วันพฤหัสบดีที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560

History Economic of Sounth East Asia :Singapore

               เศรษฐกิจของสิงคโปร์สามารถฟื้นตัวได้ดีขึ้นเรื่อยๆ หลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้นน่าจะเป็นด้วยสาเหตะที่สำคัญประกอบดันอยุ่สองสามประการคือ สิงคโปร์เป้ฯประเทศที่มีขนาดเล็กมา ซึ่งจะทำใ้หารบริหารงานทำได้ทั่วถึงและมีประสทิะิภาพสุงกว่าการบริหารในประเทศใหญ่ ทั้งยังอยุ่ในทำเลที่เหมาสมแก่การต้าระหว่างประเทศสิงคโปร์ซึ่งส่วนใหญคือคนจีนนั้นมีความขยันขันแข็งในกิจการงาน จึงกล่าวได้ว่าขนาดและที่ตั้งของประเทศและคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์ที่เป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนา จากนี้นจะพิจารรเศรษบกิจของสิงคโปร์ในช่วงหลังสงครามโลก
             เศรษฐกิจแบบศูนย์กลางการต้าหลังสงครามโลกครั้งที่สองจนถึงค.ศ. 1959 แท้จริงิงคโปร์มีัลักาณะเศราฏิจแบบศูนย์กลางการต้ามาดั้งเดิมแล้วเนื่องจากเป็นทำเลที่เหมาสมมากในค่บสมุทรมบายูเป้นจุดผ่านสำคัญของเรือสินค้าจากประเทศต่างๆ และรายล้อมใไปด้วยประเทศเกษตณกรรม สิงคโปร์จึงได้ทำหน้าที่เป็นเสมือนศูนย์บริการทางการต้าให้แก่เรือสินค้าของประเทศต่างๆ ที่ผ่านแหลมมลายู สินค้าจากที่ต่างๆ จะถูกนำมาเก็บรักษาไว้ที่สิคโรป์เพื่อส่งไปจหน่ายยังประเทศื่อนต่อไป และจากการเป็นศุนย์กลางการต้าระหวางประเทศที่สำคัญก็ได้กลายเป้นศูนย์การเงินที่สำคัญในย่านเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ไปด้วย
            ในขณะที่สิงคโปร์เป็ฯประเทศที่เศราฐกิจพึงพิงกับการให้บริการนั้น สาขาการผลิตอื่นๆ ทั้งเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมจึงมีความสำคัญน้อย สิงคโปร์มีการผลิตขั้นแปรรูปเบ้องต้นเช่น การแปรรูปยางพารา ผลิตภัฒฑ์จากไม่ อาหารกระป๋อง แรงงานกว่า 50 % จะอยู่ในภาคการต้าและการให้บริากรอื่นๆ ในขณะเดียวกันแรงงานทางด้านเกษตรกรรมมีขนาดเล็กและลดลงเรื่อยๆ
            ลักษณะของเศรษฐกิจช่วงนี้มีได้เปลี่ยนแลงไปจาก่อนสงคราดลครั้งที่สองนัก และมีแนวโน้มว่ากิจกรรมสาขาบริากรอื่นๆ มีากรขยายตัวสอดคล้องไปกับการค้าระหว่างประเทศในช่วงดังกล่าว อย่างไรก็ดี เมื่อสิ้นสุดระยะการปกครองและการควบคุมทางเศรษฐฏิจของอังกฤษลงแล้ว ความรุ่งเรืองของสิงคโปร์ในฐานะการเป็นเมืองท่าศูนย์กลางของภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ แม้จะยังคงเจริญอยู่แต่อาจไม่เป็นการเพียงพอ เนื่องจากประเทศเพื่อนบ้านอื่นๆ ได้พยายามพัฒนาตั้งขึ้นมาเป้ฯเมืองศูนย์กลางค้าบ้าง สิงคโปร์จึงมีคู่แข่งขัน ดังนั้น ผลประโยชน์หรือรายได้ของประเทศจากการให้บริการต่างๆ ทางการต้าจึงย่อมลดลงบ้างประกอบกับการมีประชากรเพิ่มสูงด้วยในช่วงหลังสงครามโลก ซึ่งรัฐบาลสิงคโปร์มิได้นิ่งนอนใจ ปรากฎว่ามีการใช้มาตรการต่างๆ เพื่อแก้ไขและพัฒนาเศรษกิจในช่วงทศวรรษ 1960 ซึ่งประสบผลสำเร็จเป็นอย่างดี
            - การพัฒนาในทศวรรษ 1960 ปรากฎว่าเศรษฐกิจแบบเมืองท่าไม่อาจเป้ฯสาขาเดียวี่จะเลี้ยงประเทศได้อีกต่อไป เนื่องจากมีคู่แข่งขันเพ่ิมขึ้น ตลอดจนผุ้บริโภคในประเทศก็เพ่ิมขึ้น และการมีสาขาเศรษฐกิจบริการเป้นสาขานำเท่านั้นมิได้เพียงพอที่จะรองรับการเพ่ิมของแรงงานได้อีกต่อไป การว่างงานเพ่ิมขึ้นตลอดเวลา จากค.ศ. 1957 ปัญหาการว่างงานเป็นปัญหาที่้ร้ายแรงทางเศรษกิจ ซึ้งอาจบันทอนการพัฒนาลงได้มาก สิงคโปร์ตระหนักปัญหานี้เป็นอย่างดี จะเห็นได้จากที่มีการวางแผนครอบครัวและการพยายามหันมาเน้นการอุตสาหกรรมมากขึ้น รวมทั้งการพยายามแสวงหาแหล่งเงินตราต่างประเทศจากแหล่งต่างๆ มาชดเชยรายได้ที่เคยได้รับจากการตั้งฐานทัพของอังกฤษด้วย
                1)  บทบาทของรัฐบาลต่อความเจริญทางเศรษฐกิจ ในทศวรรษที่ 1960 อัตราความเจริญทางเศรษฐกิจของสิงคโปร์อยุ่ในระดับที่สูงมาก เมื่อเทียงกับประเทศเพื่อนบ้าน GDP เพิ่มจาก 2,050ล้านดอลล่าร์เป็น 5,190 ล้านดอลล่าร์ใน 1970 และอัตราการเพ่ิมของประชากรก็ลดลงได้จาประมาณ 4% หลังสงครามเหลือเพียง 1.3%ในค.ศ. 1970 ดังนั้นรายได้ต่อหัวของประชากรโดยเฉลี่ยจะสูงขึ้นอย่างไรก็ดี อัตราความเจริญในทศวรรษนี้มีความแปรปรวนอยู่มากโดยเฉพาะครึ่งแรกของทศวรรษ ซึ่งการเมืองเป็นสาเหตุด้วยประการหนึ่ง คือใน ค.ศ. 1963 สิงคโปร์ได้เข้าร่วมเป้ฯสหพันธ์มลายาปรากฎว่าสหพันธ์ดังกล่าวถูกต่อต้านจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น อินโดนีเซีย อย่างมากอันมีผลกระทบทางเศราฐกิจของประเทศที่เข้าร่วมในสหพันะ์ซึงรวมถึงเศรษฐกิจแบบเมืองท่าของสิงคโปร์ด้วย
                 หลังจาก คซ. 1968 เป็นต้นมาการเจริญเติบโตทางเศราฐกิจเป็นไปอย่างรวดเร็วและสม่ำเสมอ ทั้งการว่างงานก็ลดลงจนไม่ถือว่าเป็นปัญหาร้ายแรงอีกต่อไป โดยแท้จริงกลับเห็นไดว่าระยะยต่อมา สิงคโปร์กลับต้องจ้างแรงงานจากต่างประเทศเข้าไปอีกด้ยเช่นแรงงานจากประเทศไทย ในขณะที่อัตราความเจริญเป็นไปอย่างมากนั้น เศรษฐกิจของสิงคโปร์ก็มีเสถียรภาพอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะรัฐบาลสิงคโปร์มีการควบคุมที่ดีในการเรียกร้องขึ้นค่าจ้างแรงงานการนัดหยุดงาน มีการควบคุมมิให้พ่อค้ารวมหัวกันเอาเปรียบผุ้บริโภค ตลอดจนการควบคุมปริมาณเงินตราของประเทศมิให้มากจนเกินควร นอกจากนั้นสิงคโปร์ยังได้มีโครงการสวัสดิการพื้นฐานอลายอยาง อาทิจัดสร้างที่อยุ่อาศัยในราคาถูกให้ก่พลเมืองตามระดับรายได้ ดังนั้น ปัญหาค่าครองชีพด้านที่อยุ่อาศัยจึงไม่มีทั้งๆ ที่เป้นประเทศขนาดเล็ก (ซึ่งการลงทุนด้านนี้ของรัฐบาลอาจมีผู้เห็นว่าไม่ก่อให้เกิผลผลิต แต่ไม่ควรลืมว่าทรัพยากรมนุษย์คือ สิ่งล้ำค่าในการพัฒนาชาติ การมีคุณภาพชีวิตที่ดีจึงเป็นสิ่งจำเป็น และทีอยุ่อาศัยนั้นเป็นปัจจัยประกอบของคุณภาพชีวิตอย่างหนึ่ง ทางฝ่ายรัฐบาลของสิงคโปร์นั้นพยายามควบคุมรายจ่ายให้เหมาะสม จึงปรากฎว่างลประมาณมีลักาณะสมดุลเสมอ แต่รัฐบาลยินดีกู้เงินหากจะเป้นไปเพื่อการพัฒนาเศรษกบิจ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป้ฯการกู้ภายในประเทศ
           ในขณะที่รายได้ประชาชาติเพ่ิมอย่งมากนั้น การสะสมทุนรวมของประเทศก็เพ่ิมขึ้นโดยรวดเร็ว ซึ่งเป็นลักษระต่างไปจากประเทศกำลังพัฒนาซึ่งขาดแคลนการสะสมทุนภายในประเทศ การสะสมทุนถาวรของสิงคโปร์เพ่ิมจาก 6% ของ GDP ใน ค.ศ. 1960 เป็น 24% ของGDP ใน ปี 1970 ในการสะสมทุนภาวรนั้นรัฐบาลสิคโปร์มีบทบาทสำคัญ รัฐบาลมีการลงทุนเพิ่มในกิจการต่างๆ อย่างมากมาย ทั้งยังพยายามหามาตการจุงใจให้มีการลงทุนโดยเอกชนทั้งจากภายในประเทศอง และจากต่างประเทศปรากฎว่าหลังจาก ค.ศ. 1968 เป็นต้นมาเงินลงทุนจากต่างประเทศได้หลั่งไหลเข้ามาในสิงคโปร์มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิงในสาขชาอุตสาหกรรมหัตถกรรม ที่มาของทุนจากต่างประเทศส่วนใหญ่คือ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ญี่ปุ่น และเนเธอร์แลนด์
           จากการเข้ามาลงทุนด้านอุตาสหกรรมของต่างประเทศวคึ่งตงกับความต้องการของรัฐบาลสิงคโปร์ ในอนที่จะขยายสาขาเศรษฐกิจให้กว้างขวางยิ่งขึ้น ดังนั้น รัฐบาลสิงคโปร์จึงพยายามดึงดูดใจนักลงทุนเอกชน ด้วยการสร้างกิจกรรมพ้นฐานให้มากขึ้น เช่น การขยายเมืองการสร้างนิคมอุตสหกรรม กาพลังงาน การคมนาคมขนส่งฯ นอกจาการพยายามส่งเสริมอุตสาหกรรมการผลิตแล้วยังมีความพยายามส่งสเริมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวอีกด้วย โดยการจัดสร้างสถานที่พัก การปรัปปรุงระบบธนาคาร เป็นต้น
            2) กลยุทธในการพัฒนาแลการเปลี่ยนโครงร้างทางเศษฐกิจ รัฐบาลสิงคโปร์พยายามสร้างภาวะความเท่าเทียมและความอยุ่ดีกินดี ให้กับประชาชนด้วยมาตรการต่างๆ ดังกล่วมาแล้ว ซึ่งเป็นผลดีแก่การพัฒนาเศรษบกิจของประเทศ เพราะหลักความจริงที่ว่าตราบใดที่ความเหลือมล้ำทางเศรษบกิจของประชาชนในสังคมมีมาก เสถียรภาพของประเทศก็ยากที่จะดำรงอยู่ได้
            ในทศวรรษที่ 1950 สิงคโปร์ประบปัญหานานประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพึ่งเศรษฐกิจการค้าแต่อย่างเดี่ยวไม่เป็นการเพียงพอ รัฐบาลจึงหันมาใช้กลยุทธ์เพื่อแก้ปัญหาการจ้างงาน ดดยการขยายสาขาเศรษกิจออกไปหลายๆ สาขานอกจากการต้า นั่นคือ กันมาเหน้นหนักการอุตสาหกรรมอย่างเต็มที่ แต่อย่างไรก็ตามอุตสาหกรรมในระยะทศวรรษ 1960 นั้นเป็นลักษระการประกอบโดยอาศัยชิ้นสวนนำเข้าจากต่างประเทศและผลิตเพื่อขายตลาดในประเทศเป้นสวนใหญ่ ที่เหลือจึงเป็นการส่งออกโดยรัฐให้คึวามคุ้มตรองอุตสาหกรรมถายในโดยใช้ระบบโควต้าและกำแพงภาษี ซึ่งลักษระการผลิตดังกล่าวจะเกิดผลเสียแก่ดุลชำระเงินของประเทศ และยังปรากฎว่าตลาดภายในมีขนาดจำกัดอีกด้วย ดังนั้น ในปลายทศวรรษ 1960 และต้นทศวรรษ 1970 รัฐบาลจึงเปลี่ยนนโยบายอุตสาหกรรมหันมาสนับสนุอุตสากรรมเพื่อส่งออกเท่านั้น ซึ่งถือเป้นการส่งเสริมการขยายตัวของการต้าต่างประเทศด้วย ทั้งนี้ รัฐบาลจะเลิกการใช้กำแพงภาษีคุ้มครองสิค้าเข้า แต่จะให้คามช่วยเลือการผลิตเพื่อส่งออก โดยพยายามดึงดูดการลทุนจากต่างประเทศและภายในเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมให้ความสะดวกในการตั้งโรงาน การขนส่ง การนำเข้าและการส่งออก ตลอดจนมีการออกกฎหมายควบุคมอัตราค่าจ้างให้เหมาะสม รวมทั้งวันหยุดและช่วดมงการทำงานของแรงงาน มีการฝึกฝนแรงงาน ตลอดจนการพัฒนาวิทยาการจัดการ นอกจากนั้นอนุญาตให้ผุ้ผลิตส่งเงินกำไรออกจากประเทศได้เสรด้วยมาตรการต่างๆ เล่านี้มีผลให้สิงคโปร์กลายเป้นประเทศอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออกภายในระยะไม่นานนัก การให้ความช่วยเหลือในลักษณะดังกลาวนั้นเป็นการเน้นการแข่งขัน ภายใต้ความเสมอภาค ดังนั้น การที่อุตสาหกรรมใดจะดำรงอยู่ได้หรือสลายไปจึงขั้นกับประสิทธิภาพของตนเป็นสำคัญ
              จากเศรษบกิจแบบศุนย์กลางการต้าในสมัยเป็นอาณานิคมของประเทศอังกฤษจนกระทั่งการตกอยุ่ใต้อิทธิพลของญี่ปุ่น การร่วมในสหพันธ์มาเลย์เซีย ตลอดจนถึงสมัยที่เป็นเอกราชนั้น สิงคโปร์ได้ผ่านปัญหาหลายอย่างทั้งการเมืองและเศรษฐกิจมากพอสมควร แม้จะไม่รุนแรงเท่ากับประเทศเพื่อบ้านบางประเทศ สิงคโปร์ประสบทั้งปัญหาการกีดกันของมลายู ตลอดจนปัญหาต่างๆ ภายในประเทศ แต่สิงคโปร์สามารถฟันฝ่าอุปสรรคต่างๆ จนขึ้นมาเป็นประเทศพัฒนาที่ประชาชนมีรายได้สุงมีความกินดีอยุ่ดี และมีความเสมอภาคท่ามกลางเพื่อนบ้านที่ยังด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนาไดอ้ย่างน่าภาคภูมิ เป็นปัญหาที่น่าขบคิดอย่างยิ่งว่าเหจุมดประเทศซึค่งไร้ความสมบูรณืทั้งทรัพยากรแร่ธาตุ ตลอดจนผืนดินน้น จึงได้รับผลสำเร็จปานนั้น ถ้าจะคอยแต่เพียงว่าเพราะขนาดของประเทศเล็กการบริหารย่อมทำได้ง่าย ทำให้พัฒนาได้เร็วเห็นจะเป็นเหตุผลที่ไม่เพียงพอ หากมองให้ลึกลงไปจะเห้นได้ว่าคุณภาพของมนุษย์ในประเทศนี้ต่างหากที่สำคัญ ความตั้งใจของผุ้นำ ตลอดจนความขยันขันแข็งและเคารพกฎระเบียบของพลเมืองต่างหากที่ทำให้นโยบายต่างๆ ของรัฐบาลทำงายอย่างได้ผลรัฐบาบของสิงคโปร์ทำงานจริงจังเพื่อผลประโยชน์อของประเทศแม้ว่าในสายตาของผุ้อื่นอาจเห็นว่ามีการพยายามเอาเปรียบเพื่อนบ้านก็เป็นปกติวิสัยของพ่อค้า ซึ่งผู้ทีติดต่อด้วยต้องฉลาดทีน นอกจากนั้นนโยบายตลอดจนบทบาทบางอย่างของรัฐบาลสิงคโปร์ถูกเพ่งเล็งว่าเป้นการก้าวเข้าไปยุ่งกับชีวิตส่วนตัวของประชาชนมากไป เข่น การวางแผนครอบครัวการลงโทษผผุ้มีบุตรมากกว่าที่กำหน หรือในปัจจุบันรัฐบาลกำลังวิตกกับการที่ผุ้มีการศึกษาสูงๆ ไม่ยอมสมรสเหล่านี้ ถ้ายายามมองในด้านดีก็จะเห็นได้ว่ารัฐบาบลสิงคโปร์ต้องการให้ประชกรทีเกิดมามีคุณภาพชีวิตที่ดีนั่นเอง
                 ทางด้านเสณาฐกิจน้้นในชวงของทศวรรษ 1960 นั้นมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง จากากรที่สาขาการค้ามีความสำคัญเพียงอย่างเดียวมาเป็นการเพ่ิมความสำคัญของอุตสาหกรรม และโครงสร้างดังกล่าวยังได้เปลี่ยนแปลงไปอีกข้างในปลายทศวรรษ 1980 นั้นคือ การเน้นหนึกในอุตสาหกรรมเพื่อทดแทนการสั่งสินค้าเข้านั้นได้เปลี่ยนเป็นการให้การสนับสนุนการผลิตอุตสาหกรรมเพื่อส่งออก ในการส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษกบิจนั้น รัฐบาลได้พยายามดึงดูดใจให้เอกชนทั้งในประเทศและจากต่างประเทศมีบทบาทมากขึ้นๆ โดยรัฐบาลเป็นเพียงผุ้สนับสนุนด้านต่างๆ เช่น ความสะดวกด้านการขนส่ว การพลังงาน สถาบันการเงิน ฯ สิงคดปร์ประสบความสำเร็จมากในการดึงดูดทุนจากต่างประเทศ ทั้งนี้ก็โดยมีนักลงทุนเหล่านั้นมีความเชื่อมั่นในกเสถียรภาพของรัฐบาลสิงคโปร์ ตลอดจรความมีประสิทธิภาพในหน่วงานต่างๆ ของสิงคโปร์ว่าจะทำให้การดำเนินงานของเขาเป้นไปโดยสะดวก และการลงทุนจะไม่สูญเปล่า...(ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, รศ. ญาดา ประภาพันธ์, 2538.)
             
         

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...