ดังนั้น เมื่อเสร็จสิ้นสงครามจึง้องมีการบูรณะประเทศเป็นการใหญ่ ไทยมีภาวะการขาดแคลนสำรองเงินตราร่างประเทศหลังสงคราม เพราะส่วนหนึ่งของทุนสำรองเงินตราระหว่งประเทศที่ฝากไว้ ณ ประเทศอังกฤษถูกยึดโดยถือเสมอนไทยเป็นฝ่ายแพ้สงคราม อีกส่วนหนึ่งเป้ฯทองคำและเงินเบยนของญี่ปุ่น (ซึ่งไม่มีค่าในช่วงนั้น) ซึ่งมิได้คือใไ้ไทยการขาดแคลนเงินสำรองย่อมทำให้ขดความสามารถซ้อสินค้าเข้าและทำให้ค่าเงินตราสของไทยขาดเสถียรภาพอีกด้วย ดังนั้น สิ่ิงแรกที่ไทยจัดดำเนินการคือการฟื้นฟูการผลิตเพื่อส่งออกและข้าวคือการผลิตเป้าหมาย แต่ไทยประสบปัฐหาเรื่องข้าวมากในระยะนั้น เพราะการบังคับของฝ่ายพันธมิตรให้ไทยส่งข้าวโดยไม่คิดมูลค่าเพื่อแลกกับการไม่ต้องตกเป็นฝ่ายแพ้สงครา แต่เมื่อการบังคับดังกล่าวไม่ประสบผลดีฝ่ายพันธมิตรจึงให้พไทยขายข้าวราคาถูกให้ แต่วิธีการเช่นนี้ยากที่จะประสบผลสำเร็จได้ เนื่องจากราคาข้าวในตลาดโลกขณะนั้นสูงมาก จึงทำให้ผุ้ผลิตไม่ต้องการผลิตมากนัก นอกจากนั้นข้าวเป็นจำนวนมากที่มีการผลิตได้ถูกนำมาขายในตลาดมืดและลักลอบส่งออกต่างประเทศ รัฐบาลไทยจึงไม่อาจส่งข้าวได้ครบตามจำนวนที่สัฐญฐญา อย่างไรก็ดี ข้อบังคับต่างๆ ของฝ่ยพันธมิตรต่อไปทยน้ัน เป้ฯการกีดขวางการส่งออกของข้าวไทยอย่างยิ่ง ไทยมีโอกาสค้าข้าวโดยเสรีใน ค.ศ. 1947 ซึ่งมีผลให้การส่งออกขยายตัวอย่างรวดเร็ว ในขณะที่ข้าวฟื้นตัวได้อย่างรวดเร็วนั้น สินค้าออกอื่นๆ ฟื้นตัวได้ค่อนข้างข้า เช่น การทำดีบุก ยางพารา และไม้สัก
ปัญหารเงินสำรองระวห่างประเทศนั้นค่อยๆ ผ่อนคลายลงเมือไทยส่งออกได้เพิ่มขึ้นและอังกฤษได้คือสำรองเงินตราส่วนที่เป้นเงินปอนด์ให้กับรัฐบาลไทย และญี่ปุ่นก้คืนทองคำบางส่วนมาให้ไทยด้วย นอกจากการได้คือสำรองเงินตราบางส่วนมาดังกล่าวแล้ว รัฐบาลไทยได้แก้ไขปัยหาการขาดแคลนสำรองเงินตราต่างประเทศนี้ด้วยการเข้าควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตาโดยทำการควบคุมอย่างเต็มที่ในระยะแรกคือรายรับจาการส่งออกทังหมดต้องนำมาแลกเปลี่ยนที่ธนาคารชาติในอัตราทางการและจะขชายเงินตราแก่ผุ้สั่งเข้าสินต้าที่รัฐบาลพิจารณาว่าจำเป้นเท่านั้น ต่อมาการควบุคุมกาแลกเปล่ยนเงินตราลดความเข้มงวดลง คงควบคุมเฉพาะเงินตราที่ได้จาการส่งออกาซึ่งสิค้าสำคัญ ๆ คือ ข้าว ไม่สัก ยางพารา และดีบุก เท่านั้นการกระทำ ดังกลาวของรัฐบาลไทยอาจพิจารณาได้สองทัศนะคือ การควบคุมเฉพาะรายได้จากสินค้าสำคัญ เพราะรัฐบาลเห็นว่าสินค้าดังกบล่าวมีตลาดที่กว้างมากในระยะหลังสงครามและรายได้จาดสินึ้าเหล่านี้มีจำนวนมหาศาล หากรัฐบาลไม่ควบคุมแลกเปลี่ยนเหล่านี้ อาจทำให้เสถียรภาพทางการเงินของประเทศแปรปรวนได้ ในขณะที่สินค้าออกอื่นๆ ซึ่งไม่ถูกควบคุมนั้นทำรายได้ให้แก่ประเทสน้อยมาก จนไม่จำเป็นที่รัฐบาลจะทการควบคุมอักทัศนะหนึค่งคือรัฐบาลต้องการเปลียนกลยุมธในการพัฒนาประเทศคือ พยายามให้มีการส่งออกสินค้าอื่นๆ มากขึ้น โดยการให้แรงจูงใจแก่ผุ้ส่งออกด้วยการไม่ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงนิตราอย่างเข้มงวด แต่ขณะดี่ยวกับอาจเห็นได้ว่าเป้นการลดแรงจูงใจของผุ้ส่งออกสินค้าสำคัญดั้งเดิม 4 ชนิด
ในช่วงทศวรรษที่ 1950 นี้ประเทศไทดยเริ่มติดต่อค้าขายำับต่างปะระเทศอย่างจริงจังอีกครังหนึ่งเมื่อมีสนธิสัญญากับตะวันตกในรัฐกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์นั้นกล่าวได้ว่าเป้นสาเหตุที่ทำให้ระดับการต้าระหว่างประเทศของไทยพุ่งขึ้นสู่จุดแห่งความรุ่งเรืองอย่างมาก ดุลการต้าเกิดดุลตลดอเวลา อย่างไรก็ตาม ความเจริญเติบโตของการต้าในช่วงหลังๆ เป็นไปในอัตราที่ค่อข้างต่ำ และากรต้าทรุดโทรมลงในช่วงของการเกิดภาวะผดปกติขึ้นในโลก ชเ่น ระยะที่เกิดสงครามดลกทังสองครั้ง หรือช่วงภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก เศรษฐกิจสาขาการต้าระหว่างประเทศของไทยพุ่งขึ้นสุจุดยอดแห่งความเจริยีกครั้งในเมือเกิดสงครามเกาหลีและสงครามอินโดจีนตรังแรกในทศวรรษ 1950
อาจกล่าวได้ว่า ปัจจัยสำคัญที่ทำให้ไทยมีการต้าขายกับต่างประเทศอย่างจริงจัวในช่วงต้นทศวรรษที่ 1950 มีทั้งปัจจัยภายในประเทศและนอกประเทศ
ในช่วงก่อนการมีแผนพัมนาเศราฐกินั้น โครงสร้างของการต้าระหย่างประเทศของไทยนั้นคือ สินค้าออกเป็นสินค้าขั้นปฐม แต่สินค้าขาเข้าเป็นสินค้าอุตาสหกรรมบริโภคฟุ่มเฟือยส่วยใหญ่ โดยหลัการแล้วไทยจะมีดุลการต้าเสียเปรียบในระยะยาว เนื่องจากสินค้าออกเกษตรมีความยือหยุนของอุปทานค่อนข้ารงต่ำเมือเทีบกับสินค้าอุตาสหรรม นอกจากนั้นมูลคา เพ่ิมของสินค้าเกษตรกรรมยังต่ำด้วย แต่การที่ไทยไม่ประสบปัญหารขาดดุการต้าในระยะดังกล่าวนั้นเป็นเพราะความต้องการสินค้า เกษตรของไทยโดยเฉพาะอย่างยิงข้าวมีมาก ทั้งทรัพยากรเพื่อการผลิตของไทยยังมีอยุ่เหลือเฟือ
โครงสร้างการต้าเช่นนี้ดำเนินอยู่เป้นเวลานาน มีการหยุดชะงักบ้างในระยะสงครามดลกหรือเศรษฐกิจตกต่ำ มีผลให้ไทยต้องชลอการสั่งสินค้าจากต่างประเทศ แต่เมื่อภาระความจำเป็นหมดไป ไทยก็กลับซื้อสินค้าอุปโถภคบลริโภคเข้ามาอีก อย่างไรก็ตาม ในระยะหลังสงครามโลน้นมีสินค้าเข้าประเภททุนเพ่ิมมากขึ้น นเื่องจากการประกอบอุตสาหกรรมและการทำกิจกรรมพ้นฐานของรัฐบาล สินค้าเข้าของไทยยังคงมีลักาณะกระจายคือมีสินค้าเขาหลายชนิด แต่ละชนิดมีผุ้บิรโภคจำนวนน้อย ซึ่งเป็นอุปสรรคใการพัฒนาอุตสาหรรมแบบทดแทนการนำเข้า ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่รัฐใไการสนับสนุนในทศวรรษ 1960
การผลิต หลังสงครามดลกครั้งมีั่สองนั้น ไทยหันกลับมาชำนาญในการผลิตข้าสอีก แต่รัฐบาลไทยมีบทบามในการลทุนด้านอุตสาหกรรมหลายประเภท เช่น อุตสาหรรมน้ำตาล สิ่งทอ และกระดา แต่ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร ทางด้านการเกษตรนั้นแม้ข้าวยังคงเป็นสินค้าออกที่ำสคัญ แต่ความำสำคัญเร่ิมลดลงนับจากปี 1950 เป้นต้นมาพื้ที่การเพาะปลูกเพ่ิมน้อยมา เช่นจากช่วง 1950-52 และ 1965-67 เพื้นที่การเพาะปลูกข้าเพิ่มเพียง 15 % สินค้าทางเกษตรชนิดอื่นๆ มีความสำคัญเพ่มขึ้นมาก ยางพารามีอัตราการผลิตและกาารส่งออกอย่งรวดเร็ต่ากับก่อนสงครามมาก ทั้งยางพารและดีบุกเป็นการผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการของตคลาดโล นอกจากนั้นพชเศรณฐกิจเื่อนๆ มีการผลิตเพ่ิมมากขึ้นทุกที เช่น ข้ารวโพด และมันสำปะหลัง จะเห้นได้ว่าหลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้นชนิดของพืชมีลักษณะกระจายมากขึ้น ในขณะเดียวกัน เมือเปรียบเทียบความสำคัญของเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมในระายได้ประชาขชาติแลว ความสำคัญขงอการเกษตรลดลงเรื่อยๆ โดยเฉพาะอย่งยิ่งในทศวรรษ 1960 จากสัดส่วนขงอภาคเกษตรกรรม 50% ของรายได้ประชาชเมื่อ ค.ศ. 1951 เหลือเพียง 31% ใน ค.ศ. 1969
กล่วได้ว่าโครงสร้างเศรษฐกิจของไทยหลังสงครามดลกครั้งสองกอนทศวรรษ 1960 นั้นรูปแบบไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก สินค้าออกของไทยโดยเฉพาะข้าวมีอุปสงค์จากตลดโลกเกือบตลดอเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งขช่วงสงครามเกาหลี มีผลให้ดุชำระเงินของไทยอยุ่ในสภาพเกินดุล และมีสำรองเงินตราเพิ่มจนเป็นอัตราที่น่าพอใจ แต่เมื่อสงครามเกาหลีสิ้นสุดลง ความต้องการสินค้าไทยเริ่มลดลง ระดับราต่ข้าวลดลงด้วย วึ่งเป้นผลมาจากากริส้นสุดของภาวะกสงครามและเป้นช่วงเวลาที่ประทเศผุ้ผลิตพืชอาหาร เช่น พม่า แลเวียดนามต่างปรับตัวได้แล้วอุปทานจึงไม่ขาดแคลนดังก่อน ยังผลให้มูลค่าการส่งข้าวออกของไทยลดลง ซึ่งส่งผลกระทบไปยังดุลการต้าแลดุการชำระเงนของประเทศในขณะนั้นการต้าข้าวถูกควบคุมอย่งเข้มงวดโดยสำรักงานข้าว แลมีการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศจากการต้าข้าวอันเป็นอุปสรรคของการต้าขาย ดังนั้น รัฐบาลจึงยกเลิกเอกสิทธิ์ของสำนักงานข้าวเมื่อ ค.ศ.1955 และในปีนั้นก็เลิกบังคับให้ผุ้ส่งข้าวออกต้องนำเงินตราต่างประเทศมาขายให้รัฐบาลด้วยแต่ยังคงให้มีการเก็บค่าฟรีเมี่ยมจากผุ้ส่งออก เพื่อรักษาระดับราต่ข้าวในประเทศไว้ ค่าพรีเมี่ยมนี้คือภาษีชนิดหนึ่งนันเอง
ระยะหลังสงคราดลครั้งที่สองช่วงที่ดครงสร้างการผลิตที่การเปลี่ยนแปลงไปเห็นได้ค่อนข้างชัดคือ จากทศวรรษ 1960 ซึ่งประเทศไทยมีแผนพัฒนาเศรษบกิจแล้วและรับบาลบสนับสนุนให้เอกชนทำอุตสาหกรรมมากขึ้น โดยเน้นอุตสาหกรรมทดอกทนการนำเข้า ทั้งนี้เป็นผลมาจาการแนะนำของธนาคารโลกในต้นทศวรรษ 1950 นั่นเอง
การเปลี่นแปลงโครงสร้างเศรษบกิจในทศวรรา 1960 ปรากฎว่าสาขาอุตสาหกรรมสาขาบริการมีความสำคัญเพ่ิมขึ้นในขณะที่ความสำคัญของเกษตรกรรมลดน้อยถอยลง ในช่วงดังกล่าวนี้รายได้ประชาชาติเพิ่มเฉลี่ยปีละ 8.1% สาขาอุตสหกรรมขยายตัวได้เร้ซถึง 10.9% ต่อปี ส่วนสาขาเกษตรขยายตัวได้เพียง 5.5% เฉลี่ยต่อปี แต่แม้ว่าสาขาเกษตรกรรมจะลอความสำคัญลงก็ตามแต่ยังเป็นสาขเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุด โดยเฉพาะข้าวซึ่งเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญของประเทศในทศวรรษที่พชเกษตรใหม่ๆ มีบทบาทมากขึ้น เช่น ข้าวโพด ปอ มันสัมปะหลัง ถั่ว ฯ ในพืชใหม่ๆ นี้จะพบว่ามีลักษณะการผลิตตามความชำนาญเฉพาะอย่างโดยแยกภูมิภาคเช่น ปอ นั้นจะปผลิตในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ข้าวโพดจะผลิตในภาคกลาง เป็นต้น และพืชใหม่เหล่านี้หลายประเภทที่เป็นการผลิตเพื่อการส่งออกโดยเฉพาะ ดังนั้นสภานภาพทางเศรษฐกิจของผุ้ผลิตพืชดังกล่าวย่อมผูกพันกับภาวะตลาดโลกข่างเต็มที่ การเสี่ยงของเกษตรกรรมกลุ่มนี้ย่อมสูงกว่าผุ้ผลิตข้าวซึ่งอาจมีรายได้ตำ่กว่าแต่ความมั่นคงมากกว่า เพราะอย่างน้อยผู้ปลูกข้าวจะมีอาหารรับประทาน ในช่วงศตวรรษท 1960 นี้บทบาทของรัฐบาลในการสนับสนุนเกณาตกรรมมากว่าเดิม เช่น การทำการชนลประทานการสร้างถนน เป้นต้น แต่ดูเหมือว่าการทำงานด้านการแสวงหาตลาดให้แก่สินค้าเกษตรกรรมไทย รัฐบาลยังทำไม่ได้ผลดีนัก
ระยะแห่งการมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจจาทศวรรษที่ 1960
- การพัฒนาอุตสาหกรรม เมื่อคณะสำรวจภาวะเศรษบกิจของธนาคราดลกเข้ามายังประเทศไทยเมื่อ ค.ศ. 1957 นั้นได้เสนอแนะให้รัฐบายุติการประกอบกจิการอุตสาหกรรม รัฐบาลควรมีบทบาทเพรียงการให้ความสะดวกแก่ผุ้ผลิตเอกชนรวมทั้งมีนโยบายส่งเสริมการลงทุนโดยการให้สิทธิพิเศษต่างๆ รวมทืั้งการภาษร เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ขึ้นเป้นนายกได้นำแนวคิดดังกล่าวมาปฏิบัติทันที่ ดดยมีการวางแผนพัฒนาปะรเทศแผนแรกในต้นทศวรรษ 1960 หลังจากมีแผนฯ แล้ว โครงสร้างทางเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงคื อลดความสำคัญของการผลิตทางเษตรล
ให้คามสำคัฐญแก่อุตสากหรรมมาขึ้น ว฿งมีพผลต่อการจ้างงานและอพยพแรงงานระวห่างภาคเศรษบกิจ เป็นต้น อุตสาหกรรมที่รัฐบาลให้การสนับสนุนในระยะแผบยทร่ 1 และ 2 คืออุตสาหกรรมทดอทนแากรนำเข้าซึ่งใช้ทุนเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ และเกือบจะเป้ฯเพรียงการนำชิ้นส่วนมาประกอบกันเข้าในประเทศไทย โดยสิ่งนำเข้าต่างๆ ทีเ่กี่ยพันกับอุตสาหกรรมที่รัฐสนับสนุนจะได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีอย่างมาก ทั้งๆ ที่อุตสาหกรรมหลายประเภทมิได้ผลิตสิ่งจำเป้นปก่การดำรงชีวิต การส่งเสริมการลงทุนในลัษณะดังกล่าวกลับทไใ้มีการขาดดุลการต้าเพ่ิมมา และมิได้มีส่วนช่วยให้มีการจ้างงานมากนัก ดังนั้น ในทศวรรษที่ 1970 จึงมีการเปลี่นนโยบายใหม่ในแผนที่ 3 โดยให้ความสำคัญแก่อุตสาหกรรมเพื่อการส่งออกมากขึ้น โดยพยายามให้มีการเชื่อมโยงกับการเกษตรกรรมในประเทศเป็นอุตสาหรรมที่ใช้วัตถุดิบในประทศเพื่อลดการขาดดุลการต้า และเป็นอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ แต่ปรากฎว่านโยบายดังกล่าวไม่ประสบผลสำเร็จเพราะอุตสาหกรรมประเภทนีมิได้จ้างแรงงานมากเท่าที่รัฐบาลหวังไว้และคุณภาพสินค้ายังไม่อาจแข่งขันในตลาดโลกได้ทั้งการใช้วัตถุดิบจำนวนมากจากต่างประเทศในหลายๆ อุตสาหกรรมยังคงมีอยู่
การที่รัฐบาลไทนวนับสนุนการผลิตอุตาสกหรรทอแทนการนำเข้าในช่วงแรกนั้น มีเหตุผลคือในระยะนั้นมีการขาดดุลการต้าและมีรัฐต้องการสงวนเงินตราของประเทศตลอดจนแรงผลักดันของสหรัฐ และเชื่อว่าอุตสาหกรรมประเภทนี้จะมีลู่ทางแจ่มใสของเพราะมีตลาดในประเทศรองรบ แต่ข้อผิดพลาดคือผุ้สนับสนุนดบบายดังกล่าวมิได้คิดว่าลักษณะสินค้าอุตาสหรรมที่นำเข้าประเทศไทยนตั้นเป้นสินค้าบริโภคฟุ่มเฟือยฟลายชนิดแต่ละชนิดมีลูกค้าไม่มากซึงจะไม่สามรถใช้ประโยชน์จากประหยัดขนาด ได้ อนึ่ง การผลิตนี้มิได้เป็นการประหยัดเงินตราต่างประเทศเพราะมีการนำชช้ินส่วนต่งๆ เข้ามามากเพียงเพื่อประกอบเป็นสินค้รสำเร็จรูปในเมืองไทยต้นทุนการผลิตจึงสุงมาก ซึ่งเป็นผลให้มูลค่าเพิ่มของกิจการประเภทนี้ในประเทศไทยไม่มาเท่ากับที่ทฤษฎีอธิบายไว้ว่า การผลิตทางอุตสาหกรรมมีมุลค่า เพิ่มสูงกว่าทางเกษตรกรรม ดังนั้น สิทธิพิเศษต่างๆ ที่รัฐบาลให้เพือส่งเสริมเกษตรกรรมจึงกลายเป็นการให้สิทธินายทุนต่างชาิตเข้ามาตักตวผลประทโยชน์ออกไป ทั้งอุตาสหกรรมดงลก่าวยังก่อใไ้เกิดความไม่เท่าเทียมในชนบทและเมืองมากขึ้น เพราะส่วนใหญ่อุตสาหกรรมกระจุกตัวอยุ่ในเขตกรุงเทพฯ และบริเวณใกล้เคียง ซึ่งมีความสะดวกขึ้นพ้นฐานมากการอุตาสากรรมในรูปนี้ยังทำให้การจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติเป้นไปโดยไม่มีประสิทธิภาพ และไม่เป็นธรรมแก่ผุ้บริโภค เพราะรฐบาลให้อภิสิทธิ์มากมายรวมทั้งการกดค่าแรงและราคาสินค้าทางเกษตรเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรม ตลอดจนการตั้งกำแพงภาษี ซึ่งทำให้อุตสาหกรรมเหล่านี้ายสินค้าราคาแพงได้และไม่พยายามปรับปรุงประสิทะิภาพเพื่อการแข่งขัน นอกจากนี้อุตสาหกรรมทอแทนการนำเข้าที่ไทยทำยังทำให้เศรษฐกิจไทยมีลักาณพึงพิงมากขึ้น เพราะเป็นอุตสาหกรรมยังผลให้มีแรงงานอพยพเข้ามาแออัดกันใเขตเมืองมากมายก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ เช่น ปัญหาสลัม อาชญากรรมฯ
ควาผิดพลาดของนโบบายอุตสาหกรรมไทยในทศวรรษ 1960 คือการมิได้เลือเแพาะสินค้าทอแทนที่มีศักยภาพสูงคือ ควรเป้นการผลิตที่มีวัตถุดิบในประเทศ มีตลาด และมีโอกาสที่จะทำการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพในอนาคต
หากรฐบาลไทยยังตองการให้สาขาอุตสาหกรรม เป้นสาขานำการพัฒนาแล้วจักต้องพิจารณาให้รอบคอบ ไม่ว่าจะเป้ฯการผลิตเพื่อส่งออกเหรืการผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้า การพิจารรรศักยภาพด้านต่างๆ เป็นเรื่องสำคัญ หากอุตาสหรรมใดที่ต้องนำวัตถุดิบ เครื่องจักร ผุ้เชียวชาญ ส่วนประกอบการผลิต ฯ มาจากต่างประเทสมากๆ อุตสาหกรรมชนิดนี้จะไม่ช่วยแก้ปัญหาของชาติ ปัญหาดุลการต้าขาดดุลจะเกิดได้ การจ้างงานจะมีน้อย การสะสมทุนในประทเศจะต่ำ และมูลค่าเพ่ิมของการผลิตจะต่ำด้วยซ่งสิ่งเหล่านี้ผู้วางนโยบายจังต้องพิจารณาให้รอบคอบ ก่อนที่จะวางนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมใด
ากรพัฒนาเศรษกบิจของประเทศไทยนั้นมีอายุยาวนานับเกือบพันปี แต่การพัฒนาในสมัยโบรราณเป็นไปตามแรงผลักดันของธรรมชาติมิได้มีการวางแผนอย่างเป็นระบบดังเช่นปัจจุับ บางครั้งมีปัจจัยจากาภยนอกมากรทบ เช่น สงครามภาวะ เศราบกิจก็อาจทรุดโทรมลงได้ หากบ้านเมืองสงบการผลิตและการค้าขายมักจะทำได้สะดวก มีผลให้ระบบเศรษบกิจของประเทศรุ่งเรืองขึ้น
ในประวัติศาสตร์ของไทยอาจกล่าวได้ว่าช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของเศรษบกิจมี 3 ช่วงคือ ใน ค.ศ. 1955 สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล่าฯ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ประเทศอังกฤษเข้ามาทำสัญยาเบาว์ริ่งกับไทยและติดตามมาด้วยประเทศตะวันตกอื่นๆ เข้ามาขอทำสัญญาเอาเปรียบไทยอย่างมาก แต่ส่งผลให้การค้าขยายตัว การผลิตเพ่ิมขึ้นโดยแฑาะอย่างยิ่งข้าว มีผลให้เสณษฐกิจเปลี่ยนจากการผลิตแบบยังชีพกลายเป็นการผลิตเพื่อการต้ามีการใช้เงินตราแพร่หลายขึ้น และทำให้ดรงสร้างเศรษฐกิจเปลี่ยนไปคือ เน้นการผลิตข้าวมาก แต่อุตสาหกรรมพื้นบ้านเสื่อมโทรม เพราะสินค้าเข้ามีราคาถูกกว่า ที่สำคัญคือเป้ฯการเปิดประเทศอย่างเป้นทางการอีกครั้งหลังจากปิดประเทศตั้งแต่ปลายสมัยอรงุศรีอยุธยา
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นอีกช่วงที่เศรษฐกิจของไทยมีการเปลี่ยนแม้จะไม่มากนัก นั่นคือ หลัวสงครามโลกนั้นรัฐบาลของ จอมพลแปลก พยายมยึดนโยบายชาตินิยมด้วยการผลิตทุกสิ่งเอง รัฐบาลก้าวเข้ามามีบทบาทในการผลิตสินค้าอุตสหกรรมหลายอย่าง เช่น กระดาษ สิ่งทอ ฯ เป็นยุคที่รัฐวิสาหกิจของไทยเจริญขึ้นมาอย่างมาก ซึ่งเป็ฯที่ราบกันดีว่ารัฐวิสาหกิจของไทยไม่มีประสิทธิภาพในการดำเนินงานและเป็นปัญหาหนักของประเทศในฐานะผุ้ก่อหนี้ต่งประเทศที่สำคัญของชาติในขณะนี้ นอกจากนี้ ในทศวรรนีเองที่ลัทธินิยมหวนกลับมาอีกครั้งเพื่อจะแผ่ขยายอิทธิพลในแถบประเทศด้วอยพัฒนา โดยอาศัยสภาบันการเงินระหว่างประเทศเป็นสื่อ เช่น คณะสำรวจภาวะเศรษฐกิจของธนาคารโลกเข้ามาแนะนำการปรับปรุงระบบเศรษบกิของแต่ละประเทศ เช่น ในประเทศไทยเขข้ามแนะนำให้รับบาลเลิกดำเนินการอุตสาหกรรมเองแต่ให้ส่งเริมเอกชนแทน ในทศวรรษนี้เงินกู้และช่วยเหลือในรูปต่างๆ หลังไหลเข้ามาในประเทศไทยและเพื่อนบ้านอย่างมากมาย ด้วยเงื่อไขต่างๆ นานา ไทยมีความเห้ฯคล้อยตามธนาคารโลกและในที่สุดเมื่อจอมพลสฤษดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรีก็ได้นัดให้มีการวางแผนขึ้นในต้นทศวรรษ 1980 นั่นเอง
ช่วงแห่งการมีแผนพัฒนาในทศวรรษท 1960 เมื่อแปผนฉบัยที่ 1,2 สร้างขึ้นในช่วงนี้นั้น รัฐบาลมีบทบาทเพียงผุ้ส่งเสริมการอุตสาหกรรมด้วยมรตการต่างๆ เช่น ภาษีอากร โดยให้เอกชนเข้ามาีบทบาทในการลทุนให้มากที่สุด ภายใต้กาอำนวนคามสะดวกของรัฐบาล โดยหวังว่าอุตสากหรรมทอแทนการนำเข้าที่รัฐบาลส่งเสริมี้จะช่วยลดดุลการต้าที่เสียเแรียบ เป็นแหล่งดูดซับแรงงาน แต่ปรากฎว่าโดยความบกพรองบางอย่างของมาตการที่รัฐบาลใช้ อุตสาหกรรมดังกล่าวไม่ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของรัฐบาลและกลับก่อใไ้เกิดปัญหาหนัก ทั้งนี้เพราะอุตาสาหกรรมนี้เป็นเพียงการนำชิ้นสวนมาประกอบกันเข้าในเมืองไทยเทานั้น ดดยที่ช้ินส่วนต่างๆ ต้องนำเข้าจึงเป็นการช่วยคุ้มครงอให้นายทุนต่างชาติมากอบโกยผลประโยชน์จากเมือไทยไปในแผน 3 จึงมีการพยายามแก้ไขด้านอุตสาหกรรม ใระยะแผนฯ 1-3 นั้น รัฐบาลมิได้ให้ความสนใจในการพัฒนาในชนบทเท่าที่ควร....(ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจเอเซียตะวันออกเฉียงใต้, รศ. ญาดา ประภาพันธ์, 2538.)