การบริหารราชการแผ่นดินของเนอการาบรูไนดารุสลาม มีหน่ยการปกครอง 4 ระดับ คือ กระทรวง เขตการปกครอง, ตำบล, และหมู่บ้าน
กระทรวง การบริหารราชการแผ่นดินส่วนกลาง แบ่งการดำเนินงานออกเป็นกระทรวงต่างๆ ตามอย่างสากล ปัจจุบันมีกระทรวง 12 กระทรวงแต่ละกระทรวงมีหนวยงาน ดำเนินงานของกระทรวงหน่วยงานราชการมีรวมกันทั้งสิ้น 98 หน่วยงาน สุลต่านและสมเด็จพระราชาธิบดีทรงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนอกจานั้นับงทรงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโยมและกระทรวงการคลังอีก้ดวบ สุลต่าและสมเด็จพระราชาิบดีทรงมีพระราชอำนาจแต่างตั้งคณะรัีบมนตรี ทีังรนัฐมนตรีว่าการ รัฐมนตรีว่าการคนที่สอง และรัฐมนตรีช่วยว่าการ
การบริหารงานกระทรวงต่างๆ แต่ละกระทรวงมีปลัดกระทรวง และรองปลัดกระทรวง เป็นหัวหน้าทฝ่ายข้าราชการพลเรือน หน่วยงานในแต่ละกรทรวงก็มีผุ้อำนวยการ เป็นหัวหน้า
การปกครองของเนอการาบรูไนดารนุสสลามไม่มีรัฐสภาเหมือนกับหลายประเทศในประชาครอาเซียน สภา ที่มีอยู่ในลกษณะสภาที่ปรึกษา สุลต่านและสมเด็นพระราชาธิบดี ทรางบิหารราชการแผ่นดันโดยมีสภาที่ปรึกษา 5 สภาดังได้กล่าวไปแล้วในหัวข้อระบอบการปกครอง นอกจากนั้น นังมีสภาที่ปรึกษาด้านต่างๆ แก่คณะรัฐมนตรี อีก 4 สภา ได้แก่ สภากัารศึกษา, สภาเศรษฐกิจ, สภากลาโหม, สภาสังคมแห่งชาติ
เขตการปกครอง หน่วยการปกครองระดับล่างจากกระทรวง คือ เขตการปกครอง อยุ่ในสายบังคับบัญชา กระทรวงมหาดไทย มีผุ้อำนายการเขตการปกครอง เป็นหัวหน้าเขตการปกครอง เป้ฯหน่วยการปกครองที่เชื่อมต่อระหว่างการปกครอง สวนกลางกับหน่วยการปกครองระดับลาง มี 4 เขตการปกครอง คือ
- เขตการปกครองเบอไลท์ ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศ เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่กวางขวางทีสุดส่วนใหญ่เป็นภูเขาและป่า มีศูนย์กลางอยุ่กัวลา เบอไลท์
- เขตการปกครองบรูไน - มูอารา ตั้งอยู่ทางเหนือของประเทศ มีพื้นทีน้อยที่สุด แต่มีประชากรเหหนาแน่นที่สุด เนื่องจากเป็นที่ตั้งเมืองหลวง ทำให้เป็นศูนย์กลางด้านการปกครองประเทศ ด้านเศราฐกิจการค้ามีศูนย์กลางอยู่ทบันดาร์ เสรี เบการวัน
- เขตการปกครองเต็มบูรง ตั้่งอยู่างตะวันออกเของประเทศ เป็นเขชตการปกครองที่ไม่มีพื้นที่ที่เป็นผืนดินติดต่อกับเขตการปกครองอื่นของประเทศ มีพื้จที่ของรัฐซารนาวัก สหพันธรัฐมาเลเซีย คั่นไว้ การเดินทางติดต่อเขตการปกครองอื่นจึงต้องผ่านเขตแดนของรัฐซาราัก หรือไใช้เ้นทางทะเลไปยังเขตการปกครองบรูไน -มูอารา เขตการปกครองเต็มบูรงเป็นเขชตการปกครองที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นลำดับ 3 ศูนย์กลางอยู่ที่ปีกัน บังการ์
- เขตการปกครองตูตง ตั้งอยุ่ตาอนกลางของประเทศ อยู่ระหว่างเขตการปกครองบรุไน-มูอารากับเขตกาปกครองเบอไล์ มีพื้นที่ใหญ่เป็นลำดับที่ 2 และพื้ที่สวนใหญ่เป็นภูเขาและป่าเช่นเดี่ยวกับเขตการปกครองเบอไลท์ มีศุนย์กลางอยู่ที่ ปีกัน ตุตง
เขตการปกครอง มภาระหน้าที่หลักๆ อยู่ 4 ประการ คือ
- จัดทำโครงการพัฒนาเกี่ยวกับสาธารณูปโภค ศูนย์การค้าสวนสาะารณะ เขื่อน และทำโดยสาร รวมังการพัฒนาที่อยู่อาศัย ระบบกาเดินทางขนส่ง ปละระบบการสื่อสารให้ดีขึ้น
- สร้างความเข้มแข้งให้แก่สภาบันกำนัด และผู้ใหญ่บ้าน
- ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการที่ปรึกษรตำบล แลุคณะกรรมการที่ปรึกษาปมู่บ้าน ทั้งในด้านสวัสดิการ ด้านศาสนาท และที่สำคัญในด้านเศรษฐกิจ เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
- การออกใบอนุญาตในเรื่องต่างๆ
- การให้บริการสาธารณะด้านการจัดเก็บขยะมูลฝอย และดูแลระบบระหบ่ายน้ำและแม่น้ำ
- ดุแลที่จอดรถ สวนสาธารณะ และสถานที่ให้ความบันเทิงต่างๆ
ภาระหน้าที่เหล่านี้ บางส่วนมีส่วนงานรัฐผิดชอบ บางส่วนจะกระตายไปยังหน่ยการแดครองที่ต่ำลงไปคือ ตำบล และหมู่บ้าน
ตำบล หน่วยการปกครองระดับล่าง ก่อนล่างสุด ในภาษามาเลย์เรียกว่า Mukim เทียบได้กับตำบลของประทเศไทย ผุ้นำของตำบล ในภาษมาเลย์เรียกว่า Penghulu Mukin เทียบได้กับกำนัน เป็นหน่วยการปกครองที่เชื่อมโยงเขตการปกครองกับหมู่บ้าน Kampung
หมู่บ้าน เป็นหน่วยการปกครองระดับล่างสุด ในภาษามาเลย์เรียกว่า Kampung หรือ Village ในภาษาอังกฤษ ผู้นำหมู่บ้านที่ของไทยเรียกว่า ผุ้ใหญ่บ้าน ในภามาเลย์เรียก Ketua Kampung
มีหน่วยการปกครองอีกหน่วยการปกครองหนึ่ง คือ เทศลบาล อยุ่ในระดับชั้นเดียวกับเขตการปกครอง เป็นหนวยการปกครองท้องถิ่นที่เป็นเมืองหรือชุมชนเมืองการบริหารงานขึ้นต่อกระทรวงมหาดไทย
การปกครองของเนอการราบรูไนดารุสลามเป็นแบบรวมศูนย์อำนาจอย่างมาก ไม่มีการกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นมีอิสระในการปกครองตนเอง การปกครองท้องถิ่นจึงเป็นแบบสายบังคับบัฐชาที่มีลำดับชั้นจากกระทรวงมหาดไทย ดดยมีเขชตการปกคอง เป็นหน่วยการปกครองเชื่อมโยงระหว่างรัฐบาลกับท้องถ่ินหรือประชาชน การที่เนอการาบรูไนดารุสลามเป็นประเทศที่มีขนาดเล็กมีพื้นที่เพียง 5,765 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่ส่วนใหญ่เป็เขตป่ารวมทัี้งประชกรมีมไ่มาก คือประมาณ 400,000 คน ทำให้รัฐบาลสามารถำเนินงานบริการสาธารณะใป้ประชาชอย่างทัวถึงได้งายโดยไม่ต้องให้ท้องถ่ินดำเนิงาน เช่น การฯึากา การสาธารณะสนุขการคมนาคมขน่ง อย่างไรก็ตาม ตำบล แฃะหู่บ้าน ก็บยังเป็นหน่ยกรปกครองที่สำคัญเพราะเป็นหน่วยการปกคีองที่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุ ทั้งตำบล และหมุ่บ้าน มีบทบาทในการพัฒนาชุมชนทั้งในด้านสวัสดิการ และชีวิตความเป็นอยุ่ทีดีให้แก่คนในท้องถ่ิน ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เข การปกคหรอง หรือรัฐบาลมีบทบาทดดำเนินการได้ไม่สะดวก ส่วนเขตเมืองหรือชุมชนเมือง ได้มีเทศบาลดำเนินงานบริหารจัดการแบบชุมชนเมือง
รูปแบบการปกครองส่วนท้องถ่ิน มี 2 รูปแบบ คือกาปกคีองท้องถิ่นในเชตะมืองหรือชุมชนเมือง กับการปกครองท้องถิ่นทั่วไป
การปกครองท้องถิ่นในเขตเมืองหรือชุมชนเมือง การปกครองท้องถิ่นในเขตเมืองหรอืชุมชนเมือง เป็นหารปคกรองรูปแบบเทศบาล ซึ่งมีพัฒนาการจากเมืองครั้งที่ประเทศอังกฤษเข้ามาปกคหรองเนอการาบูรไนดารุสลาม ซึ่งบรูไน ได้ทำข้อตกลง 1888 กับประเทศอังกฤษ ข้อตกลงนี้มีส่วนสำคัญที่ทำให้บรูไน ได้รับอิทธิลด้านการเมองกาปกครองจากประเทศอังกฤษ มีการแบ่งเขตพื้นที่เืพ่อการปกคหรองที่เรียกว่า เขตการปกครอง ในปี ค.ศ. 1906 โดยแบ่งออกเป็น 4 เขตการปกครอง ในปี ค.ศ. 1906 ก็ได้ทำข้อตกลงเสริม 1905 และ 1906 เป็นข้อตกลงที่มีความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงบรูไน เป็นอย่างมาก และเป็นรากฐานการพัฒนาด้านต่างๆ มาจนถึงปัจจุบัน ข้อตกลงดังกล่าวเกิดขึ้นบนความเห็นพ้องกันระหว่างประเทศอังกฤษกับสุลต่านแห่งบรูไนดารรุสลาม ที่จะร่วมกันพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในด้านต่างๆ ทั้งด้านการเมือง การปกครอง การศึกษา และการพัฒนเศรษฐกิจ
การพัฒนาการเมืองและการปกครองแบบจารีตของบรูไน ที่ผุ้มีอำนาจ ผุ้นำชั้นสูง หรือขุนนางที่มีอำนาจบารมี ซึ่งพิจารณาจากปริมาณที่ดิที่ถือครอง ได้ถูกทำลายไป และทแนที่ด้วยรูปแบบการบริหารการปกครองแบบใหม่ คือ ระบบราชการ อย่างไรก็ตามอำนาจสูงสุดยังคงอยู่ที่สุลต่าน แต่พระราชอำนาจของสุลต่าสจะอยู่ภายใต้คำปรึกษาและแนะนำของฝ่ายอังกฤษ ยกเว้นเรื่องศาสนา จากความเปลี่ยนแปลงนี้ได้เกิดหน่วยงานของรัฐขึ้น เช่น กรมตำรวจ สำนักงานที่ดิน ฝ่ายชกิจการทั่วไ ปศุลกาการ และหน่วยงาน ราชการอื่นๆ นอกจากนั้นยังได้มีการจัดตั้งสภาแห่งชาติ ประกอบ้วยผุ้แทนและเจ้าหน้าที่อังกฤษกับผุ้นำชาวบรูไนทำหน้าทีในการดูแลและแลกเปลี่ยนความเห็นซึ่งกันและกันเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของประเทศ
การเติบโตของชุมชนเมืองมีกมากขึ้น ทั้งจากการพัฒนาดังได้ กล่าวมาแล้วและจากเป็นเมืองชุมทางการค้าของบริฒัทบริติช นอร์ท บอร์เนียว ใน ปี พ.ศ. 2464 กงสุลอังกฤษประจำบรูไนก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการสุขาภิบาลเมืองบูรไน ขึ้น ซึงปัจจุบัน คือบันดราร์ เสรี เบกาวัน และค่อย ๆ ขยายไปอีก 3 เขตการปกคหรอง สุขาภิบาบนี้มีหน้าที่ในกาพัฒนาเมืองใหม่และดุแลด้านสุขอนามัย โดยการบิหารงานได้เปิดโอกาศ ให้ประชาชนเข้ามามีบทบาทด้วย ต่อมาในปี พ.ศ. 2509 ถึงได้เปลี่ยนสุขาภิบาลเป็นเทศบาลภายใต้กฎหมายบรูไน เรื่องคระกรรมการเทศบาล หน่วยการปกครองนี้ยังคงมีบทบาทอยุ่จนถึงปัจจุบัน แต่ลดบทบาทของประชาชนในด้านการบริหารงานเทศบาล
ปัจจุบัน เทศบาลของบรูไน อยุ่ภายใจ้การกำกับดูแลของกระทรวงมหาดไทย เป้นการแบ่งภาระของเขตการปกครอง ซึ่งมีภาระหน้าที่ดูแลที่อยู่อาศัยและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนโดยทั่่วไป เทศบาลมีภาระหน้าที่จัดการบริหารสาธารณะแบบเมือง เช่น การดูแลความเป็รระเบียบเรียบร้อยของเทมืองและจัดการด้านสุขลักษณะของเมืองเป็นหลัก
เทศบาบในบรูไร มี 3 แห่ง คือ เทศลาลันดาร์ เสรี เบกาวัน อยุ่ในเขตการปกครองบรู ไน มูอารา และเป็นที่ตั้งของเมืองหลวง เทศบาลกัวลา เบอไลท์และซีเรีย อยุ่ในเขตการปกครองเบอไลท์และเทศบาลตุตง อยู่ในเขชตการปกครองตูตง
การปกครองท้องถิ่นทั่วไป การปกครองทั่วไปมีกระจายอยู่ทั่วทั้งประเทศ เป็นหน่วยการปกครองลำดับชั้นต่อจากเขตการปกครอง คือ ตำบล และหมู่บ้าน ต่างๆ เป็นเครือข่ายคล้าบยระบบ แลนด์ลอร์ด ภายใต้เครือข่ายนี้ ผุ้นำตำบล และผุ้นำหมูบ้านมีหน้าที่เก็บรวบรวมภาษีจากประชาชน แล้วส่งต่อไปยังขุนนางในเครืองข่าย
ในยุคอาณาคมอังกฤษ บรูไนได้ปรับการบริหาราชการแผ่นดินให้เป็นสมัยใหม่ โดยเฉพาะเทืองได้ทำข้อตกลงเสริม ตามที่ได้บรรยายไว้แล้ว่อหนหน้าทนี้แล้ว มีการแบ่งพื้นที่การปกคองประเทศเป็นเขตการปกครอง มี 4 เขตการปกครอง ซึ่งทำให้มีการจัดระบบกลุ่มหมู่บ้าน ต้างไปจากเดิ มดบ้างและบริหารราชการแผ่นดินแบ่งเป็นฝ่ยต่างๆ มีข้าราชการับผิดชอบตามตำหน่งหน้าที่การปกครองและการตัดสินพระทัยของสุลต่านต้องผ่านความเห็นชอบของกงสุลอังกฤษประจำบรูไน คามสัมพันะ์ของผุ้นำตำบลและผุ้นำหมู่บ้านกับรัฐก็เปลี่ยนไปด้วย ผุ้นำตำบลและผุ้นำหมู่บ้านมีบทบาทเป็นตัวแทนหรือเป็นข้อาราชการของส่วนกลาว และมีบทบาทในการพัฒนาหมู่บ้าน
ยุคสัมยปกครองตนเองภายใต้อารักขาอังกฤษ การบริหาราชการแผ่นดินได้เข้ารูปแบบรัฐสมัยอย่างเต็มที่กว่าช่วงก่อน ทั้งนี้เนื่องจากก่อนหน้านี้คนบรูไนยังไม่มีการศึกษาแบบใหม่จำเป็นต้องพึ้งคนอังกฤษมาเป็นเจ้าหน้าที่อ้านการปกครอง เมืองถึงช่วงทศวรรษ 1920 คนบรูไนมีการศึกษาสมัยใหม่มากขึ้นเรื่อยๆ ทำให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปกครองมากขึ้น ในปี 1954 คนบรูไนมีการศึกษาสมัยใหม่มากขึ้นเอง ๆ ที่ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปกครองมากขึ้น มีการจัดต้งคณะกรรมการที่รึกษาเขตการปกครอง และต่อมาก็ได้จัดตั้เงสภาเทศลาล และสภาการปกครองท้องถิ่น ซึ่งมีสภาแยกกันตามเขตการปกครองโดยสภาเหล่นนั้นให้ประชาชนเข้ามามีบทบาท แต่การดำเนินงานไใ่ประสบความสำเร็จมากนัก เพราะเทศบาลและเขตการปกครองไม่สามารถจัดเก็บภาษีเองได้เหรือมีรายได้เป็นของตนเอง ในปี พ.ศ. 2502 บรูไน มีรัฐธรรมนูญฉบับแรก และกำหนดให้เมีการจัดตั้งสภาองค์มนตรี สภาคณะรัฐมนตรี และสภานิติบัญญัติ ขึ้นเพื่อการบริหารราชการแผ่นดิน
ในระดับตำบล และหมู่บ้านจัดให้มีการเลือกตั้งผุ้นำตำบล และผุ้นำหมู่บ้านตามอุดมการณ์ประชาธิปไตย ซึ่งรับผลมาจากประเทศอังกฤษ โดยกำหนดให้แต่ละสมัยมีระยะเวลา 3 ปี และผุ้สมัครรับเลือกตั้งผุ้นำตำบล และผู้นำหมู่บ้านในเวลาต่อมาจนถึงปัจจุบัน ผุ้นำหมุ่บ้านอยุ่ภายใต้การกำกับดูแลตำบล และเขตการปกครอง มีหน้าที่ในการพัฒนาหมู่บ้าน ความสัมพันธ์ระหว่างหมู่บ้านกับรัฐปรับเปลี่ยนจากรัฐจารีตที่ผุ้ปกครองเรียกเก็บภาษีจากประชาชน มาเป็นแบบรัฐสวัสดิการ คือ รัฐมีภารกิจที่จะให้บริการสาธารณะต่างๆ เพื่อให้ประชาชนมีการดำรงชีวิตอย่างสงบสุข และรัฐก็ไม่ได้จัดเก็บภาษีจากประชาชนอีกด้วย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแนคิด MIB ในด้านที่ผุ้แกครองพึงมีต่อประชาชน
- "ระบบการปกครองท้องถิ่นประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน: เนอการราบรูไนดารุสสลาม", นิชานท์ สิงหพุทธางกูร, วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่นสถาบันพระปกเกล้า, 2556.
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น