วันพฤหัสบดีที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560

History Economic of Sounth East Asia : Malaysai

            ในช่วงญี่ปุ่นเขาครองครองมาเลเซียนั้นได้ปลูกฝังความเกลี่ยดชังชาวจีนให้กับชาวมลายูอย่างมาก จนเมื่อหลงสงครามนั้นชาวมลายธพยายามฆ่าชาวจีนเท่าที่จะทำได้ มีผลให้อังกฤษซึ่งกลับเข้ามาปกครองมลายูอีกต้องทำการปราบปรามอย่างเข้มงวด สภาพของมลายูหลังสงครามโลกนั้น ปรากฎว่ามีการขาดแคลนอาหารอย่า่งมาก ต้องมีการสั่งซื้อข้าวจากาภยนอกประเทศ เช่น จากไทยและพม่า ซึ่งในระยะแรกเป้นไปด้วยความลำบาก เพนื่องจากการผลิตดข้าวของประเทศผุ้สงออกตกต่ำลงระหว่างงครา รัฐบาลมลายูเองพยายามใช้มาตรการต่างๆ กระตุ้นให้มีการเพาะปลูกภายในประเทศเพิ่มขึ้น
            นอกจากการปรับปรุงด้านการเพาะปลูกพืชอาหารแล้ว รัฐบาลได้พยายามฟื้นฟูเศรษฐกิจด้านอื่นๆ ซึ่งรวมถึงการบูรณะทางรถไฟ ท่าเรือ ตลอดจนพยายามพัฒนอุตสาหกรรมเหนืองแร่และยางพาราขึ้นมาอีก ในช่วงนี้ปรากฎหว่าเหมืองแร่แบบโบราณของนายทุนชาวจีน ซึ่งใช้แรงงานเป็นปัจจัยสำคัญกลับฟื้นตัวได้เร็วกว่าเหมืองแร่แบบทันสมัยของชาวยุโรป เนื่องจากวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ถูกทำลายไปในระหว่างสงครามเป้ฯจำนวนมาก การซื้อหาเครื่องจักรต่าง ๆ มาทดแทนทำได้ยากและมีราคาแพงมาก เนื่องจาก สภาพเงินเฟ้อหลังสงคราม..
            - เศรษฐกิจของมลายามาฝื้นตัวอย่างรวดเร็วประมาณ ค.ศ. 1950 เนื่องจากปัจจัยทางเศรษฐกิจขั้นพื้นฐานต่างๆ เช่น การคมนาคม พลังงาน ฯลฯ ได้รับการฟื้นฟูบูรณธจากความเสียหายระหว่างสงครามโลก ประกอบกับการเกิดสงครามเกาหลีในปีนั้นได้ส่งผลให้ราคายางและดีบุกสูงขึ้นมาก ทั้งนี้ดดยสหรัฐอเมริกาเป็นผุ้ซื้อสินค้าของมลายูเพื่อสะสมเป็นยุทธปัจจัย สงครมจึงเป้นสาเหตุที่ทำให้การผลิตสินค้าของมาเลิซียนเจริญในขณะนั้น แต่หลังจากนั้นมาระดับความเจริญทางเศรษบกิจของประเทศมีความผันแปร เนื่องจาก เศรษฐกิจของประเทศอิงกับการส่งออกซึ่งสินค้าสำคัญเพียงสองชนิดดังกล่าว มลายาได้ทำการปรับโครงสร้างการผลิตให้มีการผลิตสินค้ามากชนิดขึ้น เพื่อลอความเสี่ยงจากการพึ่งรายได้จากยางและดีบุกลง
            ในสาขาเศราฐกิจอุตสาหกรรมนั้นมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงไปในช่วงเลาดังกล่าวนี้ คืออุตาสาหกรรมเพื่อทดแทนการนำเข้าได้รับการส่งเสริม ดังนั้นผลที่ปรากฎจึงคล้ายคลึงกับประเทศเพื่อนบ้านอื่นๆ ที่มีการลดลงของการนำสิน้าเข้าที่เป้นวัตถุสำเร็จรูป แต่กลับมีการนำเข้าซึ่งส่วนประกอบการผลิต วัตถุดิบ ฯ อย่างมากในช่วงดังกล่าวน้และอุตสาหกรรมส่วนใหญ่จะเป้นการประกอบชิ้นส่วนเข้าด้วยกัน ดังนั้น มูลค่าเพิ่ม จึงไม่มาก และไม่เป็นการช่วสร้างงานมากนัก
            - การวางแผนเศรษบกิจของมลายา ได้เริ่มวางแผนระยะ 5 ปี ขึ้นใน ค.ศ. 1957 ซึ่งเป็นแนวความคิดต่อเนื่องมาจากพระราชบัญญัติสวัสดิการและการพัฒนาอาณานิคม ของอังกฤษต่อมลายาในปี 1946 นั่นเอง พระราชบัญญัติดังกล่าวนี้เป้นความประสงค์ของอังกฤษที่จะให้รัฐบาลพื้นเมืองมประสิทธิภาพในการดำเนินโครงการพัฒนาเศราฐกิจและสังคม
            ก่อน ค.ศ. 1950 นั้นรัฐบาลอาณานิคมได้มีความพยายามเพ่ิมผลผลิตในมลายาอยุ่แล้ว ดังที่จะเห้ฯได้จากการส่งเสริมการขยายการผลิยางพาราและดีบุกโดยพัฒนาปัจจัยขึ้นพันฐานต่างๆ ให้แก่มลายา แม้ว่าผลดีจะตกกับอังกฤษด้วย แต่มลายาก็ได้รับผลดี เช่น กัน ปรากฎว่ารายได้จากภาษีสินค้าออกได้เพิ่มอย่างมากรัฐบาลมีเงินสะสมมาก ซึ่งสมารถนำมาใช้จายเมื่อพัฒนาได้มาก มีการขยายกิจกรรมขั้นพื้นฐาาน อาทิ ถนนหนทาง การไปรษณีย์ การรถไฟ ฯ อย่งไรก็ตาม ปรากฎว่า แต่เดิมนั้นรัฐบาลอาณานิคมในมลายาได้มีการพัฒนาในลักาณะที่ไม่สมดุลในประเทศ เพราะรายจ่ายของรัฐบาลสวนมากจะใช้จ่ายไปในกิจกรรมที่สนับสนุนการผลิตเพื่อการส่งออกเท่านั้น โดยถือว่าเป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดผลผลิต ดังนั้น การผลิตอื่นๆ ที่เป้ฯการผลิตขนาดเล็กและเป็นของชาวพื้นเมืองและมิได้ทำการผลิตเพื่อการส่งออกจึงเกือบไม่ได้รับผลประโยชน์จากรับาล เช่ การผลิตข้าว รัฐบาลให้ความสนใจน้อยมาก ไม่มีการสนับสนุนหรือกระตุ้นการผชิตเหล่านี้แต่อย่างใด การที่รัฐบาลไม่สนับสนุนการผลิตข้าวอาจเป้นเพราะผลตอบแทนจากการผชิตยางสูงกว่าการผลิตข้าว รัฐบาลสามารถสั่งชข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาได้ง่าย ดังนั้น เกษตรกรพื้นเมืองจึงมีระดับการผลิตเพียงยังชีพเท่านันอย่างไรก็ดี นโยบายปล่อยให้สาขาการผลิตเพื่อบริโภคล้าหลังเช่นนี้ได้แสดงให้เห็นผลเสียในยามที่เกิดภาวะเศรษบกิจตกต่ำ เช่น ช่วงปลายทศวรรษ 1820 ปรากฎว่ามีความขาดแคลนสินค้าบริโภคในมลายู เพราะผลิตเองไม่พอทั้งสินค้าออกขายได้น้อยในช่วงดังกล่ว รายได้เพื่อซื้อสินค้าเข้าจึงน้อยลง
               ความผิดพลาดในการใช้นโยบาย ดังกล่าได้มีการแก้ไขจาอังกฤษโดยผ่านพระราชบัญญัติสวัสดิการและการพัฒนา อาณานิคมออกมาหลังสงครามดลกครั้งที่ 2 และให้เงินทุนมาใช้ในโครงการพัฒนานี้ด้วย ทั้งนี้ดดยมุ่งให้อาณานิคมมีการกระจายการผลิตออกไปหลายๆ สาขาและให้การสนับสนุนการผลิตพืชอาหารด้วย รวมทั้งการให้สวัสดิการด้านอื่นๆ แก่พลเมืองในอาณานิคมโดยทั่วถึงกัน มิใช้สนับสนุนเฉพาะสาขาการผลิตเพื่อส่งออกอย่างเดี่ยว
             แต่ปรากฎว่าความตั้งใจของอังกฤษไม่ประสบผลดีนัก เพราะเงินทุนที่ให้มานั้น้อยมาก ทั้งมีเงื่อนไขการดำเนินการที่ยุ่งยากจนผุ้บริหารในอาณานิคมไม่สนใจจะเสนอแผนไปยังเมืองแม่ อย่างไรก็ตาม ในกรณีของมาเลเซียนั้น เมื่อสำนักงานอาณานิคมในลอนดอนต้องการให้เสนอแผนก็ได้มีการทำร่างแผนพัฒนาที่เรียกว่า "Yellow Book"ขึ้นในปลายปี 1949-1950เพื่อำหนดเป้าหมายของนโยบายเศรษฐกิจและสังคมสำหรับช่วง 5 ปี คือ ระหว่าง ค.ศ. 1950-55 แต่แท้จริงร่างดังกล่าวเป็นเพียงการเอารายงานของแต่ละหน่วยงานมารวมกันเข้า และพยายามปรับปรุงตัวเลชทางการเงินให้พอดีกับจำนวนเงินที่จะได้จากอังกฤา และเนื่องจากแผนการพัฒนาดังกล่าวนี้มิได้มีการศึษกาสภาพเศรษบกิจอย่างจริงจัง จึงมีข้อบกพร่องมากมาย อาทิ เช่น การวางแผนยังอิงกับหลักการเดิมคือ กิจกรรมใดที่จะก่อให้เกิดรายได้นั้นให้ใช้จ่ายจากเงินกู้ได้ ส่วนกิจการที่เห้นว่าไม่ก่อให้เกิดรายได้ให้ใช้จากเงินที่สำนักงานอาณานิคมจัดเป็นกองทุนให้เท่านั้น ดังนั้น การพัฒนาจึงออกมาในรูปแบบเดิมคือ เน้นการสร้างกิจกรรมพื้นฐานเพื่อการผลิตส่งออก แต่ละเลยการให้สวัสดิการแก่สัีงคมและการพัฒนทรัพยากรมนุษย์ ในขณะเดียวกันในแผยนี้การพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมได้ถูกละเลยไป  แต่ภายหลังรัฐบาลมลายาได้พยายามพัฒนการผลิตทั้งการเกษตรและการอุตสาหกรรมคู่กันไป จะเห็นได้ดังต่อไปนี้
             - บทบาทของรัฐบาลด้านการเหาตรกรรม หลังจากที่การผลิตยางชะงักไปช่วงเกิดเศรษบกิจตกต่ำทั่วโลก และในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองแล้ว ปัญหาต่างเกี่ยวกับการปลูกยางยังมิได้หมดไป เช่น ผู้ปลูกยางขาดเงินทุนในการปลูกยางใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผุ้ปลูกยางรายย่อย ในค.ศ. 1952 รัฐบาลได้ใช้นโยบายโครงการปลูกยางทดแทนโดยการเก็บภาษีจากผุส่งยางออก เพื่อมาใช้สนับสนุนผุ้ปลูกยางทดแทน ปรากฎว่ามาตรการดังกล่าวนี้มิได้มีส่วนช่วยผุ้ผลิตยางรายเล็กๆ อย่างไรก็ตาม ในค.ศ. 1956 นั้นมีนโยบายช่วยเหลือกิจการขนาดเล็ก้ดยการให้เงินอุดหนุนในพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมดแต่ไม่เกิน 1060 เอเคอร์ ดังนั้น ชาวสวนยางขนาดใหญ่และขนาดกลางจึงมีการซอยที่อกนออกเแ็นขนาดเล็กเพื่อจะได้รับเงินอุดหนุนเต็มี่ และก่อให้เกิดการกว้านซื้อที่ดินมาแบ่งขายเป็นแลงเล็กๆ มากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งการกระทำดังกล่าวนี้เโดยหลักการแล้วก่อให้เกิดผลเสียแก่การพัฒนาอย่างยิ่ง ผลประการหนึ่งที่เกิดขึ้นก็คือ ผุ้ที่เป็นเจ้าของที่ดินส่วนมากผลติขนาดใหญ่ที่จะตัดที่ดินบางส่วนขายได้ ดังนั้น เกษรตกร รายย่อยจริงๆ จึงมิได้รับลผลดีจากโครงการนี้นัก สภาพการขาดแคลนเงินทุนและที่ดินสำหรับเกษตรกรราย่อยๆ ยังคงดำเนินต่อไปการดำเนินการต่างๆ ของรัฐทำโดยไม่รอบคอบนักและล่าช้า ในราวต้นทศวรรษที่ 1960 นั้นรัฐบาลได้เร่งรีบแก้ปัญหาเรื่องที่ดินทำกินในชนบท การบริหารงานในช่วงนี้ซึ่งทำโดยคณะกรรมการพัฒนาที่ดินเป้นไปโดยมีประสิทธิภาพมากขึ้น เกษตรกรไ้ได้ที่ดินเพ่ิมขึ้นและมีบริการอำนวนคามสะดวกตลอดจนสวัสดิการต่างๆ ที่ชนบทดีข้น
          อย่างไรก็ดี การทุมเทรายจ่ายของรัฐเพื่อสนับสนุนการผชิตยางโดยโครงการต่าๆ นั้ ทำให้รัฐบาลต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงมาก อนึ่งการหวังพึงยางพาราให้เป็นสินค้าหลักที่จะพยุงเศาฐกิจของประเทศอย่งเดี่ยน่าจะไม่พอเพียง เนื่องจากมีการผลิตยางสังเคราะห์มากขึ้นทุกที ทั้งนี้เพราะความก้าวหน้าของเทคโดลยีต่างๆ ทำให้ยางสังคเราห์มีคุณภาพใกล้เคียงยางพาราและมีราคาต่ำกว่าด้วย นอกจานั้น ยางสังเคราะห์ยังมีข้อได้เปรียบยางธรรมชาติในประเด็นของการปรับตัวของอุปทานต่ออุปสงค์ในตลาดโลกได้รวดเร็ว
       
อย่างไรก็ดี แม้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจจะเน้นการส่งเสริมการผลิตยางพาราเป้ฯอย่างมาก แต่ในระยะต่อมาคือช่วง ค.ศ. 1966-1970 ได้ลดความสำคัญของยางพาราลง และหันไปเน้นการลงทุนอย่งอื่นเพิ่มขึ้น เช่น สนับสนนุการปลูกข้า การประมง นอกจากนั้น ได้มีการพิจารณาส่งเสริมการปลูกปาล์มน้อำมนแทนยางพารา เนื่องจากราคาของปาล์มน้ำมันมีแนวโน้มว่าจะดีกว่าราคายาง
           - บทบาทของรัฐบาลด้านการอุตสาหกรรม ในช่วงแรกของแผนพัฒนา เศรษฐกิจนั้นไม่ปรากฎว่ารัฐบาลสนใจการดำเนินงานด้านอุตสาหกรรมนัก นอกจากนั้น โดยรายงานของคณะสำรวจภาวะเศรษกิจจากธนาคารโลกในช่วงแรกของทศวรรษ 1950 นั้น ปรากฎว่าไม่สนับสนุนให้รัฐเข้าดำเนินงานอุตสาหกรรมเอง นอกจากการอำนวนความสะดวกต่างๆ และส่งเสริมบรรยากาศการลงทุนเท่านั้น ซึ่งความเห็นเช่นว่านี้ของคณะสำรวจดังกล่าวที่ไใ้แก่บรรดาประเทศเอเซียตะวนออกเฉยงใต้จะเป้ฯในลักษณะเดี่ยวกันแทบทั้งสิ้นรวมทังประเทศไทยด้วยและนั้นเท่ากับเป็นการเปิดโอกาสให้เอกชนลงทุน แต่มักจะแรากฎว่านายทุนพื้นเมืองมีโอกาสน้ยเนื่องจากขาดแคลนเงินทุนและเทคโนโลยีทันสมั้ย จงเป้ฯอีก้าหน่งของนายทุนตะวันตกที่จะกลับมาครอบงำเศรษบกิจของเอเซียตะวันอกเแียงใต้ได้อีกวาระหนึ่ง นอกจากการจำกัดบทบาทของรัฐบาลมลายาแล้วว คณะสำรวจดังกล่าวยังได้เสนอให้การนำเข้าเป้ฯไปอย่างเสรี..อย่างไรก็ตาม ปรากฎว่าได้มีการอุตสาหกรรมทุติยภูมิขนาดย่อมเพ่ิมขึ้นอย่างมาก เช่นการทำอิฐสัปะรดกระป๋อง สบู่ ผลิตภัฒฑ์จากยาง ฯลฯ และในภายหลังมีอุตสาหกรรมหนักเพิ่มขึ้น เช่น อุตสาหกรรมเหล็ก การกลั่นน้ำมัน การทำซีเมนต์ ฯ
             - ทางด้านการต้าระหว่างประเทศ อาจกล่าวได้ว่าแม้มาเลเซียจะมีการดำเนินนโยบายเพื่อสนับสนุสินค้าเพียงองประเภทเพื่อการส่งออก แต่อย่างไรก็ตาม ในภายหลังโดยเแฑาะในครึ่งหลังทศวรรษ 1960 ได้แก้ไขนโยบายดังกล่าวจะเห็นได้ว่า มาเลเซียสามารถดำเนินการทางด้านการต้าระหว่างประเทศได้ผลดีมากในช่วงทศวรรษ 1960 โดยมีดุลการต้าเกินดุลตลอดเวลา
               อาจกล่าวได้ว่า มาเลิซียได้ผ่านจากสภาพการเป็ฯอาณานิคมมาจนถึงปัจจุบันนี้ด้วยการเผชิญปัญหาต่างๆ ทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจ ซึ่งเป้ฯปัญหาที่เกิดจาภายนอกประเทศและปัญหาภายในปประเทศเอง หากพิจารณาดูช่วงของการเป้นอาณานิคมของอังกฤษนั้น ความทารุณโหดร้ายของผุ้ปกครองอาจจะค่อนข้างน้อย หากเปรียบเที่ยบกับประเทศที่ตกเป็นอาณานิคมของดัชท์ หรือของฝรั่งเส แม้อังกฤษจะเข้ามากอบโกยผลประโยชน์ไปไม่น้อย แต่ความปรารถนาดีต่อมาลยูก็พอควร เห้นได้จาการที่ระบบการศึกษา ความสะดวกขึ้นพื้นฐาน ตลอดจนความมีระเบียบวินัยของคนในประทเศล้วนเป้นส่วนหนึ่งของการปลูฝังของชาวอังกฤษ ปัญหาที่แท้จริงของมาเลเซียน้นกลับเป้นปัฐหารที่เกิดในประเทศ เช่น ความแตกแยกกันเองของคนในชาติ เช่น ชาวจีนกับชาวพื้นเมืองดั้งเดิม และชาวอินเดีย วึ่งต่างแก่งแย่งชิงอำนาจทางการเมืองและผลประดยชน์จะเห้นได้จาการกีดกันของชาวมลายูต่อชาวจีนเป็นไปอย่างรุนแรง แม้ในสมัยของการตั้งเป้นสหพันธ์มลายูนั้นได้พยายามออกกฎต่างๆ ที่จะไม่ให้ชาวจีนไ้เป็นพลเมืองของสหพัฯธ์ สิงคโปร์ซึ่งได้พยายามเข้ามารวมตัวด้วยโดยหวังว่าจะได้ประโยชน์ก้กลับถูกกีดกันต่างๆ นานา แม้จนกระทั่งระแวงว่าพรรคการเมืองของสิงคโปร์จะเข้ามามีอิทธิพลทางการเมืองจนอกาจกลายเป็นรัฐบาลของประเทศ ซึ่งในที่สุดสิงคโปร์ก็จำต้องลาออกจากการเป็นสมาชิกของสหพันธ์
             ในทางเศราฐกิจนั้นรัฐลาบมีนโยบายที่ผิพลาดบางประการในระยะแรกๆ นั้นคื อากรสนับสนุการผลิตสินค้าเพื่อส่งออกเพียง 2 ประเถท คือยางพาราและดีบุก ซึ่งแม้ว่ารายได้จาสินค้าออกทั้งสองนี้จะสูงมกในบางระยะแต่ถือได้ว่ามีความเสี่ยงสูง เรพาะสินค้าทั้งสอชนิดนั้นขึ้กับความต้องการของตลาดโลก เมื่อดดที่ตลาดโลกมีความแรปรวน เศรษบกิจของมาเลเซียก็มปรแปรวนด้วยเป้นการนำเอาเศรษบกิจของตนไปผูกับตลาดโลกมากเกินไป ซึ่ระยะหลังๆ รับบาลตระหนังถึงผลเสียของนโยายเช่นนี้ จึงมีการแก้ไข โดยการพยายามกระจายประเภทผลผลิตให้มากขึ้น ความพยายามดังกล่าวจะเห้ฯได้จากการขยายการผลิตปาล์มน้ำมันซึ่ง ใน ค.ศ. 1966 มาเลเซียกฃลายเป็นผุ้ผลิตรายใหญ่ที่สุดในโลก และมีแนวโน้มการผลิตเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ นอกจานั้นผลิตภัณฑ์จากไม้ น้ำมันดิบ รวมทั้งการผลิตข้าวก็มีการเพิ่มผลผลิตตลอดเวลา สำหรับข้าวนั้นจากการผลิตเพียง 910 พันตันใน ค.ศ. 1964 กลายเป็นจำนวนถึง 1,789 ล้านตัน ในค.ศ. 1974 ทั้งนี้โดยการขยายพื้นที่เพาะปลูกและปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตด้วย
            ่เมื่อพิจารณาจากแนวโน้มดังกล่าวจึงเห็นได้ว่ามาเลเซียจะเป้นประเทศหนึ่งในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีอนาคตทางเศรษบกิจ หากสามารถปรับความสัมพันะ์ของคนในชาติให้ร่วมมือกันมากยิ่งขึ้น ขณะเดี่ยวกันก็ควรจะร่วมมอกับประเทศเพื่อนบ้าน..(ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้, รศ. ญาดา ประภาพันธ์)
       

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...