าผลประดยชน์ของท้องถิ่น
- ฝ่ายนักการเมืองระดับชาติเป็นพันธมิตรกับฝ่ายข้าราชการประจำ แม้นักการเมืองระดับชาติมีสัดส่วนน้อยในคณะกรรมการการกระจายอำนาจ แต่เนื่องจากการกระจายอำนาจจะลอทอนอำนาจและความสำคัญของนักการเมืองระดับชาติที่เคยมีบทบาทต่อการดึงทรัพยากรที่รวมศุนย์อยู่ส่วนกลางมาจัดสรรในเขตฐานเสียงของตนเพราะการกระจายอำนาจมักไปเพ่ิมอำนาจหน้าที่กับวบลประมาณแก่นักการเมืองท้องถิ่น ทำให้มีแนวดน้มที่ฝ่ายนักการเมืองระดับชาติกับฝ่ายข้าราชการจึงเป็ฯพันธมิตที่จะพยายามทำให้การกระจายอำนาจมีลักาณะอย่างค่อยเป็นค่อยไป
- "ระบบการปกครองท้องถิ่นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซีย : ราชอาณาจักรไทย", รศ.วุฒิสาร ตันไชย เอกวิร์ มีสุข, วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถ่ิน สถาบันพระปกเกล้า, 2557.
ภายใต้สถานะการณ์ทางการเมืองทีผันผวนและความแตกแยกของประชาชนที่เรื้อรังมาต้งแต่ก่อนการทำรัฐประหารใน พ.ศ. 2549 มีการเลือกตังและโค่นล้มรัฐบาลหลายครั้ง รวมถึงเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองทั้งใร พ.ศ. 2552, พ.ศ. 2553 และพ.ศ. 2556-2557 ได้ทให้ประเด็นการผลักดันเก่ยวกับการกระจายอำนาจถูกหยิบบกขึ้นเป้นประเด็นทางนโยบายสาธารณะที่มีกรผลักดันอย่างจิรงจังและเป็นทั้งวาทกรรมทางการเมือง รวมถึงมีข้อเนิทางวิชาการในการอธิบายปรากฎการณ์เปลี่ยนแปลงในชนบทที่ได้รับอิทธิพลจากกลไกใหม่ๆ ในการกระจายอำนาจและการมี่วนร่วมของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 กับรัฐธรมนูญ พ.ศ. 2550 และปรากฎการณ์การเปลียนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจที่ทำให้สภาพการณ์ทางสังคมการเมืองไทยในยุคปัจจุบันเป็นการขยับขยายและเปลี่ยนผ่านจากการเมืองแบบรวมศูนย์ในระบบราชการและระบบการเมืองแบบรัฐสภาของส่วนกลางแบบเดิม มาสู่การเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนที่ถุกขยายแลดึงเข้ามาอย่งกวางขวาง ทั้งผ่านกลำกที่เป็นทางการแลเผ่ารการวมกลุ่มทางการเมืองซึ่งมาเห็ฯได้อย่างเด่นชัดเมือเกิดวิกฤตการณ์ทางการเมืองที่ผ่านมา
อย่างไรก็ตามจากความรุนแรงทางการเมือภายหลังการเสนอร่างพระราชบัญญัตินิรโทษำรรมในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 จนเป็นชนวนที่นำมาซึ่งการประท้วงและความรุนแรงทางการเมือง ซึ่งปรากฎหการณ์ความรถนเรงนี้มาจาการแตกขัวยทางการเมืองและความคิดของฝ่ายที่สนับสนุนรัฐบาลและผ่ายที่คัดค้านรัฐบาลที่ยาวนานและมิได้มีสาเหตุจาการผลักดันร่างพระาชบัญญัตินิรโทษกรรมเพียงอย่างเดียว แต่เป็นปมคามตึงเครียดทางการเมืองและสังคมที่แตกแยกในระดับมูลฐานของบรรทัดฐานและทิศทางในการกไหนดสังคมการเมืองไทยทั้งในมิติศีลธรรมพลเมืองรุปแบบการปกครอง/รูปแบบรัฐ ความไม่เท่าเที่ยมทางสังคม หลักนิติรัฐความน่าเชื่อถือต่อสถาบันทางการเมืองทั้งฝ่ายนิติบัญญํติ บริหา และตุลาการ บทบาทของระบบราชการและกองทัพ ปัญหาของสื่อสารมวลชน รวมไปถึงการจัดารกและการอยู่ร่วมกันของผุ้ที่เข้ามามีส่วนร่วมทางการเมือบที่แตกแยกกันออกเป็นหลายฝ่าย ซึ่งความตึงเครียดนีได้นำมาซึ่งการรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษ๓าคม พงศ. 2557 โดย พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผุ้บัญชาการกองทัพบกและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) การเข้ามามีบทบาทนำเื่อกำหนดทิศทางของประเทศโดยรัฐราชการอีกครั้งภายใต้บริบททางการเมืองที่กลุ่มพลังทางสังคมนอกภาครัฐถูกกันออกจากระบบการเมืองและมีความแตกแยกระหว่างประธานกลุ่มต่างๆ มี่สนับสนุนและคัดค้านการรัฐประหารครั้งนี้ ซึคงภายหลังการรัฐประหารครั้งนี้ได้ส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อการปกครองท้องถิ่นและการกระจายอำนาจดังจะกล่าวถัดไปโดยลักษณะสำคัญของการกระจายอำนาจช่วง พงศ.2540-ปัจจุบันแบ่งการอธิบายออกเป็ฯ 33 ช่วงเวลาดังนี้
การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถ่ิน พ.ศ. 2540-2549 การกระจายอำนาจที่ไม่ได้ไปพร้อมกับการปฏิรูประบบราชการ ในด้านการกระจายอำนาจช่วง พ.ศ. 2540-2549 นับตั้งแต่กระแสของการปฏิรูปการเมืองช่วงทศวรรษที่ 2530 ได้นำไปสู่การรางรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณจักรไทย พ.ศ. 2540 ถือได้ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญที่สุดของการปกครองท้องถ่ินไทยเนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้บรรจุเนื้อหาด้านการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถ่ินอย่างเป็นทางการ เลปการประกาศใช้พระราชบัญญัติกำหนดและแผนขขั้นตอนการกระจายอำนาจแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน พงศ. 2542 ที่เป็นปัจจัยเร่งให้เกิดการแรับเปลี่ยนโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างระบบบริหาราชการส่วนกลางและส่วนภูิมภาคกับองค์กรปคกรองส่วนท้องถิ่น จนส่งผลต่อสภาพการณ์โดยรวมของท้องถ่ินและการเมืองการปกครองระดับชาติ และทำให้การกระจายอำนาจถูกกำหนดให้เป็นกระบวนการถาวรที่ฝ่ยการเมืองและฝ่ายขาราชการประจำไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ จนทำให้มีกาตราและแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการปกครองท้องถ่ินจำนวนมาก เช่น กฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถ่น กฎหมายที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถ่ิน กฎหมายว่าด้วยการออกเสียงประชามติ เป็นต้น
อย่างไรก็ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ก็มีมิติทีสรางความเข้มแข็งและเอื้อต่อการกระชับอำนาจของระบบราชการ่วนกลางเพราะเป็ฯรัฐธรรมนูญที่ออกเเบบให้มีรัฐบาลที่เข้มแข็ง ในการกุมอำนาจได้ค่อยข้างเด็ดขาดและแก้ไขปัญหาการขาดเสถียรภาพทางการเมืองจากกลุ่มการเมืองภายในพรรคและพรรคร่วมรัฐบาลเช่น การอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีที่ทำได้ยากขึ้นกำหนดใหสมาชิกสภาผุ้แทนราษฎรที่จะดำรงตำแหน่งนรัฐมนตรีต้องลาออกจากการเป็น ส.ส. ก่อน ทไใ้รัฐมนตรีต้องระวังไม่ให้มีความขัดแย้งกับนายกฯ เพราะเกรงว่าจะถูกปลดจากตำแหน่งและไม่สามารถกลับไปเป็น สส.ได้อีก เป็นต้น ทำให้รับบาลกลางมีเสถียรภาพและความมั่นคงในการริเร่ิมนโยบายของตนมากว่าในอดีต
นอกจากนี้มีแนวโน้มการกระชับอำนาจของระบบราชการผ่านการปฏิรูประบบราชการเพื่อแก้ไขปัฐหาโครงสร้างที่ใหญ่โตของระบบราชการส่วนกลางที่มีหน่วยงานในระดบกระทรวง ทบวง กรม เป้นจำนวนมาก มีการทำงานและภารกิจที่ซ้ำซ้อนหรือไม่สอดคล้งกับสภาวการณ์ปัจจุบัน มีสานการบังคับบญชาหลายขั้นตอนที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน ปัญหาการทุจริตและการห้ผลประโยชน์โดยเจ้าหน้าที่รัฐ โดยประกาศใช้พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 แต่การปฏิรูปครั้งนี้กลับขยายโครงสร้างของระบบราชการให้มีหน่วยงานมากขึ้น มีจำนวนบุคลากรของหน่วยงานราชการส่วนกลางเพ่ิมขึ้นจาก 968,400 คน ในปี 2545 เปผ้น1,275,350 คน ในพ.ศ. 2550 และเป็นการปฏิรูประบบราชการที่ไม่ได้ให้ความสำคัญต่อการกระจายอำนาจในฐาน "ส่วนหนึ่งของการปฏิรูป" เนื่ื่องจาก "...เพื่อปรับโครงสร้างและแบ่งส่วนราชการใหม่จาก 14 กระทรวง 1 ทบวง 126 กรม มาเป็น 20 กระทรวง กับอีก 143 กรม โดยมีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) เป้นหน่วยงานขับเคลื่อนการปฏิรูประบบราชการ และมีการออกกฎหมาย ระเบียบ และแผนงานที่เกี่ยวข้องเพื่อรองรับการปฏิรูประบบราชการ อย่างไรก็ดีการปฏิรุประบบราชการกลับเป็นอุปสรรคของการกระจายอำนาจและไม่ได้ให้น้ำหนักต่อการกระจายอำนาจให้เป็นเรื่องที่ต้องเคียงคู่หรือทำไปพร้มกับการปฏิรุประบบารชการเช่น ในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ก็มิได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนด้านการกรจายอำาจให้เป็นยุทธศาสตร์หลักแต่อย่างใด จนทำให้ระบบราชการส่วนกลางและส่งนภูมิภาคยังขยานตัวทั้งในเชิงโครงสร้างแลการบริาหรงานบุคคลเพราะจำนวนของหน่ยงานและตำแหน่งของข้าราชการรดับสูงที่เป้ฯผุ้บริหารหน่วยงานเพิ่มขึ้น"
นอกจากนี้การบริหารงานในยุคของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ยังได้ดำเนินนโยบายการบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการเหรือ "นโยบายผู้ว่าฯ CEO " เพื่อปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานของจังหวัดจากเดิมที่ขาดประสิทธภาพ ล่าช้า และไม่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนจากความไม่เป็นเอกภาพในการบริาหราชการส่วนภูมิภาคโดยการออกเระเบียบสำนักนากยกรัฐมนตรีวาด้วยระบบบริหาราชการจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2546 จึงทำให้การบริหารราชการส่วนภูมิภาคมีความเข้มแข็งและอยู่ภายใต้การควบคุมสั่งการของราชการส่วนกลางมากขึ้น
การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น พ.ศ. 2550-2557 ข้อเสนอที่หลากหลายของการกระจายอำนาจ ภายหลังการรัฐประหารในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 จนมีการยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และมีการร่างและประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ซึ่งยังคงสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 แต่ได้ปรับปรุงเนื้อหาสาระให้มีความชัดเจนมากขึ้น แต่นี้ก็มีการออกกฎหมายที่เอื้อต่อการกระชับอำนาจของส่วนกลางเช่น การกำหนดให้ผู้ใหญ่บ้านที่ได้รับการเลือกตั้งสามารถอยู่ใตำแหน่งอย่างไม่มีวาระจนผู้ใหญ่บ้านอายุครบ 60 ปี เป็นต้น แต่ความน่าสนใจในยุคนี้คือข้อเสนอเกี่ยวกับการกระจายอำนาตเร่ิมมีความหลากหลายมากขึ้น เช่น
- ข้อเสนอการปฏิรูปโครงสร้างอำนาจโดยคณะกรรมการปฏิรูป (คปร.) ข้อเสนอการปฏิรูปประเทศไทยที่จัดทำโดยคณะกรรมการปฏิรูปทีได้รับการแต่งตั้งดดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีใน พ.ศ. 2553 แล้วได้จัดทำหนังสือแนวทางการปฏิรุปประเทศไทย ข้อเสนอต่อพรรคการเมืองและผู้มีสิทธิเลือกตั้งใน พ.ศ.2554 โดยในส่วนของข้อเสนอการปฏิรูปโครงสร้างอำนาจ ฉบับสมบูรณ์ ได้เสนอเกี่ยกับการกระจายอำนาจว่าเป็นส่ิงที่ควรทำเพื่อแก้ไขความเหลื่อมล้ำของความสัมพันธ์ทางอำนาจเพราะปัญหาความเหลื่อมล้ำในความสัมพันธ์ทางอำนาจที่ถูกค้ำจุนโดยโครงสร้างทั้งที่เป้ฯทางการและไม่เป็นทางการ ซึงโครงสร้างของรัฐถือเป็นโครงสร้างอำนาจที่มีความสำคัญซึ่งต้องอาศัยการปฏิรูปแการจัดระเบียบกลไกของรับใหม่เพราะรัฐมักมีการรวมศูนย์และกระจุกตัวของอำนาจที่ศูนย์กลางจนสร้างความไม่พอใจในการกระจุกตัวของำนาจจากประชาชนและความเฉี่ยอชาในทางการเมือง รวมถึงการเพิกเฉยข้อเรียกร้องของท้องถ่ินในทุกด้าน ซึงรายงานชิ้นนี้เสนอว่าการกระจายอำนาจจากส่วนกลางสู่ท้องถ่ินไม่ใช่แค่การถ่ายโอนอำนาจจากองค์กรปกครองขนาดใหญ่สู่องค์กรปกครองที่เล็กกว่า ซึ่งจะเป็นเพียงแค่เปลี่ยนการรวมศูนย์อำนาจจากศูนย์กลางไปยังท้องถิ่นต่างๆ แต่ต้องดำเนินควบคู่ไปกับการลดอำนาจรัฐและเพิ่มอำนาจให้กับประชาชนเพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นสามารถจักการชวิตของตนเองและชุมชนได้มากขึ้น
- ข้อเสนอการตั้งจังหวัปกครองตนเองโดยคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.) คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย ที่ได้เสนอ "ร่างพระราชบัญญัติการบริาหรจังหวัปกครองตนเอง พ.ศ...." เพื่อยุบเลิกการปกครองส่วนภูมิภาคในระดับจังหวัดลงและให้มีการเลือกตั้งผุ้ว่าการจังหวัดแทน โดยใร่างพระราชบัญญัติกำหนดให้มีกาตั้งจังหวัดปกครองตนเองที่มีสถานะเป็นนิติบุคคลและถือเป็นราชการบริหารส่วนท้องถ่ินแทนที่จะเป็นราชกาบริหารส่วนภูมิภาคเดิมโดยการจัดตั้งจังหวัดปกครองตอนเองนั้นดำเนินการโดยให้ใช้พระราชกฤาฎีกาจัดตั้งจังหวัดปกครองตอนเงอและผลของพระราชกฤษฎีกานี้ให้มีผลยกเลิกกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งจังหวัดนั้น โดยในจังหวัดปกครองตนเองจะมีโครงสร้างภายใน 2 ระดับคือ องคกรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับบน ได้แก่ จังหวัดปกครองตนเอง มีเขตพื้อนที่การปกครองครอบคลุมทั้งจังหวัและ องค์การปกครองส่วนท้อถงิ่นระดับล่าง ได้แก่ เทศบาลและองค์กาบริหารส่วนตำบลมีเขตพื้นที่การปกครองบางส่วนของจังหวัด โดยทั้งสองระดับจะมีสภาพลเมืองที่จัดตั้งในจังหวัดปกครองตนเอง เทศลาลและองค์การบริหารส่วนตำบล
- ข้อเสนอการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบพิเศษ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีอยู่เดิม โดยรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 กำหนดให้รัฐต้องพัฒนาจังหฝัที่มีความพร้อมให้เป็ฯองคกรปกครองส่วนท้องถิ่นรุปแบบพิเศษขนาดใหญ่โดยคำนึงถึงเจตนารมณ์ของประชาชนในจังหวัดและกำหนดให้สามารถจัตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษให้กระทำได้ตามกฎหมายบัญญัติ โดยที่คณะผุ้บริหารท้องถิ่นหรือผุ้บิหารท้องถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้งโดยปัจจุบับนมีเมืองที่เสนอร่างกฎหมายที่เพื่อยกระดับเป็นเมืองพิเศษ ตัวอย่างเช่น แม่สอด สมุย และแหลมฉบัง ดดยเฉพาะแม่สอดนั้นได้มีการผลักดันใหจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรุปแบบพิเศษ "นครแม่สอด" จังหวัดตากโดยเสนอร่าง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ...อย่างเป็นรูปธรรม
แนวโน้มการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นพ.ศ. 2557 การรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ทำให้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ถูกยเลิก ทำให้เกิดการปลี่ยนแปลงของการปกครองท้องถิ่นที่มีแนวโน้มการกระชับอำนาจการปกครองท้ถงิุ่นสู่ส่วนกลางในรูปของประกาศจากคณะรัฐประหารเป็นครั้งแรกในรอบ 40 ปีนับตั้งแต่ประกาศคณะปฏิวัติ..ที่แกไขปรับุรงองค์การบริหารส่วนตำบลและการก่อตั้งกรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2515
จากประกาศคณะรักษาความสวบแห่งชาติฉบับ..กำหนดให้สมาชิกาภท้องถ่ินของทั้งองค์การบริหารส่วยตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลและกรุงเทพมหานครที่ครบวาระหรือพ้นจากตำแหน่งในช่วงเวลานี้ให้งดการจัดให้มีการเลือกตั้งสามาชิกสภาท้องถ่ินหรือผุ้บิริหารท้องถ่ินจนกว่าจะมีประกาศเปลี่ยแปลง โดยให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผุ้บริหารท้องถิ่นจนกว่าจะมีประกาศเปลี่ยนแปลง โดยให้มีการคัดเลือกบุคคลที่เข้ามาเป็นสมาชิกสภาท้องถ่ินโดยคณะกรรมการสรรหาที่ประกอบด้วยข้าราชการที่มาคัดเลือผุ้ที่จะมาดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถ่นโดยผุ้ที่จะมาเป็นสมชิกสภาท้องถิ่นอย่างน้อยต้องมาจากผู้ที่เป็นข้าราชการหรืออดีตข้อาราชการที่มีตำแหน่งตั้งแต่ระดับชำนาญการพิเศษหรือเที่ยบเท่าขึ้นไป ส่วนตำปหน่ผู้บริหารท้องถ่ินที่ว่างอูนันกำหนดให้ปลัดองค์กรปกครองส่ท้องถ่ินปฏิบัติหน้าที่นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึงทำให้ในแต่ละจังหวัดจึงมีการตั้งคณะกรรมการสรรหาผู้ที่มาเป็ฯสมาชิกสภาท้องถิ่นขึ้นมาทดแทน โดยตั้งแต่เพือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม ใน พ.ศ. 2557 จะมีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่ครบวาระและกำลังจะครบวาระหทั้งหมด 225 แห่ง
ผลลัพธ์ที่หลากหลายของการกระจานอำนาจนับตั้งแต่ทศวรรษที่ 2540 -ปัจจุบันก็เร่ิมีงานศึกษเพื่อประเมินสถานการณ์พัฒนาการของการปกครองท้องถิ่นไทยและผลลัพธ์ของการกระจายอำนาจึ่งมีคำตอบแตกต่างกันทั้งในเชิงบวกและเชิงลบ โดยการกระจายอาจในช่วงเร่ิมต้นยังมีอุปสรรคและปัญหาในการปฏิบัติงานอของค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามที่ได้รับมอบหมายทั้งในด้านประสิทธิภาพและการมีประสิทธิผลตรวตามเวลา จากากรประเมินโดยธนาคารโลกในเดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 ภายหลังที่มีการประกาศใช้พระราชยัญญัติกำหนดแผนและขึ้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พงศ. 2542 พบว่า
- การบริหารจัการข้อมูลด้านการกระจายอำนาจ พบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินไม่ได้รับทราบข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับแผนปฏิบัติการการกระจายอำนาจที่เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ตน
- การประหยัดเชิงขนาดในการปกครองส่วนท้อบงถิ่น พบว่างค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีขนาดเล็กแทบไม่มีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติตามหน้าทที่ที่ได้รับมอบหมายได้อถูกต้องประหยัด และมีประสิทธิภาพ
- ข้อจำกัดของกฎข้อบังคัย พบว่าหน่วยงานส่วนใหญ่ถูกจำกัดด้วยกฎระเบียบต่างๆ ดดยเฉพาะการจัดหารายได้การใช้เงินอุดหนุน และการจัดทำงลประมาณ
- นโยบายด้ารบุคลากร พบว่าบุคลากรของภาีรัฐไม่มีแรงสนับสนุนที่ดีพอในการจูงใจให้เจ้าหน้าที่จากส่วนกลางโอนย้ายไปทำงานในหน่วยราชการส่วนท้องถ่ิน
- กลยุทธ์การอบรมด้านการกระจายอำนาจ พบว่าในสถานศึกษามีการเปิดสอนหลักสูตรอบรมเกี่ยวกับการกรจายอำนาจแต่ไม่มแนวทางการอบรมหรือแผนแม่บทการอบรมเกี่ยวกับการเพ่ิมประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
- สิ่งจำเป็นเร่งด่วนสำหรับการฝึกอบรม พบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้องได้รับการอบรมด้านการคลังท้องถ่ินอย่างเร่งด่วน เช่น การวางแผนทางการเงิน การจัดทำงบประมาณ การบัญชี การจัดทำรายงานทางการเงิน และรายงานการบริหารสินทรัพย์
- การเพ่ิมศักยภาพให้กับหน่วยงาน พบว่าสำนักงานคณะกรรมการการกระจยอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้รับวบประมาณน้อยมาก ในขณะที่สันนิบาตเทศาลแห่งประทเศไทยยังไม่มีความชัดเจนในการเป็นอิสระจากกรมการปกครอง
- ความช่วยเหลือทางด้านวิชาการสำหรับงานจัดการเพ่ิมขีดความสามารถที่สำคัญ บพบว่าหน่วยงานที่มีความพร้อมนั้นังขาดแคลนเครื่องไม่เครื่องมือที่จำเป็นต่อการฝึกอบรม
- การกระจายอำนาจในส่วนของกรุงเทพมหานคร พบว่างานส่วนใหญ่ยังอิงกับระบบราชการเช่น หน้าที่ความรับผิดชอบการดำเนิงสน นโยบายด้านบุคคล การจัดสรรทรัพยากร ฯลฯ
ส่วนมิติด้านประชาธิปไตยจากการประเมินจากหลายพื้นที่พบว่าวัฒนธรรมการทำงานอขงรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังทำงานแบบระบบราชการและเน้นด้านกฎระเบียบมากกว่าผลงาน ยังเน้นให้ประชานต้องเชื่อฟังหรอปฏิบัติตาม มากว่าการทำงานแบบรับผิดชอบร่วมกันที่อยู่บนฐานของความเสมอภาค ซึ่งเป็นปัจจัยหลักอย่างอนึ่งที่ขัดขวางขบวนการประชาสังคมและประชาธิปไตยชุมชน
ในทางกลับกันงานศึกษาบางข้ินได้ให้ภาพการเปี่ยนแปลงในเชิงบวกของการกระจายอำนาจ ดที่ได้ประเมินผลการกระจายอำนาจใน พ.ศ. 2556 ที่ให้ความสำคัญในด้านประสิทธิภาพการบริหารงานของท้องถิ่นหลังการกระจายอำนาจพบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดบริหารที่หลากหลายซึ่งไม่เคยมีหน่วยงานราชการ นอกจากนี้ท้องถิ่นให้ความสำคัญกับระบบการศึกษาโดยทุ่มเททรัพยากรไปกับการพัฒนาบุคลากร จัดการศึกษาภาษาต่างประเทศ หรอืการศึกษาหลักสูตรท้องถิ่นที่ผ่านการมีส่วร่วมของประชาชน ทำให้เมื่อมีการเปรียบเทียบผลสัมฟทธิ์ทางการศึกษาของโรงเรียนระับท้องถ่ิน พบหลายวิชาสูงกว่าปลการทดสอบทองการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (โอเน็ต) ในจังหัด นอกจากนี้เมื่อสำรวจถึงความพึงพอใจของประชานต่องอค์กาปกครองส่นท้องถิ่นพบว่าประชาชนให้ความพึงอพใจต่อการบริหารสาธารณะในด้านการศึกษาพอใจร้อยละ 63 ด้านสาธารณสุขร้อยละ 68.4 ด้านสิ่งแวดล้อมร้อยละ 61.6 และด้านโครงสร้างพื้นฐานประชาชนพอใจร้อยละ 62.9-69.4 และประชาชนร้อยละ 75 เห็นว่าไม่ควรมีกายุบเลิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพราะมีประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
นอกจากนี้ในแง่มุมของประชาธอปไตยในระดับท้องถิ่นกลับมองว่าการกระจายอำนาจและการลงหลักปักฐานของสถาบันทางการเมืองทั้งในระดับชาิตและท้องถ่ินตั้งแต่การประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 5240 ทำใหเกิดการสร้างแรงจูงใจให้นักการเมืองตอบสนองความต้องการของผุ้ออกเสียงเลือกตั้งมากขึ้น นอกจากนี้ความเปลี่นแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจตังแต่ทศวรรษที่ 2530 ทำให้ความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ในแนวดิ่งกลับลดบทบาทลงและกลับเร่ิมมีปฏิสัมพันะ์ระหว่งกันของคนที่เท่าเที่ยมใรู)แบบแนวนอนมากขึ้น นอกจากนี้การกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินผ่านการเลือกตั้งทางตรงใรระดับ อบต.และเทศบาล ที่มีความใกล้ชิดกับประชาชนได้สร้างความใกล้ิดทั้งในเชิงกายภาพ ปฏิสัมพันะ์ทางสังคม และความรับผิดชอในอำนาจหน้าที่ที่อปท. ได้รับมอหมายและส่งผลต่อผุ้มีสิทธิเลือกตั้งในพื้นที่ ได้ส่งผลต่อวิถีชีวิตของประชาชนในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้การพิจารณาลงคะแนนเสียงให้กับผุ้บริหารอปท. ก็อาศัยปัจจัยเชิงศักยภาพ ความสามารถ และครือข่ายของผุ้สมัครมากขึ้นในการดึงทรัพยากรมาสู่พื้นที่ "...เนื่องจากงบประมาณเกือบ 40% ของ อปท.มาจากการอุดหนุนของรัฐส่วนกลางโดยตรง ในขณะที่เกณฑ์การจัดสรรวบอุดหนุนหลายประเภทให้แก่ อปท. แต่ละแห่งนั้น เปิดโอกาสให้ผุ้มีอำนาจในส่วนกลางใช้ดุลพินิจได้กว้างขวาทำให้อปท.ต้อง "วิ่งงบ"กับส่วนกลางเพื่อให้ได้รับการจัดสรรมากที่สุดจึงหล่าววได้ว่าชาวบ้านใช้เครื่องมือการเลือกตั้งระับ้องถิ่นในการต่อราองเพื่อดึงทรัพยากรจากรัฐส่วนกลาง"
เช่นเดี่ยวกับงานของนักมานุษยวิทยาอย่างแคเธอรีน เบาว์วี (2555) "..ผุ้มีส่วนร่วใรการเมืองการเลือกตั้งอย่างเท่าทัน ชาวบ้านตำบลทุ่งนาตระหนักถึงโอกาสใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นภายมต้การปฏิรูปกฎมหายในปี 2535 และ 2537 พวกเขาผนกรวมทั้งกฎหมายใหม่ที่เป็นประชาธิปไตย กฎหมายเก่าสมัยศักดินาขนบะรรมเนียมแบบเดิม พิธีกรรมที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นใหม่นัการเมืองภายนอก เจ้าหน้าที่อำเภอ และครือข่ายองค์การพัฒนเอกชนให้เป็นประโยชน์แก่การรณรงค์หาเสียงของพวกเขาในกระบวนการนี้ ทัศนะประชาธิปไตยที่าดหวังว่าผุ้สมัครควรได้รับการคุ้มครองสิทธิในการหาเสียงปะทะกบกฎหมายเก่าในยุคศักดินาที่สร้างความหมายเชิงวัฒนธรรมให้ตำแหน่งผุ้ใหญ่บ้านว่า เป็น "เจ้าของ" หมู่บ้าน"
จะเห็นได้ว่า งานศึกษาต่างๆ ที่ประเมินผลลัพธ์ของการกระจายอำนาจทั้งในด้านประสทิธิภาพและการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่นกลับให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างแลหลากหลายก็จริงแต่แนวโน้มในปัจจุบนกลับพบว่าผลลัพธ์การกระจายอำนาจมีทิศทางที่ดีขึ้นตามลำดับ แม้ปัญหาและความท้าทาสำคัญที่มีมาตั้งแต่เร่ิมีการกระจายอำนาจใน พ.ศ. 2540 จะมีอยู่ก็ตาม
การวางโครงสร้างและกระบวนการกระจายอำนาจนั้น รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2550 มาตรา..กำหนดให้มีกฎหมายกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ จึงมีการตราพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2542 โดยหมวด กำหนดให้ตั้งคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีลักาณะไตรภาคี คือ ผู้แทนส่วนราชการที่เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและผุ้ทรงคุณวุฒิ เพื่อจัดทำแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและแผนปฏิบัติการกำหนดขึ้นจตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ร.บ. ฉบับรี้ได้กำหนดโครงสร้งและกระบวนการการกระจายอำนาจกลำกเพื่อสนับสนุนกระบวนการการกระจายอำนาจให้เป็นกระบวนการที่เป็ฯทางการและมีสภาพบังคับในทางกฎหมายเป็นครั้งแรก อย่างไรก็ตามการปฏิบัติงานของคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ก็ยังมีข้อบกพร่องอยู่โดยศุภสวัสดิ์ ชัชวาล (2555) เห็นว่าเมื่อพิจารณาจากองค์ประกอบของคณะกรรมการฯ ซึงเป็นพื้นที่การต่อรองและผลักดันทิศทางการกระจายอำนาจของผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการกระจายอำนาจก็สะท้อนคุณลักษณะของคณกรรมการคือ
- บทบาทที่มีไม่มากของนักวิชากร นักวิชากรจะมีบทบาทในคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ในฐานะคณะกรรมการุ้ทรงคุณวุฒิ แต่มักเป็นเสียงส่วนน้อยในคณะกรรมการกระจายอำนาจฯ และไม่ใช่ผุ้มีอำนาจที่จะขับเคลื่อนกระบวนการการกระจายอำนาจในทางปฏิบัติ โดยนักวิชาการมักมีบทบาทในการเสอนแนวคิดและการทำงานทางวิชาการเป็นหลัก
- การขาดบทบาทของฝ่ยภาคประชาชน เนื่องจา พ.ร.บ. การกระจายอำนาจฯ ไมด่ได้กำหนดให้มีสัดส่วนสำหรับตัวแทนของภาคประชาชนในคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ทำให้กระบวนการการกระจายอำนาจยังขาดการมีส่วนร่วมชของภาคประชาชนที่เป็นผุ้ได้รับผลจากการกระจายอำนาจดดยตรง
- บทบาทที่กระตือรือร้นฝ่ายผุ้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่เป็นตัวแทนในการผลักดันนโยบายหรือเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีจำนวนมากถึง 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทั้งหมด แต่มักถุกวิพากษืเสมอว่าข้อเรียกร้องของพวกเขามักเกี่ยวข้องกับประโยชน์าางการเมืองของนักการเมืองท้องถิ่นเอง
- การต้านการกระจายอำนาจของฝ่ายข้าาชการแระจำที่เป็นตัวแทนของข้ราชการหรืออดีตข้าราชการส่วนกลางแลส่วนภูมิภาค เป็นกลุ่มที่มีสัดส่วนใคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ที่มาโดยตำแหน่งและมาจากส่วยของผุ้ทรงคุณวุฒิสูงถึง 15 คน จากทั้งหมด 36 คนทำให้คณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ ถูกครอบงำจาฝ่ายราชการที่มักจะปกป้องผลประโยช์ของระบบราชการมากว่าผลประดยชน์ของท้องถิ่น
- ฝ่ายนักการเมืองระดับชาติเป็นพันธมิตรกับฝ่ายข้าราชการประจำ แม้นักการเมืองระดับชาติมีสัดส่วนน้อยในคณะกรรมการการกระจายอำนาจ แต่เนื่องจากการกระจายอำนาจจะลอทอนอำนาจและความสำคัญของนักการเมืองระดับชาติที่เคยมีบทบาทต่อการดึงทรัพยากรที่รวมศุนย์อยู่ส่วนกลางมาจัดสรรในเขตฐานเสียงของตนเพราะการกระจายอำนาจมักไปเพ่ิมอำนาจหน้าที่กับวบลประมาณแก่นักการเมืองท้องถิ่น ทำให้มีแนวดน้มที่ฝ่ายนักการเมืองระดับชาติกับฝ่ายข้าราชการจึงเป็ฯพันธมิตที่จะพยายามทำให้การกระจายอำนาจมีลักาณะอย่างค่อยเป็นค่อยไป
- "ระบบการปกครองท้องถิ่นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซีย : ราชอาณาจักรไทย", รศ.วุฒิสาร ตันไชย เอกวิร์ มีสุข, วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถ่ิน สถาบันพระปกเกล้า, 2557.
วันพฤหัสบดีที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2560
Local government in Indonesia
อินโดนีเซียเป้นสาธารณรัฐแบบรัฐเดี่ยว แตมีการจัดการปกครองแบบกระจายอำนาจอย่างกว้างขวาง อินโดนีเซียมีการแบ่งเขตการปกครองภายในของตนเองออกเป็นหลายระดับก้มีชื่อเรียกที่ต่างกันออกไป
รูปแบบการปกครองท้องถิ่น
มณฑล คือชื่อเรียกเขตการปกครองภายนอินโดนีเซียในระดับรองลงมาจากระดับประเทศ โดยทั่วไปแล้วในงานศึกษาหรือรายงานข่ราวในภาษาไทยมักจะรเียกเขตการปกครองประเภทนี้ของอินโดนีเซียว่า จังหวัด โดยเทียบเคียงมาจากคำว่า province ซึ่งขอเรียกว่า provinci ของอินโดนีเซียว่า มณฑล ทั้งนีเป็นไปตามเหตุผลที่ทวีศักดิ์ เผือกสม ได้กลาวไว้ คือ โพวินซี่ แต่ละแห่งของอินโดนีเซียนั้นมักมีขนาดพื้นทีกว้างขวางและมีจำนวนประชากรมากกว่าจังหวัดของประเทศไทยอย่างมาก ดังนันคำว่ามณฑลน่าจะสื่อความหมาย ได้ดีกว่าคำว่าจังหวัด
ปัจจุบัน อินโดนีเซียมีการแบ่งการปกครองออกเป็น 33 มณฑลโดยในจำนวนนี้มีอยู่ 5 มณฑลที่มีสถานะพิเศษกว่ามณฑลอื่น ในแต่ละมณฑลของอินโดนีเซยจะมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ทำหน้าที่ในฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติโดยผุ้นำของฝ่ายบริหาร คือ ผู้ว่าการมณฑล และฝ่ายนิติบัญญัติ คือ สภาผุ้แทนราษฎรส่วนภูมิภาค หรืออาจเรียกสั้นๆ ว่า สภามณฑล ปัจจุบัน กฎหมายของอินโดนีเซีย กำหนดให้ตำแหน่งผุว่าการมณฑลมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ซึ่งต่างจากในอดคตที่ผุ้ว่าการมณฑลมาจากการเลอกของสภามณฑล ส่วนสมาชิกสภามณฑลนั้นในปัจจุบันก็มาจากการเลือกตังของประชาชนเช่นกัน
ปัจจุบันการกระจายอำนาจในระดับมณฑ,ยังมีไม่มากนัก อำนาจที่มฯฑลได้รับมาจากสวนนกลางยังคงมีน้อยกว่าอำนาจที่เขตปกครองในระดับรองลงไปได้รับมา ในระยะแรกของการกระจายอำนาจในช่วงปี ค.ศ. 1999 เองก็มีการตั้งคำถ่มว่าการจัดให้มีการกระจายอำนาจทั้งในระดับมณฑ,และในระดับนรองลงมาจะทำให้เกิดความซ้ำซ้อนเกินความจำเป็นหรืไม่ อย่างไรก็ตาม เมื่อมีการประกาศใช้กฎหมาย มณฑลได้ถูกเปลี่ยนแปลงให้มีฐานะเปรีียบเสมอืนเป้นเครื่องมือหนึ่งที่รัฐบาลส่วนกลางใช้เพื่อกำหนดทิศทางการปกครองในระดับท้องถ่ินตั้งแต่ระดับจังหวัดและนครลงไป กล่าวคื อถึงแม้ผุ้ว่าการมณฑลจะมาจากการเลือกตังของประชาชน แต่กฎหมายก็ระบุว่าผุ้ว่าการมณฑลจะมาจากการเลือกตั้งของประชาชน แต่กฎหมายก็ระบุว่าผุ้ว่าการมณฑลมีสภานะเป้ฯตัวแทนอย่งเป็นทากงรของรัฐบาลส่วนกลาง รับผิดชอบโดยตรงต่อปรธานาธิบดี นอกจากนี้ กฎหมายฉบับดังกล่วยังระบุไว้ด้วยว่า ผุ้ว่าการมณฑ,มีหน้าที "กำหนดทิศทางและดูแลการจัดการปกรองในจังหวัดและนคร" และประสานงานการนำนโบายของรัฐบาลมาปฏิบัติในมณฑล จังหวั และนคร ซึ่งสิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดความคลุมมเครือว่ามณฑลมีสถานะเช่นใดกันแน่ในระบบบริหารราชการแผ่นดินของประทเศ ระหว่างเป็นองค์กรปกคอรงส่วน้องถ่ินที่ตอบสอนงความต้องการของประชาชนและถูกควบคุมได้โดยประชาชนในท้องถที่ตามหลัการกระจายอำนาจ หรือว่าเ้ฯเพียงแขนขาของรัฐบาลส่วนกลางที่ทำหน้าที่นำนโยบายจากส่วนกลางมาปฏิบัติเขตท้องถที่ของตน อันเป็นปกครองตาหลักแบ่งอำนาจตำแหน่งผุ้ว่าการมณฑลเองก็ยากที่จะสรุปได้่าเป็นผุ้นำท้องถ่ินหรือว่าเป็นตัวแทนของรัฐบาลส่วนกลาง
สำหรับมณฑลท้ง 5 แห่งที่มีสภานะพิเศษต่างจากมณฑ,อื่นๆ มีดังนี้
- อาเจะห์ ตั้งอยู่ตอนเหนือสุดของเกาะสุมาตรทางตะวันตกเฉียงเนหืของอินโดนีเซีย เป็นเขตการปกครองพิเศษ มีอิสระในการปกครองตนเองในลักาณะที่ต่างจากมณฑลอื่น ซึ่งสถานะพิเศษนี้ถูกรับรองไว้ในกฎหมาย กล่าวคือ มณฑลแห่งนี้ใช้ระบบกฎมหายของตนเอง นั่นคือระบบกฎหมายแบบชะรีอเฮ์ อันเป็ฯระบบกฎหมายที่อิงกับหลักศาสนาอิสลาม ซึ่งเหตุผลทีรัฐบาลอินโดนีเซียยอมให้อาเจะห์เป็นเขตปกครองที่พิเศษกว่าที่อื่นได้ เชนีั มีที่มาจากปัญหาความไม่สงบภายในดินแดนทาเจะหที่เคยเป็นปัญหายืดเยื้อระหว่งรัฐบาลอินโดนีเซียกับขบวนการอาเจะห์เสรี อันเป็นชบวนการติดอาวุธที่มีป้าเหมายตองการแยกดินแดจอาเเจะห์ออกเป็นอิสระ เมื่อรัฐบาลอินโดนีเซยเล็งเห็นถึงความต้องการของชาวอาเจะห์ที่จะรักษาอัตลักษณ์ทางเชื่อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรมของตน ประกอบกับต้องการจะแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยหลักสันติวิธี จึงยินยอมให้อาเจะห์มีสถานะพิเศษ มีสิทธิบริหารจัดการกิจการทางศาสนา ประเพณี และการศึกษาของตน อย่งไรก็ตาม ยังมีการถกเถียงกันอยู่ว่า แม้จริงแล้วชาวอาเจะห์โดยทั่วไปนั้นต้องการกฎหมายชละรีอะฮ์จริงหรือไม่ หรือ ว่าคนที่ต้องการมีเพียงกลุ่มผุ้เคร่งศานาซึ่งมีจำนวนไม่มากนัก นอกจากนี้ อำนาจพิเศษอีกประการหนึ่งของมณฑ,อาเจะห์ก็คือชาวอาเจะห์ได้รับอนุญาตให้ตั้งพรรคการเมืองในระดับท้องถ่ินขึ้นเองได้ต่างจากในพื้นที่อ่นซึ่งพรรคการเมืองในท้องถิ่นจะต้องเป็นสาขาของพรรคการเมืองระดับประเทศเท่านั้น ในปี 2006 เป็นครังแรกที่ชาวมณฑลอาเจะห์ได้เลือกตัง้งผุวาการมพณลของตนโดยตรง การเลือกตั้งรั้งนี้เป็นตรั้งแรกในอินโดนีเซียที่อนุญาตให้ผุ้สมัครรับเลือกต้งในระดับท้องถ่ินสามารถลงสมัครได้โดยไม่ต้องสังกัดพรรคการเมือง ซึ่งเป็นข้อยกเว้นพิเศษของมณฑลอาเจะห์อันเป็นผลจากากรที่รัฐบาลอินโดนีเซียได้ลงนามร่วมกับกลุ่ม GAM ในข้อตกลงเฮลซิงกิ ผลของการเลือกตั้งปรากฎว่า นายเออร์วานดี ยูซุฟ อดีตนักเคล่อนไหวในกลุ่ม GAM ได้รับชัยชนะ
เขตปกครองพิเศษยอกยาการ์ตา เป็นดินแดนที่มีสุลต่านเป็นประมุขปกครองมายาวนานตังแต่ก่อนจะตกเป็นอาณานิคมของตะวันตก และยังคงอยุ่ภ-ายใต้การปคกรองของสุลต่านแม้กระทั่งในปัจจุบัน โดยตำแหน่งสุลต่านของยอกยากร์ตานั้นถือว่าเทียบเท่ากับผุ้ว่าการมณฑลในมฑณฑลอื่นๆ หากแต่ตำแหน่งสุลต่านสืบทอดทางสายเลือด ไม่ได้เป็นตำแหน่งที่ได้มาจากการเลือกตั้งเหมือนกันตำแหน่งผุ้ว่าการมณฑลอื่น ๆ จึงทำให้เป็นประเด็โต้เถียงกันอยู่ว่าเหตุใดยอกยากร์ตาจึงสมควรได้รับสถานะพิเศษดังกล่าว และลักาณะการปกครองเช่นนี้ของยอกยาการ์ตานั้นเหม่ะสมหรือไม่กับอนินโดนีเซียยุคโม่ที่เป้ฯสังคมประชาธิปไตย
ปาปัว เป็นมณฑลที่อยู่ทางตะวันออกสุอของประเทศ มณฑลแห่่งนั้เป็นอีกมณฑลหนึ่งที่มีประวัติการเคลื่อนไหวเพื่อแยกตัวออกจากอินโดนีเซีย ดังนันรัฐบาอินโดนีเซียจึงได้ให้สถานะพิเศษแก่ปาปัว คือได้รับอำนาจในการปกครองตอนเงอที่สูงหว่า มณฑลปกติทั่วไปเพื่อจูใจให้ขาวปาปัวยอมอยู่ภายใต้การปกครองของอินโดนีิเวียต่อไป ในด้านการคลังณฑลปาปัวได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลส่งวนกลางในอัตราส่วนสุงกว่ามณฑ,ปกติ และไนด้านการปกครองรัฐบาลส่วนกลางก็ได้อนุมัติใ้มีการจัดตั้งสภาท้องถ่ินรูปแบบพเศษขึ้นมาทำงานควบคู่กับสภาท้องถิ่นปกติโดยสภารูปแบบพิเศษของมณฑลปาปัวนี้ มิชื่อเรียกว่า Majelis Rakyat Papua หรือ MRP ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากชนเผ่าพื้นเมืองต่างๆ ในเขตพื้นที่ปาปัวทำหน้าทพิทักษ์ปกป้องผลประโยชน์ อัตลักษณ์ และวัฒนธรรมของชาวพื้นเมือง นอกจากนี้กฎหมายยังระบุว่า ผุ้ว่าการมณฑลและรองผุ้ว่าการมณฑลของปาปัวจะต้องมีเชื่อสายปาปัว และการเข้าสู่ตำแหน่งจะต้องได้รับความยินยอมจากสภา อีกด้วย ซึ่งการกำหนดคุณสมบัติไว้เช่นนี้ทำให้มีการวิจารณ์กันว่า เพราะเหตุใดคนต่างถ่ินซึ่งมีจำนวนมากถึงร้อยละ 40 ของประชกรในมณฑลจึงไมได้รับสิทธิ์ในการลงสมัครเป็นผู้ว่าการมณฑลของปาปัวจะต้องมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ซึ่งต่างจากมณฑลอื่นๆ ที่กำหนดวุฒิการศึกษาเพีียงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ปาปัวตะวันตก เป็นมณฑลที่มีประชกรน้อยที่สุดของประเทศ ตั้งอยุ่บนเกาะนิวกินี เช่นเดียวกับมณฑลปาปัวและมีสถาะพิเศษเช่นเดี่ยวกับมณฑลปาปัว โดยรับาลส่วนหลางของอินโดนีเซ๊ยได้ส่งเงินอุดหนุนให้แก่ทั้งมณฑ,ปาปัวและมณฑลปาปัวตะวันตกมาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า 3,120 ล้านเหรียญสหรัญ ในรอบ 12 ปีที่ผ่านมา
หรุงจากการ์ตา นครหลวงขงประเทศ มีสถานะเป็นเขตปกครองพิเศษทีเที่ยบเท่ามณฑล มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า เขตนครหลวงพิเศษจาการ์ตา โดยกฎหมายฉบับแรกที่ระบุถึงลักษณะการปกครองของกรุงจาการ์ตาในยุคปฏิรูปแระเศคือกฎหมายฉบับที่ 34 /1999 และมีการแก้หขอีครั้งในกฎหมายฉบับ 29/2007 กรุงจาการ์ตามีผุ้นำือผุ้ว่าการซึ่งมาจาการเลือตกั้งดยปรชาชน ภายในเขตนครหลวงนี้ยังมีการแบ่งเป็นนคร ย่อย ๆ อีก 5 แห่ง แต่ละแห่งมีผุ้นำคือนายกเทศมนตรีของตนเอง โดยตำแหน่งนายกเทศมนตรีของนครที้ง 5 แห่ง ในจาการ์ตา นั้นไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง หากแต่มาจาการแต่งตั้งโดยผุ้ว่าการกรุงจาการ์ตา ในแต่ละนครก็มีสภาของตนเอง แต่ไม่มีบทบาทอะไรมากนัก เป็นเพียงสภที่ให้คำปรึกษาแก่ฝ่ายบริหารเท่านั้น ซึ่งการที่ตำแหน่งนายกเทศมนตรีในกรุงจาการ์ตามาจาการแต่งตั้งเช่นนี้ก็อาจเกิดคำถามว่าสมควรหรือไม่ที่เมืองหลวงของปรเทศจะนไเอาระบบการเมืองการปกครองที่ไม่เป้นปรชาธิปไตยเท่าไรนักมาใช้เช่นนี้ ดดยในประเด็นนี้ก็มีการอธิบายไว้ว่าเมืองหลวงอย่างจาการ์ตาสมควรจะมีแนวนโยบายการบริหารที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันทั้เงใรระดับผุ้นำและระดับรองลงมา การที่ให้ผุ้ว่าการกรุงจาการ์ตาเป็นผู้แต่งตั้งนายกเทศมนตรีแทนที่จะให้ประชาชนเป้นคนเลือกก็เป็นไปเพื่อรักษาความเป็นหนึ่งเดี่ยวกันทางนดยบายแลการบริหาร แต่หากอนุญาตให้สมีการเลือกตังตำปหน่งนายกเทศมนตรีภายในกรุงจาการ์ตา ก็มีโอกาสที่จะได้บุคคลที่มีควาเห็นขัดแย้งหรืออยู่ฝ่ายตรงข้ามกับผุ้ว่าการนครหลวง ทำให้การบริหารกิจการต่างๆ ไม่เป็นไปในทิศทางเดี่ยวกัน
จังหวัด การปกครองท้องถ่ินในลำดับรองลงมาของอินโดนีเซีย คือ การปกครองระดับจังหวัด โดยในปัจจุบันอินโดนีเซียแบ่งออกเป็น 405 จังหวัดทั่วประเทศ แต่ละจัวหวัดมีผุ้นำคือ ผุ้ว่าราชการจัวหวัด ซึ่งมาจาการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี ความสัมพันธ์ระหว่างมณฑลกับจังหวัดและนครนั้นมีข้อถกเถียงกันอยุ่ว่าีความเป็นลำดับชั้นระหว่างกันหรือไม่ กล่าวคือ ในทางทฤษฎีแล้วผุ้ว่าราชการจัวหวัดและนายกเทศมนตรีนั้นอบยู่ภายใต้การบังคัยบัญชาของผุ้ว่าการมณฑล แต่เนื่องจากการกระจายอำนาจของอินโดนเีเซียกำหนดให้ผุ้นำของจังหวัดและนครมาจาการเลือกตั้งของประชาชน ทำให้มีการตั้งข้อสังเกตว่า ผุ้ว่ราชการจัวหวัดและนายกเทศมนตรีไม่ได้อยู่ภายใต้อำนาจของผุ้ว่าการมณฑ?ลอย่งแท้จริงแต่อยู่ใต้อิทธิพลของประชาชนผุ้เลือกตั้งแลบรรดาผุ้ให้เงินสนับสนุนในการลงเลือกตั้งมากว่า
นคร Kota
นคร มีลำดับชั้นเที่ยบเท่ากับจังหวัด หล่าวคือเป็นหน่วยการปกครองในระดับต่ำลงมาจามณฑลเหมือนกัน แต่มีความต่างคือ นครจะมีเนื้อที่เล้กกว่าจังหวัด และนครมักเป็นเขตอุตสาหกรรมและเศษฐกิจภาคบริการ ในขณะที่จังหวัดมักเป็นเขตที่มีการทำการเกษตรมากกว่า ผุ้นำของนคร คือ นายกเทศมนตร่ ซึ่งมาจาการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน มีวาระดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี
อำเภอ เป็หน่วยการปกครองในระดับรองลงมาจากจังหวัดและนครทำงาอยู่ภายใต้ผุ้ว่าราชการจังวหวัดหรือนายกเทศมนตรี ผุ้นำของอำเภอ คือ นายอำเภอ มาจากการแต่งตั้งโดยผุ้ว่าราชการจัหวัดหรือนายกเทศมนตรีไม่ได้มาจากการเลือตั้งโดยประชาชนดังนั้นสถานะของอำเภอจึงเปรียบได้กับเป็นหน่ยงานย่อยๆ ของ จังหวัดและนครต่างๆ เท่านั้น
ตำบล Kelurahan อินโดนีเซียมีหน่วยการปกครองในระดับล่าวสุดอยู่ 2 ปรเภ คือ ตำบลและหมู่บ้าน โดยตำบลบเป็นหน่วยการปกครองที่ตังอยุ่ในพื้นที่ชุมชนเมือง ผุ้นำของตำบล คือ กำนัน มาจาการแต่งตั้งของผุ้ว่าตาชการจังหวัดหรือนายกเทศมนตรี
หมู่บ้าน หมู่บ้านคือหน่ยการปครองระดับล่างสุด โดยมีฐานะเท่าเที่ยมกับตำบล แต่หมุ่บ้านตั้งอยู่ในพื้นที่ชนบทเท่านั้น โดยในยุคระเบียบใหม่ของซูฮาร์โต หมุ่บ้านตั้งอยุ่ในพื้ที่ชนบทเท่านั้น ดดยในยุคระเบียบใหม่ของซูฮาร์โต หมู่บ้านตั้งอยุ่ในพื้นที่ชนบทเท่านั้น โดยในยุคระเบียบใหม่ของซูฮาร์โต หมู่บ้านเป็นหน่วยการปกครองที่รัฐบาลเล็งเห็นความสำคัญอย่างมาก โดยรัฐบาลตระหนักว่าหมุ่บ้านเป็นหน่วยการปกครองที่อยุ่ใกล้ชิดกับชัวิตประชชนและมอิทธิพลต่อประชาชนไได้มากในหลายด้าน รัฐบาลในสมัยนั้นจึงต้องการเข้ามาจัดระเบยบการปกครองในระดับหมู่บ้าน โดยใช้วิธีการต่างๆ จูงใจและบังคับวห้ผุ้นำหมุ่บ้าสสวามิภักดิ์กับส่วนกลางและรับเอานโยบายที่ส่วนกลางกำหนดไปปฏิบัติในขณะเดี่ยวกัน อุดมการณ์หรือการกระทำใดๆ ที่ต่อต้านหรือผิดแผกไปจากแนวคิดของรัฐบาลก็จะถูกปิดกั้น หมู่บ้านในยุสมัยของซูฮาร์โตจึงเป็นหมู่บ้านที่ปราศจากความหลากหลาย ปราศจากชีวิตชีวา เป้นเพียงหน่ยงนที่ทำตามคำสั่งของรัฐบาลอย่างเคร่งครัด ซึ่งเป็นตัวอย่างหนึ่งที่สะท้อนถึงลักษณะการปกคีองประเทศในยุคระเบียบใหม่ที่ความเป็นไปทางการเมือง สังคม และวัฒนธรรมล้วนถูกกำหนดมาจากส่วนกลาง
อย่างไรก็ตาม กฎหมายฉบับยที่ 22/1999 ได้นำความเปลี่ยนแปลงมาสู่หมู่บ้านเป็นอย่างมาก กล่าวคือมีการระบุไว้อย่างเป็นทางกาสรว่าการจัดการปกครองในหมุ่บ้านจะยึดหลักความหลากหลาย, การมีส่วนร่วม,การปกครองตนเอง, การส่งเสริมประชาธิปไตย และการให้อำนาจแก่ประชาชน ตัวอย่างของความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เช่น ผุ้นำหมู่บย้านมาจาการเลือตั้งของประชาน ดยมีวาระดำรงตำแหน่งคราวละ 6 ปี ส่วนสมาชิกสภาปมู่บ้านมีที่มาจาการคัดสรรโดยปรชาชนในหมุ่บ้านซึงไม่ได้ใช้กระบวนการเลือกตั้งแบบทั่วไป แต่ใช้กระบวนการพูดคุยโดต้เถียงภายในชุมชน สมาชิกสภาปมูบ้านมีวาระดำรงตำแหน่งคราวละ 6 ปี เช่นเดี่ยวกัน
การเงินและการคลังท้องถิ่น ก่อนที่จะมีการกระจายอำนาจในยุคปฏิรูป ท้องถิ่นต่างๆ ของอินโดนีเซียแทบไม่มีอำนาจในการบริหารจัดการการเงินการคลังของตนเงินภาษีที่เก็บได้ในแต่ละท้องถ่ินถูกส่งเข้าส่วนกลาง และส่วนกลางเป็นผุ้พิจารณาจัดสรรเงินเพื่อหลับมาอุดหนุนการดำเนินงานของท้องถิ่นโดยงบอุดหนุนแก่ท้องถ่ินดังกลาวมีอยุ่ 2 รูปแบบด้วยกัน คือ
1 เงินถ่ายโอนเพื่อการพัฒนาทั่วไป คือเงินที่ส่วนกลางทกำหนดให้ท้องถิ่นใช้จ่ายเพื่อขัเคลื่อน
โครงการพัฒนาต่างๆ ซึ่งมีมากมายหลายประเภทตั้งแต่โครงการด้านส่ิงแวดล้อม ไปจนถึงการก่อสร้างตลาดซื้อขายสินค้า
2 เงินอุดหนุนเพื่อการปกครองตนเองของท้องถิ่น เงินส่วนนี้มักใช้สำหรับจ่ายเงินเดือนแก่พนักงานราชการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปฏิรูปประเทศ ก็มีการเปลี่นแปลงเกี่ยวกับการเงินการคลังของท้องถิ่นเกิดขึ้น โดยกฎหมายฉบับนี้ระบุว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจะมีแหล่งรายได้ทั้งสิ้น 2 ข่องทาง คือ
เงินรายได้จากภายในท้องถิ่น เช่น ภาษีท้องถ่ิน ภาษียานพาหนะใน้องถ่ินผลกำไรจากกิจการของท้องถิ่น เงินส่วนนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นผุ้เก็บและนำมาใช้จ่ายได้เอง ไม่ต้องส่งเข้าส่วนกลาง
เงินถ่ายโดนจากส่วนกลาง คือ เงินที่ส่วนกลางถ่ายโอนไปให้้ท้องถ่ินทั้งในระดับมณฑลและระับจังหวัดแลนคร โดยกฎหมายฉบับบนี้กำหนดว่าเงินรายได้ของรัฐอย่างน้อยร้อยละ 25 จะต้องถูกจัดสรรให้แก่ท้องถ่ิน เงินที่ส่วนกลางถ่ายโอนให้ท้องถ่ินแล่งได้อีเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ เงินก้อนอุดหนุน แบ่งไดเ้ปฯอีก 2 ปผระเภท คือเงิน ถ่ายโดอนเพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไปมักใช้เพื่อจ่ายเงินเดือนแก่พนักงานขอรัฐในระดับท้องถ่ินและอีกประเภทหนึ่งคือเงินถ่ายโอนเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ เงินก้อนนี้รัฐบาบสวนกลางจะเป็นผุ้กำหนดว่าให้ท้องถ่ินนำไปใช้เพื่อดำเนินการในเรื่องใด ซึ่งสิ่งที่ส่วนกลางกำหนดก็มกจะสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในช่วงเวลานั้นๆ, เงนิปันสวนจากรายได้ของรัฐบาล คือเงินส่วนที่รัฐบาลส่วนกลางถ่ายโอนให้ท้องถ่ิน โดยไม่กำหนดว่าจะต้องนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ใดโดยเฉพาะ ซึ่งการที่ส่วนกลางมอบงบประมทาณให้ท้องถ่ินนำไปบริหารและกำหนดเป้าหมายในการใบ้ไดเองเช่นี้นับว่าสอดคล้องกับหลักการกระจายอำนาจ นั้นคือทำใหองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเข้มแข็งขึ้น มีอำนาจกำหนดความเป็นไปในพื้นที่ของตนมากขึ้น ขณะเดี่ยวกันก็ลดการแทรกแซงกิจการในท้องถ่ินจากส่วนกลางลง
นอกจากที่กล่าวมาแล้ว ในกรณีของมณฑลที่มีสาถนะพิเศษ 3 แห่ง ได้แก่ อาเจะห์ ปาปัว และปาปัวตะวันตก รัฐบาลส่วนกลางก็จะจัดสรรเงินด้อนพิเศษให้แก่มณฑลเหล่านี้เพิ่มเติมอีกดัวย
การบริหารงานบุคคลท้องถ่ิน ในยุคของซูฮาร์โต รัฐบาลส่วนกลางมีบทบาทครอบงำการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานรัฐทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่นโดยมีองค์กรอยู่ 3 องค์กรด้วยกันที่ถูกกำหนดให้รับผิดชอบงานด้านนี้อย่างเป็นทางการ ได้แก่ กระทรวงการปฏิรูปการบริหาร สำนักงานข้าราชการแห่งรัฐ สถาบันรัฐประศาสนศาตร์แห่งชาติ
อย่างไรก็ตาม นอกเหนือจากท้งสามองค์กรที่กล่าวมา ก็ยังมีหน่วยงานอื่นๆ ในส่วนกลางที่มีส่วนร่วมในการบริาหรทรัีพยากรบุคคล เช่น กระทรวงการคัีงและกระทรวงมหาดไทยต่างก็มีส่วนใการกำหนดนโยบายเกี่ยวกับอัตรเวินเดือนและขอบเขตพื้นที่ภารกิจของเจ้าพนักงาน เป็นต้น จึงกล่าวได้่าถึงแม้การกำหนดนโยบายทางงานบุคคลจะมีขึ้นที่ส่วนกลางก็จริง แต่กลับมีหน่ยงานรับผิดชอบหลายหน่วยจนทำให้ประสิทธิภาพของการบริหารงานบุคคลมีใไม่มากเท่าที่ควร ไม่ว่าจะเป้นในด้านการวางแผน การทำงบลประมาณ และด้านอื่นๆ
เมื่อยุคระเบียบใหม่ของซูฮาร์โตส้ินสุดลง กระแสการกระจายอำนาจที่เกิดขึ้นตามมาก็ดูะมือจะส่งผลถึงเรื่องกาบริหารทรัพยากบุคคลในระดับท้องถ่ินด้วย แต่ในความเป็นเจริงแล้วความเปลี่ยนแปลที่เกิดขึ้นกลับมีไม่มากนัก บทบาทและอำนาจาส่วนกลางในการบริหารงานบุคคลของวท้องถ่ินยังคงมีอยู่สูง กล่าวคือ กฎหมายฉบับที่ 22/1999 ซึ่งมีเนื้อหาว่าด้วยการกำหนดขอบข่ายอำนาจขององค์กรปกครองสวนท้องถ่ิน มีการเขียนไว้ในมาตรที่ 76 ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีอำนาจแต่างตั้งโยย้าย กำหนดอัตราเงินเดือน เงินบำนาญ สวัสดิการ รวมถึงการฝึดอบรมต่างๆ ของเจ้าพนักงาน แต่มาตรา 75 ของฏำมหายฉบับเดี่ยวกันกลับระบุไว้ว่า กระบวนการทั้งหมดที่กล่วมาจะต้องดำเนินไปตามที่กฎหมายกำหนด ซึ่งทำให้เกิดความสับสนขึ้ว่าสรุปแล้วท้องถ่ินมีอิสระจากส่วนกลางมากน้อยเพียงใดการบริหารส่วนกลางที่มีหน้าที่ดุแลงานบุคคล
- "ระบบการปกครองท้องถิ่นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน : สาธารณรัฐอินโดนีเซีย", ภานุวัฒน์ พันธุ์ประเสริฐ, วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, 2556.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...