วันพุธที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2560

History Economic of Sounth East Asia : Indonesia

            ปัญหาที่อินโดนีเซียประสบตลอดเวลานับแต่การตกเป็นอาณานิคมของยุโรปจนกระทั่งตกอยุ่ภายใต้การยึดครองของญี่ปุ่นคือ ภาวะเงินเฟ้อ และหลังจากที่ญี่ปุ่นออกไปจากประเทศแล้ว ปัญหาดังกล่วนี้ก็มิได้เบาบางลง เนื่องจากการต้องฟื้นฟูบูรณะประเทศมีผลให้รัฐบาลต้องใช้จ่ายเงินทาองอย่างมหาศาล ดังนั้นกาขาดดุลงบประมาณจึงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงตอนปลายของทศวรรษที่ 1960 ในสมัยของปรธานาธิบดีซูฮาร์โต ปัญหาเงินเฟ้อนี้ได้กลายเป้นชยสนวที่ก่อให้เกิดปัญหาด้านอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย
           เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกใหม่ๆ นั้น อินโดนีเซียไม่อาจจะเริ่มพัฒนาเศรษฐกิจได้ทันที เนื่องจาก ยยังมีปัญหาการสู้รบกับดัชท์ ซึ่งพยายามจะเข้ามาครอบครองอินโดนีเซียนอีกวาระ ตลอดจนการสู้รบระหว่างคนในชาติเดียวกัน ขณะเดียวกันภาวะเงินเฟ้อซึงเกิดขึ้นในระหว่างสงครามยังคงต่อเนื่องมาจน ค.ศ.1949 ซึ่งเป็นปีที่อินโดนีเซียได้อิสระภาพอย่างแท้จริง อย่างไรก็ตาม ในระยะที่สิ้นสุดสงครามนั้นอนิโดนีเซียได้รับเงินช่วยเหลือจากสหรัฐโดยผ่านฮอลันดาเพื่อฟื้นฟูบูรณะประเทศ เงินช่วยเหลือเป็นมูลค่ารวมจนถึง ค.ศ. 1950 เป็นจำนวน 113.5 ลานเหรียญสหรัฐ เงินจำนวนนี้มีส่วนช่วยบูรณะซ่อมแซมสิ่งจำเป็นพื้นฐานของอินโดนีเซียขึ้นมาได้พอสมควร อันเป็นผลให้ภาวะเงินเฟ้อบรรเทาลงบ้าง ปัญหาที่เกิดจากฝ่ายนรัฐบาลอินโดนีเซียนนั้นคือ รัฐบาลมีปัญหาขาดดุลย์วบประมาณมาโดยตลอดระยะหลังสงครามยกว้น คซศ. 1951 ซึ่งเศรษฐกิจเจริญขึ้น เนื่องจากเกิดงครามเกาหลี การแก้ปัญหาขาดดุลงลประมาณนั้นปกติรัฐบาลอินโดนีเซียใช้วิธีกู้ยืมจาธนาคารกลาง อันมีผลให้ปริมาณเงินตราของประเทศเพิ่มอย่างมากแลระาคาสินค้าสูงขึ้นตามไปด้วย จากสภาวะการขาดเสถียรภาพของราคานี้เอง มีผลให้รัฐบาลต้องหามาตรการแก้ไข วิธีการหนึ่งที่รัฐบาลอินโดนีเซียนนำมาใช้ก็คือ การควบคุมการแลกเปลี่ยนแงินตราระหว่างประเทศ เพื่อยับยั้งการลดค่าของเงินสกุลพื้นเมือง และเพื่อรักษาสำรองเงินตราต่างประเทศ มาตรการดังกล่าวนี้ยังช่วยควบคุมการสั่งสินคาเข้าและออกด้วย แม้ว่ามาตรการดังกล่าวดุเสือนว่าจะมีผลดีในการแก้ไขภาวะเศรษฐกิจของอินโดนีเซีย แต่ในทางปฏิบัติยอมเกิดการแลกเปลี่ยนเงินตราในตลาดมือ เนื่องจากขณะที่ค่าเงินรูเปียสถูกกำหนดให้คงที่ในอัตราทางการนั้น ค่าแท้จริงของเงินลดลงอยุ่ตลอดเวลาในตลาดเสรี ดังนั้น ยิ่งค่าแท้จริงของเงินกับค่าที่ทางการกำหนดแตกต่างมากขึ้นย่อมมีผลให้เกิดคลาดมือมากขึ้น ในที่สุดรัฐบาลอินโดนีเซียต้องใช้มาตรการต่างๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อมในการลดค่าเงินของตน เช่น ระบบการแลกเปลี่ยนเงินตราพิเศษ ซึ่งเป็นระบบที่ให้ผุ้ส่งสินค้าออกได้สิทธิพิเศษในการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และลงโทษผุ้สั่งสินค้าเข้า
            นโยบายอีกประการที่รัฐบาลนำมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาเศรษบกิจของประเทศคือการเร่งรัดพัฒนาอุตสาหกรรม โดยใช้มาตรการให้สิทธิพิเศษในการสั่งซื้อวัตถุดิบจากต่งประเทศ โดยกำหนดว่าวัตถุดิบที่สั่งเข้ามาใช้ในอุตสาหกรรมที่รัฐบาลสนับสนนุเป็นสินค้าจำเป็นซึ่งผุ้สั่งเข้าจะได้สิทธิพิเศษในการแลกเปี่ยนเงินตรา ทั้งยังได้สิทธิพิเศษยกเว้นหรือลดอย่อนอารขาเข้าด้วย ซึ่งน่าจะเป็นสินค้าจำเป็น ซึ่งผุ้สั่งเข้าจะได้สทิะิพิเศษในกากรแลกเปลี่ยนเงินตรา ทั้งยังได้สิทธิพิเศษยกเว้นหรือลดหย่อนอารขาเข้าดว ซึ่งน่าจะเป้นผลดีแก่อุสาหกรรมในประเทศหากผู้สั่งเข้านั้นเป็นผุ้ประกอบอุตสาหกรรมเสียเอง หรือผุ้สั่งเข้านำมาขายให้ผู้ประกอบอุตสาหกรรมในระคายุติธรรม แต่สภาพที่แท้จริงคือ ผุ้สั่งเข้านำมาขายในราคาที่สุง ดังนั้น ในที่สุดรัฐบาลก็ต้องเข้าควบคุมขั้นตอนการขายวัตถุดิบในประเทศอีกอย่างหนึ่ง การเข้าควบคุมหลายขึ้นตอนนี้ ในทางปฏิบัติย่อมเป้นิงที่ยุงยก เพราะพ่อค้าผุ้สั่งสินค้าเข้าบย่อมพยายามหาทางหลีกเลียง ขณะเดียวกันหากการควบคุมราคาวัตถุดิบเป็นผลสำเร็จยอ่มแสดงว่าผุ้สั่งเข้าจะมีกำไรน้อย ผุ้สั่งเขาย่อมไม่ประสงค์จะนำเข้า ซึ่งวัตถุดิบในการประกอบอุตสาหกรรมหรือมีการกัดตุนวัตถุดิบเอเไว้จะเป็นเหตุให้วัตถุดิบไม่เพียงพอ อันก่อให้เกิดปัญหาแก่ฝ่ายผุ้ผลิตและเป็นอุปสรรคของการพัฒนาอุตสาหกรรมด้วย ผู้ประกอบการอุตสาหรรมจึงเรียกร้องให้รัฐบาลดำเนินมารตรการอีกปลกายประการ ในที่สุดรัฐบาลถึงกับจัดตั้งองค์การขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่สั่งเข้าและจัดจำหน่ายวัตถุดิบให้แก่อุตสาหกรรมในประเทศ โดยหลัการแล้วการที่รัฐบาลเข้าแทรกแซงทางธุรกิจมากเกินไปมิใช่สิ่งที่ดีเพราะเท่ากับเป็นการบิดเบือนกลไกตลาด มีผลให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรอย่างไร้ประสิทธิภาพ เนื่องจาก อุตสาหกรรมที่รัฐให้การสนับสนุนอาจมิใช่กิจการที่มีประสิทธิภาพนัก แต่อาจมีข้อโต้แย้งได้ว่าอุตสาหกรรมที่รัีฐช่วยเลหือเป็นอุตสาหกรรมแรกตั้ง
              อย่างไรก็ตาม เมื่อรัฐบาลให้การช่วยเลหือฝ่ายผุ้ผลิตไปแล้ว ในไม่ช้าฝ่ายผุ้บิโภคก็เรียกร้องให้รัฐช่วยคุ้มครงอด้วยเนื่องจากภาวะเงินเฟ้อ ดังนั้น รัฐบาลจึงต้องควบคุมราคาจำหน่ายสินค้าบริโภคด้วย ความจริงรัฐบาลได้ปกปองผุ้บริโภคอยู่แล้วสำหรับสินค้าจำเป็นแก่การตีองชีพด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การปันสวนสินค้สการควบคุมราคาข้าว
            การแทรกแซงในภาคเศรษบกิจของรัฐบาลอินโดนีเซียมีมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้เพราะสภาพอันเลวร้ายของเศรษฐกิจ ซึ่งนอกจากภาวะเงินเฟ้อและการสูญเสียเงินคราแล้ว การผลิตก็มิได้ประสบผลดีนักทังทางเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
          เมื่อพิจารณาให้รอบคอบอาจพบว่าหากรัฐบาลอินโดนีเวียมีความประสงค์จะแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจจริงแล้ว รัฐบาลอินโดนีเซียจะสามารถทได้ในบางส่วน โยเฉพาะอย่างยิ่งด้านวบประมาณการใช้จ่าย รัฐบาลสามารถตัดทอนการใช้จ่ายลงได้แต่รัฐบาลกลับยิ่งทวีการใช้จ่ายมากขึ้นทั้งนี้เพราะควมทะเยอทะเยานทางการเมืองของผุ้นำ การใช้จ่ายทงทหารของซูการ์โนเป็นจำนวนมหาศาล ทังภาคการผลิตบางสาขาก็ถูกละเลย รัฐบาลให้ความสนใจเฉพาะกิจการบางอย่างเท่านั้น ทำให้การผลิตไม่ขยายตัวอย่างพอเพียง ภาวะเงินเฟ้อทวีความรุนแรงมาก ซึ่งในปลายปี ค.ศ. 1965 เศรษฐกิจอยู่ในสภาที่ใหล้ล้มละลาย
           อาจแยกสภาพเศรษบกิจทั้งด้านการผลิต การใช้จ่ายของรัฐบาลตลอดจนปัญหาต่างๆ ทีเ่กิดขึ้นในอินโดนีเซีย ตั้งแต่ระยะหลังสงครามดลกครั้งที่สอง ระยะเศรษบกิจแบบชี้นำ และเศรษบกิจในทศวรรษที่ 1970 ได้ ดังนั้น
           - ภาวะการผลิตทางด้านการเกษตร ปรากฎว่าการผลิตข้าวเปลื่อก ซึ่งเป็นการผลิตที่สำคัญในชวาลดลงอย่างมากในช่วงหลังกของทศวรรษ 1940 จนถึงต้นทศวรรษ 1950 เมื่อเที่ยบกับก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่หลังจาก ค.ศ. 1950 เป็นต้นมาการผลิตข้าวเร่ิมมีการฟื้นตัว และเจริญเต็มที่ใน ค.ศ. 1956 แต่พืชอาหารชนิดอื่น เชนพวกถัวงายังไม่สามารถฟื้นตัวได้นัก อย่างไรก็ตาม ปัญหาที่เกิดขึ้นในช่วงดังกล่าวก็คือประชากรมีอัตราการเพิ่มอย่างรวดเร็ว ดังนั้น ผลผลิตเฉลี่ยต่อประชกรจึงลดลงมากเมื่อเที่ยบกับระยะก่อนสงครามโลก
            ปัญหาที่แท้จริงของการผลิตพืชอาหารของอินโดนีเซียโดยเฉพาะในเขตที่ประชกรหาแน่น เช่น ชวานั้น เป้ฯเพราะความขาดแคลนที่ดินในการเพาะปลูก เมื่อเพทียบกับจำนวนประชากร นั่นคือ มีที่ดินขนาดใหญ่ซึ่งมิได้ใช้เพาะปลูกอยู่มาก ขณะเดียวกันปัฐญหาการเพิ่มของประชกรส่งผลให้ขนาดที่ดินต่อประชกรยิ่งลดลงไปอี แม้ว่ารัฐบาลจะได้มีความพยายามปรับปรุงทางด้านเทคนิคต่างๆ เช่น การใช้ปุ๋ย การชบประทาน การใช้เมล็ดพันธ์ุที่ดี แต่ยังไม่เพียงพอที่จะทำให้ประสิทธิภาของการปลิตสูงได้ ดังนั้น การผลิตสินค้าอาหารของอินโดนีเซียโดยเฉพาะข้าวจึงไม่พอเลี่้ยงประชากรของตนเอง ต้องนำเข้าจากภายนอก
   - การผลิตทางด้านอุตสาหกรรม ภายหลังสงครามดลครั้งที่ 2 นั้นการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมของอินโดนีเซียสรุปได้ว่ามูลค่าเพิ่มต่อจำนวนประชากรยังต่ำหว่าก่อนสงคราม และปรากฎว่าใชบ่วงทศวรรษ 1950 นั้น อุตสาหกรรมขนาดเล็กมีอัตราความเจริญเร็วกว่าอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ จะเห็นได้จากอัตรการเพิ่มของโรงานขนาดเล็กที่มีคนงานไม่เกิน 10 คน  เพ่ิมจาก 15.2% ของจำนวนโรงงานทังหมดในค.ศ. 1960 ในขณะที่โรงงานขยาดใหญ่ที่มีคนงานหว่า 50 คนขึ้นไปนั้นกลับหดตัวลง อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาโดยจำนวนแล้วปรากฎว่าจำนวนโรงงานขนาดกลางจะมีมากที่สุด ส่วนทางด้านการจ้างงานนั้นโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่มีการจ้างงานมากที่สุด แต่เปอร์เซนรจ์การจ้างงานของโรงานขนาดเล็กก็เพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ
           - การค้าระหว่งประเทศและดุลย์การชำระเงิน ในทศวรรษที 1920 นั้นเศรษฐกิจของอินโดนีเซียองคกับการส่งออก เช่น ประมาณ 35% ของรายได้ประชาชาติมาจาการส่งสินค้าออก แต่ต่อมาแนวโน้มดังกล่าวลดลง ซึงน่าจะมีลให้ปริมาณส่งเข้าหดตัวลง อย่งไรก็ตาม ปรากฎว่าหลังสงคราม การสั่งสินค้าเข้าเพิ่มเพราะแรงอั้นของอุปสงค์ระหว่างสงครามรัฐบาลจึงต้องเข้ามาดำเนินการควบคุมการต้าระหว่างประเทศมาก เพื่อการแก้ไขการไหลออกของทุนสำรองเงินตรา และขณะเดียวกันก็เพื่อคุ้มตรองอุตสาหกรรมในประเทศด้วยมีการให้สิทะิพิเศษในการแลกเปลี่ยนเงินตราเฉพาะสินค้าที่อยุ่ในข่ายการส่งเสริม เช่น วัตถุดิบนำเข้าเพื่อผลิตสินค้าอุตสาหกรรมที่จำเป็นจะแลกเงินตราต่างผระเทศได้ในระคาถูก หรือได้สิทธิพิเศษทางด้านภาษีอากรด้วย..
            เมื่อสถานะการณ์ของประเทศเลวร้ายขนาดไม่อาจชำระหนร้ต่างผระเทศได้ใน ค.ศ. 1965 นั้น ประขวบกับมีัฐประหารขึ้นและมีการเปลี่ยนแรัฐบาลใหม่ สถานการณ์การผลิตดีขึ้นเนื่องจากการพยายามฟื้นฟูเสถียรภาพของราคา ทำให้ผู้ลงทุนมีความมันใจขมากขึ้น การส่งออกฟื้นตัวโดยเฉาพอย่างยิ่งหลัง ค.ศ. 1968 อย่างไรก็ตาม ดุลย์การชำระเงินอยุ่ในสภาพขาดดุลย์เนื่องจาก การเพิ่มของสินค้าเข้ามามากว่าโดยเฉพาะอย่างยิ่งินค้าเข้าประเภททุนและวัตถุดิบที่อินโดนีเซียผลิตไม่ได้เอง ผลของสภาพการต้าระหว่างประเทศเช่นนี้มีผลให้เกิดปัญหาดุลย์ชำระเงินขาดดุลย์รุนแรงขึ้น
            - การใช้จ่ายของรัฐบาลแบะภาวะเงินเฟ้อ การใช้จ่ายของรัฐบาลหลังสงคราดลครัี้งที่สองแนวโน้มเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่การผลิตและการ่งออกยังไม่อาจปรับตัวได้ทันกับการเพ่ิมของประชกร ยังผลให้งบประมาณของรัฐบาลมีสภาพขาดดุล ความไม่สามารถชะลอตัวในการใช้จ่ายของรัฐบาลนั้นเป้นสาเหตุหนึ่งของภาวะเงินเฟ้อหลังสงคราม ซึ่งภาวะเงินเฟ้อเป้นไปอย่างรุนแรงในช่วงเศรษฐกิจแบบชี้นำระหว่างปี ค.ศ.1960-1965
               อินโดนีเซียได้ผ่านระยะของการตกเป็นอาณานิคมจนมาถึงปัจจุบันด้วยสภาพเศรษบกิจต่างๆ การถูกเอารัดเอาเปรียบจากเมืองปม่ในระยะตกเป็นอาณานิคมของดัชท์และญี่ปุ่น ทั้งได้ผ่านระยะของความเป็นเอกราชโดยรัฐบาลที่มุ่งมั่นทางการเมืองและการทหารมากว่าเศรษกฐกิจจนถึงระยะที่สภาพเศรษฐฏิจเกือบจะล้มละลายใน ค.ศ.1965 และในที่สุดเกิดรัฐประหารขึ้มา ซึ่งนโยบายช่วงหลังนี้เป็นการพยายามฟื้นฟูทางเศรษฐกิจอย่างมาก อย่างไรก็ตาม ปัฐญหาอีกมากมายยังรอคอยการแก้ไขของชาวอินโดนีเซียอยุ่สภาพการขาดดุลย์การชุระเงินอนเนื่องมาจากการสั่งสินค้าเพื่อการพัฒนานั้น เป้ฯสิ่งที่ต้องหาทางออกให้ได้จะด้วยการผลิตทดแทนการนำเข้าหากปัจจัยในประเทศมีความพร้อมหรือาจต้องเปลี่ยนแผลงการใช้เทคนิคในดาผลิตให้เหมาะสมกับทรัพยากรทีรมี หรือแม้กระทั่งการพยายามขยายปริมาณและมูลค่าสินค้าออกด้วยการหาตลาดใหม่ๆ หรือ เพิ่มประเภทการผลิตเพื่อส่งออก อันเป็นบทบาทที่ต้องการความร่วมมือของเอกขนแลรัฐบาลทุกขึ้นตอนรัีฐบาลควรให้แรงจูงใจแก่เอกชนในการออมและการลงทุน ควรมีการปรับปรุงสถาบันการเงินเพื่อการระดมเงินทุนและการให้สินเชื่อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันการผลิตสาขชาเกาษตรกรรมและโดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลิตพืชอาหารนั้นไม่ควรละเลย เพราะประวัติศาสตร์ของอินโดนีเซียได้แสดงให้เห็นแล้วว่า หากมีการขาดแคบนส่ิงจำเป้นแก่การดำรงชีพแล้ว ภาวะเงินเฟ้อผ่อมเกิด และผุ้ประกอบการจะไม่แน่ใจในการลงทุนประชาชนโดยทั่ยไปเกิดความอดอยาก และเมื่อใดที่ระบบเศรษบกิจขาดเสถียรภาพระบบการเมืองก็จะขาดความั่นคงไปด้วย นอกจากนั้นทางฝ่ายรัฐบาลเองจะต้องมีการปรับปรุงประสทิะภาพของการบริหารงาน ซึ่งรวมถึงความสุจริตของข้ราชการด้วยเพื่อมิให้ระบบราชการกลายเป้นจุดถ่วงที่สำคีัญของการพัฒนาประเทศ..(ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของเอเซียนตะวันออกเฉียงใต้,รศ. ญาดา ประภาพันธ์,2538.)

             

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...