วันจันทร์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2560

Roadmap for the ASEAN Community (2009-2015) & ASEAN Comprehensive Investment Agreement Agreement Community (ACIA)

              ในการประชุมสุดยอดอาเซีนครั้งที่ 14 ที่ชะอำ หัวหิน เมื่อวันที่ ๅ1 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2552 ผู้นำอาเซียนได้ลงนามราับรอง ปฏิญญาชะอำ หัวหิน ว่ราด้วยแผนงาจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ค.ศ. 2009-2015) เพื่อจัดตั้งปราคมอาเวียนภายในปี 2558 (2015) Cha3am Hua Hin Dedaration on the Roadmap for the ASEAN Community (2009-2015) โดยจะเป็นประชารคมที่รปะกอบด้วย 3 เสาหลักซึ่งเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน คือ
             1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีัวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างแธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและควาามามั่นคงของภุมิภาคเพื่อให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และสามารถแก้ปขปัญหาและความขัอแยง โดยสันติวิธี อาเซียนจึงได้จัดทำแผนงานการจัดตั้งอบุ่ร่วมกันอย่างสันติสุข และสารารถแก้ไขปัญหาและความขชัดแย้ง โดยสัจตคิวิธีอาเซียนจึงได้จัดทำแผนงานการจัดตั้งประชคมการเมืองและความมั่นงคงอาเว๊ยน โดยเ้น้ในปร 3 ประการ คือ 1) การมีกฎเกณฑ์และดค่านนิยมร่วมกัน ครอบคลุมถึงกิจกรรมต่างๆ ที่จะร่วมกันทำเพื่อสร้างความเข้าใจในระบบสังคมวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่แตกต่างของประเทศสมาชิก ส่งเสริมพัฒนากรทางการเมืองไปในทิศทางเดียวักัน เช่น หลัการประชาธิปไตย การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การสนับสนุการมีส่วร่วมของภาคประชาสังคม การต่อต้านการทุจริต การส่งเสริมหลักนิติธรรมและธรรมมาภิบาล เป็นต้น 2) ส่งเสริมความสงบสุขและรับผิชอบร่งมกันในการัาษาความมั่นคงสำหรับประชาชนที่ตรอบคลุมในทุกด้านครอบคลุความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างความั่นคงในรูปแบบเดิมมาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและการระงับขอ้พิพาท โดยสันติเพื่อป้องกันสงครามและให้ประเทศสมาชิกอาเวียนอยุ่ด้วยกัน โดยสบงสุขและไม่มีความหวาดระแวงและขยายความร่วมือเพื่อต่อต้านภัยคุกต่มรูปแบบใหม่ เช่นก ารต่อต้านการก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาตจิต่างๆ เช่น ยาเสพติด การต้ามนุษย์ ตลอดจนการเตรียมความพร้อมเพื่อป้องกันละจัดการภัยพิบัติแลุะภัยธรรมชาติ 3) การมีพลวัตและปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก เพื่อเสริมสร้างบทบาทของอาเซียนในความร่วมมือรดับภูมิภาค เช่น กรอบอาเซียน +3 กับจีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) และากรประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ตลอดจนความสัมพันะ์ที่เข้มแข็งกับมิตรประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ เช่น สหประชาชาติ
                2. ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน มีวัตถุประสงค์เพื่อทำให้อาเวีนมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกันและมีการเคลือนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุนและแรงงานมีฝีมืออย่งเสรี อาเวียนได้จดทำแผนงาน กานจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซีนียน ซึ่งเป็นแผนงานบูรณาการการดำเนินงานในด้านเศณาฐกิจเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ 4 ด้าน คือ 1)การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียง โดยมีการเคลื่อย้ายสินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสร และากรเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น 2) การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศราฐกิจของอาเซียน ดยให้ความสำคัญกับประเด็นนโยบายที่จะช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศราฐกิจ เช่น สโยบายการแข่งขัน การคุ้มครองผุ้บริโภค สิทธิในทรัพยย์สินทางปัญญา นโยบายภาษี และการพัฒนาโครงสร้้างพื้นฐาน (การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และพลังงาน) 3) การพัฒนาเศราฐกิจอย่างเสมอภาค ให้มีการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และการเสริมสร้างขีดความสามารถผ่านโครงการต่างๆ 4) การบุรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศภายนอกภูมิภาคเพื่อให้ออาเซียนมีท่าที่ร่วมกันอย่างชัดเจน
              3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน อาเซียนได้ตั้งเป้าหมายเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเวียน ในปี 2558 (2015) โดยมุ่งหวังเป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและมีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมอัตลักษณ์อาเวียน เพื่อรองรับาการเป็นประชาคมสังคม แลวัฒนธรรมอาเวียน โดยได้จัดทำแผนงานกานจัดตังประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งประกอบด้วยความร่วมมือใน 6 ดาน ได้แก่
              - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
              - การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม
              - สทิธิและความยุติธรรมทางสังคม
              - ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
              - การสร้่งอัตลักาณ์อาเวียน
              - การลดช่องว่างทางการพัฒนา..(www.pandintong.com/..ประชาคมอาเซียน, Roadmap for the ASEAN Community,2009-2015)
              ASEAN Comprehensive Investment Agreement ACIA หมายถึง ควาตกลงวาด้วยการลงทุนทุกรูปแบบของอาเซียน โดยครอบคลุมเรื่องการเปิดเสรีด้านการลงทุนในภาคการผลิต การเกษตร ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ และการบริการที่เกี่ยวเนื่อง โดยประเทศสมาชิกอาเวียนจะต้องให้การปฏิบัติกับนักลงทุนอาเซียนเช่นเดียวกับนักลงทุนภายในประเทศของตน รวมถึงให้การคุ้มครองการลงทุนทั้งการลงทุนทางตรงและการลงทุนในหลักทรัพย์ พร้อมทั้งส่งสิรมและอำนวยความสะดวกต่างๆ ให้กับนักลงทุนอย่างเสมอภาค..(www.aseanthai.net/..,ศูนย์ข้อมูลข่าวสารอาเซียน กรมประชาสัมพันธ์, ACIA ย่อมาจาก..)
           ปี พ.ศ. 2530 (1987) ประเทศสมาชิก 6 ประเทศ ได้แก่ บรูไนฯ อินโนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์และไทย ได้ร่วมลงนามในความตกลงอาเซียนเพื่อการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน (ASEAN IGA) ส่วนสมาชิกอาเซียนใหม่ 4 ปรเทศ ได้แก่ กัมพูชา เมียนมาร์ ลาวและเวียนดนามได้เข้าร่วมเป้ฯภาคีในความตกลงอาเซียนเพื่อการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนภายหลังเข้าเป็นสมาชิกอาเวียนและยื่อนหังสือยืนยันการเข้าเป้นภาคีในความตกลงฉบับดังกล่าวต่อมาประเทศสมาชิกอาเซียนได้ร่วมกันจัดทำคามตกลงด้านกาลงทุนฉบับที่ 2 นี้ว่า ความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน(AIA) ซึ่งเริ่มมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2541 (1998)
            ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน (ACIA) การประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ครั้้งที่ 11  ธันวาคม พ.ศ.2548 (2005)  ผุ้นำอาเซียนต้องการจะเร่ิงรัดการจัดตั้งประชุาคมเศราฐกิจอาเซียน(AEC) ให้เร็วขึ้นอีก 5 ปี จากเดิมตามวิสัยทัศน์อาเซียนและแถลงการณ์บาหลีระบุไว้เป็นปี พ.ศ. 2563(2020) มาเป็นจัดตั้งประชาคมเศราฐกิจอาเซียน ให้แล้วเสร็จในปี 2558 (2015) ดังนั้น ผุ้นำอาเซียนจึงมอบหมายให้รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน ดำเนินการจัดทำแผนงานเพื่อใช้เป็นแนวทางการดำเนินงานไปสู่เป้าหมาย จนกระทุั่งการประชุมผุ้นำอาเซียนครั้งที่ 12 ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2550 (2007) รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได้นำแผนงานการจัดตั้งประชคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC Blueprint เสนอต่อผุ้นำอาเซียน ซึ่งได้รับความเห็นชอบและถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของปฏิญญาเซบูว่าด้วยแผนงานการเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมอาเวียนในปี พงศ. 2558 ที่ว่าด้วยภารกิจ 3 ด้านได้ แก่ ความั่นคง เศรษฐกิจ และสังคมและวัฒนธรรม
            การเคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรีภายใต้ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน(ACIA) เป็นส่วนหนึ่งของแผนการจัดตั้งประชุาคมเศราฐกิจอาเวียน ซึ่งที่ประชุมผุ้นำอาเซียนครั้งที่ 13 เมื่อ พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 (2007) ได้กำหนดให้อาเซียนทบทวนและปรับปรุงความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน(AIA) ที่มีอยู่เดิมให้เป็นความตกลงฉบับเดียวที่มีความสมบูรณ์ ทันสมัย และทัดเทียมกับกฎเกณฑ์การลงุทนในระดับสากล
            การเปิดเสรีการลงทุน
            ความหายของการลงทุน โดยทั่วไปของการลงทุน คือ การใช้เงินหรือสินทรัพย์เพื่อก่อให้เกิดผลตอบแทน ไม่ว่าจะอยุ่ในรูปของสินค้า บริกา หรือผลกำไร ซึ่งการลงทุนมักจะเกิดขึ้นพร้อมกับความคาดหวังที่จะได้รับผลตอบแทนที่มีมุลค่าสุงหรือมากกว่าเงินลงทุนที่ลงทุนไป โดยนักลงทุนต้องยอมรับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ส่วนการลงทุนระหว่างประเทศ คือ ธุรกรรมการลงทุนที่เกิดขึ้นนอกอาณาเขตของประเทศผุ้ลงทุน ดังนั้น ความตกลงด้านการลงทุนระหว่างประเทศ จึงเป้นกลไกของรัฐที่จะช่วยส่งเสริมให้ความมั่นใจแก่นักลงทุนต่างชาติในผลตอบแทนที่คาดหวังและลดควาเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยงทางธุรกิจ สำหรับการเข้าไปลงทุนในประเทศของตน
         
 ขั้นตอนของการลงทุน
            การเปิดเสรีการลงทุนสามรถปแบ่งออกเป็น  2 ช่วง ได้แก่
            1) การเปิดเสรีการลงทุนช่วงก่อนการจัดตั้งกิจการ คือ การเปิดเสรีการลงทุนในชวงก่อนหรือในขณะที่การลงทุนกำลังจะเกิดขึ้น ซึ่งกิจกรรมในช่วงก่อนการจัดตั้งกิจการมีทั้งการให้เช้ามา การจัดตั้ง และการได้มา
            2) การเปิดเสรีการลงทุนในช่วงหลังการจัดตั้งกิจการ ซึ่งกิจกรรมในช่วงหลังการจัดตังกิจการเร่ิมตั้งแต่การจัดการ การดำเนินการ การปฏิบัติการ การคงไว้ การใช้ การชำระบัญชี และการขายหรือการจำหน่ายจ่ายโอนอื่นๆ ของการลงทุน
            หลักการเปิดเสรีการบริการตามความตกลงว่าด้วยการต้าบริการของอาเซียน (AFAS) การเปิดเสรีภาคบริการภายใต้ความตกลงว่าด้วยการต้าบริการของอาเซียน เป้นความตกลงเพื่อความร่วมมือในการเปิดตลาดการต้าบริการระหว่างกันภายในกลุ่มอาเซียนให้มากขึ้นกว่าในองค์การการค้าโลก รวมทั้ขยายความร่วมมือด้านบริการระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งเป็นไปตามความตกลงว่าด้วยภาคการต้าภาคบริการ อันเป็นกฎและหลักการเกี่ยวกับการต้าบริการที่ให้ประเทศสมาชิกองค์การการต้าโลก WTO ถือปกิบัติ และยังเป็นแนวทางในการเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการระหว่างประเทศสมชิก โดยกำหนดรุปแบบการต้าบริการระหว่าประเทศไว้ 4 รูปแบบ
         
กลักการเปิดเสรีการลงุทนตามความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเว๊ยน (ACIA) หลักสำคัญในการเปิดเสรีการลงทุนตามความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเวียน คือ การให้การปฏิบัติกับนักลงุทนต่างชาติอย่างเท่าเทียมกัน และไม่เลือกปฏิบัติ ไม่ว่ากับคนชาติของตนหรือคนชาติอื่นๆ สำหรับการลงทุนในช่วงก่อนการจัดตั้งกิจการ โดยให้เป็นไปตามความสมัครใจของประทเสสมาชิก ปต่ละประเทศ ซึ่งประเทศสมาชิกอาเวยนสามารถเลือกเปิดเสรีการลงทุนในสาขาและช่วงเวลาที่ตนมีความพร้อมตามกรอบระยะเวลาของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC โดยการลดหรือยกเลิกข้อจำกัดหรือยกเลิกเงื่อนไขที่เป็นอุปสรรคต่อการลงทุน หรือการไม่ออกกฎระเบียบใหม่ ๆ ที่เข้มงวดว่าระดับที่ผุพันไว้ตามหลักการประติบัิตเยี่ยงชาติที่ได้รับความอนุเคราะห์ยิ่ง และการปฎิบัติเยี่ยงคนชาติ คือ การปกิบัติต่อการลงทุนจากนิติบุคคลอาเซียน และนิติบุคคลต่างชาติที่จดทะเบียนในอาเซียน เทียบเท่ากับการลงทุนของบุคคลหรือนิติตบุคคลของประเทศตน และเทียบเท่ากับการปฏิบัติต่อประเทศที่สาม รวมถึงไม่กำหนดเงื่อไขบังคับในการลงทุน โดยเปิดโอกาสให้ประเทศสมาชิกอาเซียนจัดทำรายการข้อสงวนสำหรับสาขาที่ไม่ต้องการเปิดเสรีไว้ ทั้งนี้ การเปิดเสรีการลงุทนจะต้องไม่น้อยกว่าการเปิดเสรีการลงทุนที่ประเทศสมาชิกอาเซียนเคยผุกพันไว้ภายใต้ความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน เดิม
           หลักการสำคัญในการเปิดเสรีการลงทุนตามความตกลง่าด้วยการลงทุนอาเซียน ACIA จะครอบคลุมการเปิดเสรีในธุรกิจ 5 สาขา คือ เกษตร ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ และอุตสาหกรรมการผลิต รวมถึงบริการที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ 5 สาขา เช่นเดียวกบความตกลงเขตการลงทุนอาเวียน นอกจากนั้น การเปิดเสรีการลงุทนยังครอบคลุมทั้งการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ และการลงทุนในหลักทรัพย์ ซึ่งเป็นการเปิดเสรีการลงทุนที่มีขอบเขตกว้างกว่าการเปิดเสรีการลงุทนตามความตกลงเขตการลงทุนอาเวียน ที่ครอบคลุมเฉพาะการลงทุนโยตรงจากต่างประเทศ แต่ไม่รวมถึงการลงทุนในหลักทรัพย์ อย่าวไรก็ดี หลักการเปิดเสรีการลงทุนตามความตกลงว่าดวยการลงทุนอาเวียน จะไม่ใช้บังคับกับมาตรการที่ออกหรือคงไว้โดยประเทศสมาชิกอาเซียนที่กระทบต่อการต้าบริการภายใต้ความตกลงว่ด้วยการต้าบริการของอาเซียน
              ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน เป็นการผนวกหลักการของความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน เข้ากับความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มคองการลงุทนอาเวียน เพื่อให้เป็นความตกลงฉบับเดียวที่มีความสมบุรณ์ ทันสมัย และทัดเทียมกับกฎเกณฑ์การลงทุนระดับสากล ดดยบังคงไว้ซึ่งหลักการสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนระหว่างประเทศที่ 4 ประการ ได้แก่ การเปิดเสรีการลงทุน การส่งเสริมการลงทุน การให้ความคุมครองการลงทุน และการอำนวยความสะดวกด้านการลงทุนทั้งนี้ ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน จะมีผลบังคับเมื่ประเทศสมาชิกอาเวียนทุกประเทศให้สัตยาบันต่อเลขาธิการอาเซียน
             หลักการเปิดเสรีการลงทุนภายใต้ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเวียนกำหนดให้ประเทศสมาชิกคงระดับการเปิดเสรีไว้ไม่น้อยไปกว่าที่ผูกพันไว้ภายใต้ความตกลงเขตการลงทุนอาเวียน โดยถึงแม้จะใช้แนวทางการเปิดเสรีแบบ เหมือเดิม แต่ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเวียน ได้ปรับปรุงพนธกรณีด้านการเปิดเสรีให้มีความเข้มงวดมากขึ้น โดยการเพ่ิมหลักการห้ามข้อกำหนดให้ปรฏิบัติ และข้อบทว่าด้วยผุ้บิรหารอาวุโสและรรมการบริหาร และให้ประโยชน์แก่นักลงทุนที่เป็นบุคคลธรรมดาผุ้มีถิ่นพนักถาวะในประเทศสมาชิกอาเซียน และนักลงทุนเป็นนิติบุคคลที่ไม่ใช่อาเซียนแต่เข้ามาประกอบธุรกิจในอาเซียนอย่างมีนัยสำคัญด้วย
           สำหรับหลักการส่งเสริมการลงทุนและหลัการคุ้มครองการลงทุนภายใต้ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเวียน นั้น มีขอบเขตไม่ต่างจากความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนอาเวียน โดยยังคงไว้ซึ่งกลไกการคุ้มครองการลงทุนที่มีอยุ่เดิมแต่มีการปรับปรุรายละเอียดในบทบัญญัติต่างๆ ให้มีความสมบูรณ์โปร่งใส ชัดเจนในขั้นตอนและรายละเดียดมากขึ้น ทั้งการชดเชยในกรณีจลาจล การชดเชยในกรณีที่มีการเวนคือหรือโอนกิจการมาเป็นของรัฐ รวมถึงการพัฒนการะบวนการระงับข้อพิพาทระหว่างนักลงทุนกับผุ้รัการลงทุน..( "วิเคราะห์ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเวียน ค.ศ.2009 ศึกษาพัฒนการเรื่องการเปิดเสรีการลงทุนของอาเซียนและความพร้อมของประเทศไทยในกาขเ้าเป็นภาคี"วิทยานพนธ์(บทคัดย่อ,บทที่ 1 บางส่วน), นางสาวธัญลักษณ์ ทองร่มโพธิ์,2554)
           

วันอาทิตย์ที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2560

Adoption of ASEAN Charter (2008)

            ในการประชุม ณ กัวลาลัมเปอร์ บรรดาผุ้นำประเทศสมาชิกอาเวยนได้ร่วมประกาศ "วิสัยทัศน์อาเซียน 2020"(ASEAN Vision 2020)โดยกำหนดเป้าหมายว่าภายในปี ค.ศ. 2020 (พ.ศ.2563) อาเซียนจะมีรูปแบบความร่วมมือที่พัฒนาใกล้ชิดมากขึ้นยิ่งกว่าเดิม ต่อมาในการประชุมผุ้นำอาเซียนครั้งที่ 9 (2003) ผุ้นำอาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน Bali Concord II เพื่อให้เกิดประชาคมอาเซียน ภายในปี พ.ศ.2563(2020) โดยจะประกอบด้วย 3เสาหลัก คือ ประชาคมความมั่นคงแห่งอาเซียน, ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน
         การประชุมสุดยอดผุ้นำอาเซียนครั้งที่ 10 ณ กรุงเวียงจันทน์ (2004) บรรดาผุ้นำอเซียนได้ประกาศแผนปฏิบัติการเวียงจันทน์ ซึ่งได้สนับสนุนการจัดทำกฎบัตรอาเซียนเพื่อรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายในปี พ.ศ.2563(2020) และในการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนครั้งที่ 11 ที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย (2005) บรรดาผุ้นำร่วมกันประกาศ หลักการสำคัญในการจัดทำกฎบัตรอาเซยนและได้มอบหมายให้ "คณะผุ้ทรงคุณวุฒิ"(Eminate Persons Group) ซึ่งประกอบด้วยผุ้ทรงคุณวุฒิในด้านากรต่างประเทศจากแต่ละประเทศสมาชิกเป็นผุ้จัดทำข้อเสนอแนะเบื้องต้นและลักษณะทั่วไปของกฎบัตรอาเซียน ซึ่งคณะผุ้ทรงคุณวุฒิก็ได้ประชุมหารือร่วมกับภาคส่วนต่างๆ จนสามารถสรุปข้อเสนอแนะเบื้องต้นในการจัดทำกฎบัตรในรูปแบบ "รายงานของคณะผุ้ทรงคุณวุฒิเรื่องกฎบัติอาเซียน" ในเดือน ธันวา พ.ศ.2549(2006) และในการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ครั้งที่ 12 ณ กรุงเซบู ประเทศฟิลิปปินส์เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ.2550 (2007) บรรดาผุ้นำอาเซียนได้ร่วมกันประกาศ รับรองรายงานของคณะผุ้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับกฎบัตรอาเซียนและได้มอบหมายให้ "คณะทำงานระดับสูง" หรือ High Level Task Force ซึ่งประกอบไปด้วยเจ้าหน้าที่ระดับสูงที่มีความเชี่ยวชาญจากแต่ละประเทศสมาชิกเป็นผุ้รับผิดชอบจัดทำร่งกฎบัตรและเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ โดยให้อาศัยหลักการสำคัญที่บรรดาผุ้นำได้ร่วมกันประกาศไว้ ณ กรุงบาหลี และกรงุเซบู รวมถึงให้พิจารณาจากข้อเสนอแนะจากรายงานของคณะผุ้ทรงคุณวุฒิให้แล้วเสร็จ เพื่อสามารถนำร่างกฎบัติไปพิจารณาในการประชุมผุ้นำอาเซียน ครั้งที่ 13 ณ ประเทศสิงคโปร์ เมื่อเดือน พศจิการยน 2550 (2007) ต่อไป จากนั้นก็จะได้มีการตรวจสอบ รับฟังความคิดเห็น ก่อนผุ้นำจะลงนาม
               การประกาศใช้ ในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551(2008) ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศของสมาคมประชาชาติแห่งเอเซียนตะวันออกเฉียงใต้ จัดขึ้นที่สำนักงานเลขาธิการอาเซียน ในจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียนได้ประกาศใช้ กฎบัติอาเซียนอย่างเป็นทางการ ส่งผลให้การดำเนินงานของอาเซียน เป็นไปภายใต้กฎหมายเดียวกันและปูทางไปสู่การสร้างตลาดเดียวในภูมิภาคภายใน 7 ปี
              โครงสร้างของกฎบัตรอาเซียน ประกอบด้วย อาัมภบทและข้อบังคับ 55 ข้อใน 13 หมวด
              หมวด 1 วัตถุประสงค์และหลักการ - กล่าวถึงวัตถุประสงค์และหลักการ
              หมวด 2 สภาพบุคคลตามกฎหมาย - ระบบฐานทางกฎหมาย
              หมวด 3 สมาชิกภาพ - อธิบายสมาชิก การรับสมาชิกใหม่
              หมวด 4 องค์กร - กล่าวถึงองค์กรและทำงานประกอบด้วย ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนคณะมนตรีประสานงาน คณะมนตรีประชาคมอาเซียนต่างๆ องค์กรรัฐมนตรีเฉพาะสาขาคณธกรรมการถาวรประจำอาเซียน เลขาธิการและสำนักเลขาธิการ องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน
             หมวด 5 องค์กรที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียน 3 มีรายชื่อตามภาคผนวก 2

             หมวด 6 ความคุ้มกันและเอกสิทธิ์ - เอกสิทธิ์ทางการทูตของอาเซียน
             หมวด 7 การตัดสินใจ - กล่าวถึงเกณฑ์การตัดสินที่อยุ่บนหลักการปรึกษาหรือและฉันทามติ
             หมวด 8 การระงับข้อพิพาท - กล่าวถึงวิธีระงับข้อพิพาทและคนกลาง โดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียนเป็นช่องทางสุดท้าย
              หมวด 9 งบประมาณและการเงิน - กล่าวถึงการจัดทำงบประมาณของสำนักเลขาธิการ
              หมวด 10 การบิหารและขั้นตอนการ่ำเนินงาน 3 กล่าวถึง ประธานอาเซียน พิธีการทางการทูต ภาษาทำงาน
           
หมวดที่ 11 อัตลักษณ์และสัญลักษณ์ - กล่าวถึงคำขงัญ ธง ดวงตรา วันและเพลงอาเซียน
              หมวดที่ 12 ความสัมพันธ์ภายนอก - กล่าวถึงแนวทางและขั้นตอนการเจรจาของอาเซียนกับคู่เจรจา
              หมวดที่ 13 บทบัญญัติทั่วไปและบทบัญญัติสุดท้าย - กล่าวถึงการบังคับใช้
               ภาคผนวก 1 กล่าวถึงองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา
               ภาคผนวก 2 กล่าวถึงองค์กรที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียน คือ รัฐสภา องค์กรภาค ธุรกิจ สถาบันวิชาการและองค์การภคประชาสังคม
               ภาคผนวก 3 อธิบายรายละเอียดธงอาเซียน
               ภาคผนวก 4 อธิบายรายละเอียดดวงตราอาเซียน
               สาระสำคัญของกฎบัตรอาเซียน
               ตามกฎบัตรนี้ อาเซียนมีฐานะเป็นนิติบุคคล
               วัตถุประสงค์ ของกฎบัตินี้เป็ฯการประมวลบรรทัดฐาน และค่านิยม ของอาเซียนที่พอสรุปได้ดังนี้
              ภาพรวมของประชาคมอาเซียน การักษาและเพิ่มพูนสันติภาพ ความมันคง เสถียรภาพ การเพิ่มความร่วมมือด้านการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรม เป็นเขตลปลอดอาวุธนิวเคลียร์และอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง
             ด้านเศรษฐกิจ สร้างตลาดและฐานการผลิตเดียวและความสามารถในการแข่งขันสูงการรวมตัวทางเศรษฐกิจที่มีการเคลื่อนย้ายเสรีของสินค้า/บริาการ การลงทุนและแรงงน การเคลื่อนย้ายทุนเสรียิ่งขึ้น
            ด้านความมั่นคงของมนุษย์ บรรเทาความยากจนและลดช่องว่างการพัฒนา ส่งเสริมพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ผ่านความร่วมมือด้านการศึกษาและการเาียนรู้ตลอดชีพ
            ด้านสังคม ส่งเสริมอาเซียนที่มีประชชนเป้ฯศูนย์กลาง สร้างสังคมาที่ปลอดภัยมั่นคงจากยาเสพติด เพ่ิมพูนความกินดีอยุ่ดีของประชาชนอาเซียน ผ่านโอากสที่ทัดเที่ยมกันในการเข้าถึงการพฒนามนุษย์,สวัสดิการและความยุติธรรม
              ด้านสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการพัฒนาอย่างยั่งยือนที่คุ้ครองสภาพแวดล้อม ความยั่งยือนของทรัพยากรธรรมชาติ
              ด้านวัฒนธรรม ส่งเสริมอัตลักษณ์ของอาเซียนโดยเคารพความหลากหลายและอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม
             ด้านการเมืองความมั่นคง คุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรภาพขั้นพื้นฐาน เสริมสร้างประชาธิปไตย เพ่ิมพุนธรรมาภิบาลและหลักนิติธรรม ตอบสนองต่อสิ่งท้าทายความมั่นคง เช่น การก่อการร้าย
              หลักการ ของกฎบัตรนี้ อยุ่บนพื้นฐานของกฎหมายระหว่างประเทศ เช่น การไม่แทกแซงกิจการภายใน การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี สิ่งที่เน้นหนักคือ การรวมศูนย์กับความสัมพันธ์กับภายนอก จึงทำให้กฎบัตรนี้เป็นเสาหลักของการสร้างประชาคมอาเซียนและตอกย้ำถึงข้อผูกมัดทางกฎหมายของข้อตกลงอาเซียนต่างๆ
              กลไกของอาเซียน ให้ที่ประชุมสุดยอดอาเวียนเป็นองค์สูงสุดในกำหนดนโยบายของอาเวียน โดยมีากรประชุมสนุดยอดปีละ 2 ครั้ง มีคณะมนตรีประสานงานอาเซียนที่มาจากรัฐมนตรีต่างประเทศเป็นผุ้บริหารงานทั่วไป และคณะมนตรีประชาคมอาเซียนดำเนินการตามพันธะกรณีในแต่ละสาขา เลขาธิการเป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่บริหารสำหรับการติดตามควมคือบหน้าในกิจการต่างๆ ของอาเซียน รวมทั้งมีคณะผู้แทนภาวรประจำอาเซียนเพื่อสนับสนุนการทำงานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียน
           การบริหารงาน ประธานอาเซียนดำรงตำแนห่งวาระ 1 ปี และประเทศที่เป็นประธานอาเซียนจะรับตำแหน่งประธานของกลไกของอาเซียนทุกตำแหน่ง อาทิ ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน มนตรีประสานงานอาเวียน มนตรีประชาคมอาเซียนคณะต่างๆ ประธานผุ้แทนภาวรประจำอาเซียน
           จากกำหนดให้มีการประชุมสุดยอดปีละ 2 ครั้งแสดงว่า อาเซียนกำลังปรับให้ที่ประชุมสุดยอดให้มีบทบาทเชิงบริหารอย่างใกล้ชิดกับการปฏิบัติงานมากขึ้น แทนที่จะให้ที่ประชุมสุดยอดเป็นเพรียงพิธีกรรมทางการทุต รมทั้งการบริหารงานที่ทำให้มีสอดคล้องกับประธานอาเซียนย่อมแสดงถึงคงามพยายามเพ่ิมสมรรถนะขององค์กรในด้านประสิทธิผลของคณะทำงานด้านต่างๆ มากขึ้น
           ข้อบังคับที่น่าสนใจคือ การให้มีองค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน ซึ่งปัจจุบันอยุ่ระหว่งการร่างข้อบังคับโดยคณะทำงานระดับสูง ขณะที่ บทบาทของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนในประเทศสมาชิก ทำให้สามารถคาดหวังองค์กรนี้ในฐานะเวทีของการเรียกร้องสิทธิและสร้้างพื้นที่ต่อการรับรู้จากสาธารณะ...(th.wikipedia.org/..กฎบัตรอาเซียน)
         

วันเสาร์ที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2560

Veintiane Action Programme(2004)

           แผนปฏิบัติการเวียงจันทน์ Veintiane Action Programme 1997 อาเวียนได้ร่วมกันจัดทำวิสัยทัศน์อาเซียน 2020 (ASEAN Vision2020) ซึ่งตั้งเป้าไว้ว่า อาเซียนจะเป็นภูมิภาคที่ขยายกรอบความร่วมมือกับประเทศี่ไม่ใช่สมาชิก (outward looking) เป็นประชาคมที่มีความสงบสุข มั่นคงและมั่งคั่ง เป็นหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาร่วมกันและจะเป็นปะชาคมแห่งความเอื้ออาทร ต่อมาอาเวียนจึงได้มีแผนปฏิบัติการฮานอย (Hanoi Plan of Action : HPA) เพื่อเป็นแผนแม่บทในการอนุวัติให้อาเซียนได้บรรลุถึงวิสัยทัศน์ดังกล่าว ดดยมีกำหนดกรอบดำเนินงาน 6 ปี (1999-2004)
          ต่อมาปี 2003 ผุ้นำอาเซียนได้ลงนามรับรอง Declaration of ASEAN Concord II : Bali Convord ซึ่งได้มีการขยายความในรายละเดียดเกี่ยวกับวิสัยทัศนือาเซียน 2020 โดยกำหนดให้ประชาคมอาเวียนตั้งอยุ่บนพื้นฐานของความร่วมมือใน 3 ด้านหลัก ประกอบด้วย 1. ความร่วมมือทางการเมืองและความมั่นคง 2. ความร่วมมือทางเศราฐกิจและ 3. ความร่วมมือทางสังคมและวัฒนธรรม โดยตั้งเป้าหมายไว้ว่า ภายในปี 2020 อาเซียนจะกลายเป้ฯ ประชาคมความั่นคงอาเวียน ASEAN Security Community) ประชาคมเศราฐกิจอาเวียน ASEAN Economic Community และประชาสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน ASEAN Socio-Cultural Community
           แผนปฏิบัติการเวียงจันทน์ Veintiane Action Programme : VAP ในการประชุมสุดยอดอาเวยน ครั้งที่ 10 ณ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เมื่อวัยที่ 29 พฤศจิการยน 2004 ผุ้นำอาเซียนได้ ลงนามร่วมกันในแผนปฏิบัติการเวียงจันทน์ ซึ่งมีกรอบการดำเนินงาน 6 ปี ระหว่าง ปี  2004-2010 โดยกำหนดให้เป็นแผนปฏิบัติการเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์อาเซียน 2020  สือบต่อจาก HPA ทั้งนี้ในการดำเนินงานของ VAP จะให้ความสำคัญต่อ 2 มิติหลัก ซึ่งได้แก่ การรวมกลุ่มประเทศสมาชิกให้เป็นประชาคมอาเซียนที่เป้ฯปึกแผ่น และการกำหนดยุทธศาสตร์ใหม่ๆ เพื่อลดช่องว่าของระดับการพัฒนาด้วยการเร่งรัดให้มีการรวมกตัวเร็วขึ้น ทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้นซึ่งรวมกถึงการทำงานร่วมกับประเทศคู่เจรจาด้วย การรณรงค์ให้ฝ่ายการเมืองเข้ามาเป็นฝ่ายสนับสนุน และการระดมทรัพยากรเพื่อให้มีการดำเนินงานตามแผน VAP อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมียุทธศาสตร์ดังต่อไปนี้
           - การเป็นประชาคมเศราฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community ซึ่งมุ่งที่จะขจัดอุปสรรคต่างๆ ที่เป็นไปได้ เพื่อให้สินค้า บริการและแรงงานมีการไหลเวียนอย่างอิสระและให้เงินทุนไหลเวียนมากขึ้นอย่างอิสระ ภายในปี 2020
           - การเป็นประชาคมมั่นคงอาเซียน ASEAN Security Community ซึ่งมุ่งที่จะขจัดอุปสรรคต่างๆ ที่เป็นไปได้ เพื่อให้สินค้า บริการ และแรงงานมีการไหลเวยนอย่างอิสระและให้เงินทุนไหลเวยนมากขึ้นอย่างอิสระ ภายในปี 2020
           - การเป็นประชาคมมั่นคงอาเซียน ASEAN Security Commuty ซึ่งมุ่งหวังที่จะสร้างภูมิภาคที่มีเสถียรภาพและความมั่นคง ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนและ ธรรมาภฺบาล  มีการจักระบบเตือนภัยล่วงหน้า
           - การเป็นประชคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน ASEAN Socio-Cultural Community ซึ่งมุ่งหวังที่จะยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนทั่วทั้งภุมิภาค และยายามสร้างเอกลักษณ์ของอาเวียนให้เกิดขึ้น การวางแผนลดความยากจนและยกมาตรฐานการดำนงบีพของประชาชน ป้องกันการแพร่ระดบาดโรคเอเส์ และดรคติต่อร้ายแรงอื่นๆ รวมทืั้งสร้าง "เขตปลอดยาเสพย์ติดอาเวียน" ขึ้นภายในปี 2015
            VAP ในส่วนที่เกี่ยวกับการพัฒนาสังคม  สำหรับล VAP ในส่วนที่เกี่ยวกับการพัฒนาสังคา ปรากฎอยุ่ภายใต้หัวข้อ การเป้นประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน หรือ ASCC ซึงได้กำหนด ธีม ไว้ว่า "จะทำนนุบลำรุงทรัพยากรมนุษย์ วัฒนธรรมและธรรมชาติ เืพ่อมุ่งสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนของประชาคมอาเวียนที่มีความสมานฉันท์และยึดประชาชนเป้นจุดศูนย์กลาง" โดยมีเป้าหมายเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนอาเว๊ยน มุ่งใช้ทรัพยากรธรราชาติแบบยังยืน และเสริมสร้างความแข็งแกร่งและยือหยุ่น โดยให้ความสำคัญต่อ 3 ปัฯหาหลัก ได้แก่ ปัญหาความยากจน ปัญหาด้านความเสมอภาค และปัยหาสุขภาพ ทั้งนี้ VAP ได้กำหนดกิจกรรมความร่วมือในระดับภุมิภาคเพื่อสรัีบสนุนการดำเนินานในระดับประเทศ (เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสังคม)ไว้ดังนี้
            - การยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชชนกลุ่มชายขอบ และกลุ่มผุ้้อยโอกาสด้วยการเสริมสร้างศักยภาพของเจ้าหน้าที่ในด้านการพัฒนาชนลท และการลบรรเทาความยกจน รมทั้งส่งเสริมให้ประชากรกลุ่มนี้เข้ามามีส่วนร่วมในสังคมมากขึ้น
           - สนับสนุนให้มีการเข้าถึงการบริการทางการศึกษาอย่างทั่วถึง และส่งเสริมการยกระดับมาตรฐานการศึกษาโดยผ่านทางเครือข่ายและความร่วมมือของสถาบันการศึกษา
- ลดปัจจัยเสี่ยงทางสังคมของประชกรกลุ่มเด็ก สตรี ผุ้สูงอายุ และคนพิการ ด้วยการสนับสนุนกิจกรรมแผนงานที่สอดคล้องกบอนุสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง และส่งเสริมการให้บริการต่างๆ เช่นการดูแลผุ้สูงอายุ การดูแลด้านสุขภาพ และการบิรการทางการศึกษา
           - ส่งเสริมให้ครอบครัว ประชาสังคม และภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้นในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาความยากจนและสวัสดิการทางสังคมด้วยการสร้างเครือข่ายและจัดทำโครงการแลกเปลี่ยน
            -ส่งเสริมให้สตรีและเยาวชนมีส่วนร่วมมากขึ้นในกลุ่มประชากรแรงงานด้วยการจัดผึกอบรมด้านอาชีพ และการเพ่ิมช่องทางให้เข้าถึงสินเชื่อรายย่อย และระบบข้อมูล
           - การให้ความสำคัญต่อการพัฒนาด้านศุขภาพ
           - ป้องกันการแพร่ระบาดและอันตรายของ HIV/AIDS และโรคติเชื้ออื่นๆ
           - ให้อาเซียนเป็นเขตปลอดยาเสพย์ติดภายในปี ค.ศ. 2015 โดยใช้มาตการป้องกันการรักษา และให้ชุมชนมีบทบาทในการควบคุม รวมทั้งการขจัดการค้ายาเสพย์ติด
            การจัดการกับผลกระทบทางสังคมที่เกิดจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ
            - ส่งเสริมการพัฒนาทรัพยกรมนุษย์ โดยความร่วมมือของเครือข่ายสภาบันฝึกอาชีพต่างๆ
            - ส่งเสริมการดำเนินงานคุ้มครองทางสังคมและระบบการจัดการความเสี่ยงทางสังคม..
(คำแปลอย่างเป็นทางการ) แผนปฏิบัติการเวียงจันทน์ Vientiane Action Programme (VAP) 2004-2010

วันศุกร์ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2560

Bali Concord II (Declaration of ASEAN Concord), (2003)

              1976 ผุ้นำอาเซียน (ซึ่งขณธนันมีห้าประเทศ ได้แก่ อินโดนิเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์และไทย) ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียนฉบับที่ 1 (DEClaration of ASEAN Concord I : Bali Concord I) ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 1 ณ เมืองบาหลี ประเทศอินโดนิเซีย โดยมีเป้าหมายหลักในการักษาเสถียรภาพและความมั่นคงในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาเมื่ออาเซียนสามารถสร้างความมั่นคงทางการเมืองได้ในระดับหนึ่งแล้วอาเซียนก็ได้ตกลงกำหนดวิัยทัศน์อาเซียน 2020 (ASEAN Vision 2020) ผุ้นำอาเซียนในขณะนั้นเห้ฯว่าอาเซียนพร้อมแล้วทั้งด้านการเมืองภายในปประเทศและระหว่างประเทศ อาเซียนควรหันมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเพื่อพัฒนาศักยภาพของภูมิภาค อาเซียนจึงได้นำวิสัยทัศน์อาเซียน 2020 มาขยายผลเป็นแผน "แผนปฏิบัติการฮานอย (Ha Noi Plan of Action : HPA) ขึ้นในปี ค.ศ. 1998 เพื่อที่จะเป็นแผนการพัฒนาอาเวียนไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ในวิสัยทัศน์อาเซียน 2020 จากนั้นก็ได้มีประกาศ ความคิดริเร่ิมเพื่อากรรวมกลุ่มของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration : IAI) และแผนงนการรวมกลุ่มของอาเซียน (Roqdmap for Integration of ASEAN : RIA เพื่อเป็นแนวทางในการปรับตัวรับสมาชิกใหม่ CLMV และกำหนดทิศทางในการร่วมมือพัฒนาภูมิภาค
             ต่อมาในการประชุมสุดยอดผุ้นำอาเซียนครั้งที่เก้า เมื่อวนที่ 7 ตุลาคม ค.. 2003 ประเทสสมาชิกอาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมืออาเซียนฉบับที่ 2 (Declaration of ASEAN Concord II : Bali Concord II ตกลงกันที่จะยายความร่วมมือในเชิงลึมกขึ้นดดยการวางเป้าหมายที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในปี ค.ศ. 2020 (พ.ศ. 2563)
            จุดประสงค์หลักของการผนึกกำลังของประเทศสมาชิกอาเซียนสู่การเป็นประชาคมอาเว๊ยนนั้นคือการทำให้สมาชิกอาเวียนมีความใกล้ชิดและเป็นอนหนึ่งอันเดียวกันมากขึึ้น ความท้าทายรูปแบบใหม่ท่เกิดจากกระแสโลกาภิวัตน์ เช่น วิกฤติเศราฐฏิจโลกในปี ค.ศ. 1997 (วิกฤตต้มยำกุ้ง) สงครามการก่อการร้าย และากรรวมกลุ่มประเทศของสไภาพยุโรปเพื่อสร้างอำนาจต่อรองทางเศราฐกิจ ส่งผลให้อาเซียนต้องปรับตัวปรับเป้หมายให้สามารถรัมือกับปัญหาที่มีลักษณะข้ามชาติเหล่านี้ได้อย่างมีประสทิะิภาพ การรวมตัวเป็นประชาคมอาเวียนจะก่อให้เกิดความแข็งแกร่ง ทั้งทางด้านเศราฐกิจ ความมั่นคง และสังคมวัฒนธรรม และสามารถรับมือกับภัยคุกคามในด้านต่างๆ ได้มีประสทิะิภาพดีกว่าที่แต่ละประเทศต่างจัดการกนเอง การร่วมตัวเป็นประชาคมยังเป้นการสร้งเสริมโอกาสให้กับภุมิภาคและประเทศสมาชิกในภุมิภาคในการเจรจาต่อรองกับภุมิภาคอื่นๆ หรือประเทศอื่นๆ ได้มากขึ้น และเมื่อใดที่ประชาชนในภุมิภาคมความรุ้สึกเป้นอันหนึ่งอันเดียวกันปัญหาทะเลาะเบาะแว้งระหว่างประเทศเพื่อนบ้านก็จะลดลง
            ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียนฉบัยที่สองยังได้ระบุวง่า การที่จะก่อให้เกิดการพัฒนาทางเศราฐกิจของภูมิภาคอย่างยั่งยืนได้นั้น อาเซียนจจะต้องมีบรรยากาศทางการเมืองที่อยุ่บนรากฐานของผลประโยชน์ร่วมกันอันเกิดจากความร่วมมือทางเศรษฐกิจและความเป็นปึกแผ่นทางดารเมือง ยิ่งไปกว่านั้นกลัการ ซึ่งอดีตนายกรัฐมนตรี ดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัด ได้นำเสนอขณะที่ประเทศต่างๆ ในเอเซียนตะวันออกเฉียงใต้กำลังเชิญวิกฤติเศรษฐกิจใน ค.ศ. 1997 (วิกฤติต้มยำกุ้ง) ก้ได้รับการบรรจุในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียนฉบับที่สอง นี้ด้วย ดร.มหาเธร์ ได้อธิบายว่าประเทศเพื่อนบ้านที่ยากจนจะเป็นบ่อเกิดของปัญหาซึ่งอาจกลายเป็นปัญหาข้ามชาิมากกระทบต่อประเทศตนเองได้อในอนาคต ดังนัเ้นจึงควรให้คฝามสำคัญกับความช่วยเหลือประเทศเพื่อนบ้านให้พัฒนาไปพร้อมๆ กันหลักการนี้มีอิทะิพลอย่างยิงกับนโยบายการต่างประเทศของมาเลเซียและการกำหนดวิสัยทัศน์อาเซีียน 2020 ในกาลต่อมา
           ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียนฉบับที่สอง เป็นเอกสารที่ประเทศสมาชิกอาเซียนประกาศด้วยสามประชาคมย่อย ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน, ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน, และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเวียน, ดังนี้
          1 ประชาคมความมั่นคงอาเวียนASEAN Security Community เป็นการรวมตัวกันของประเทศอาเซียนในเรื่องที่เน้นถึงความมั่นคง และสันติภาพ ที่จะเกิดขึ้นภายในภุมิภาค เพื่อให้สามารถอยุ่ร่วมกันได้อย่างสันติ อันจะก่อให้เกิดเสถียรภาพทั้งในระดับภุมิภาคและระดับโลก ประชาคมนี้จะเน้นเรื่องการรักษาความมั่นคงร่วมกัน ผ่านความร่วมมือทางการเมือ เศรษบกิจ สังคมและวัฒนธรรม ตามเป้าหมายวิสัยทัศน์อาเว๊ยนโดยแต่ละประเทศสมาชิกอาเวียนจะสามารถมีนโยายการต่างประเทศของตนได้ ดังนั้นการสร้างประชาคมความมั่นคงในความหมายนี้จึงไม่ใช่การสร้างแนวร่วมทางทหาร พันธมิตรหรือการมีนดยบายการต่างประเทศร่วมกัน
 2 ประชาคมเศรษฐฏิจอาเวียน เป็นการรวมตัวทางด้านเศรษฐกิจเพื่อจะทำให้เกิดเสถียรภาพ ความมั่งคั่งและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันในะดับนานาชาติ โดยมีเป้าหมายทำให้อาเว๊ยนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกันเชื่อมโยงกับห่วงโซ่อุปทานของเศรษฐกิจโลกได้อย่างเป็นพลวัตร
          3.ประชาคมสังคมแลวัฒนธรรมอาเซียน ASCC-ASEAN Socio-Cultural Community) : ประชาคมนี้มุ่งเน้นที่จเสร้างประชาคมที่เป้นปุ้นสวนและเื้ออาทรต่อกัน ( a community of caring societies) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนนั้นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เกิดความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกันของประชาชนอาเว๊ยนโดยประชาคมนี้จะส่งเสริมให้เกิดสำนึกอาเซียน (the Mutual ASEAN Spirit) นอกจานั้นประชาคมนี้มุ่งที่จะลอผลกระทบที่จะเกิดต่อประชาชนจากการร่วมตัวทางเศณาฐกิจและการเมือง เช่นปัญหาจากการประชากรที่เพิ่มขึ้น ปัญหารการว่างงาน ปัญหาสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมและมลพิษข้ามชาติ การป้องกันสาธารณภัย การสร้างความร่วมมือทางสาธารณสุข และการสร้างโอกาศและความเท่าเทียมให้กับผุ้ด้อยโอกาส อาทิ ผุ้พิการ เด็กและสตรี ผุ้ที่อยู่ในชนลทเป็นต้น...(wiki.kpi.ac.th/..ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียนฉบับที่ 2)

วันพฤหัสบดีที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2560

Initiative for ASEAN Integration : IAI (2002)


              ความริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน Initiative for ASEAN Integration : IAI
               ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนอยา่งไม่เป็นทางการตั้งที่ 4 ที่สิงคโปร์ เห็นพ้องเรื่อง "ความริเร่ิมเพื่อการรวมตัวของอาเซียน" เพื่อเร่งวรัดการรวมตัวของประเทศสมาชิกอาเวียน ดดยการลดช่องว่างด้านการพัฒนา ระหว่างประเทศสมาชิกเดิม 6 ประเทศ กับสมาชิกใหม่
               IAI มีจุดประสงค์เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถของประเทศ CLMVเพื่อลดปัญหาความยากจนยกระดับความเป็นอยุ่ของประชากร พัฒนาระบบข้าราชการ และเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ดดยมีแผนงาน 6 ปี ระหว่างปี 2001-2008 รอบรับ โดยมีกลไกในการจับคู่ระหว่าง ASEAN 6 กับประเทศ CLMV ในแต่ละสาขาความร่วมือ อาทิ โครงสร้างพื้นฐาน(ขนส่งและพลังงาน) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ความยากจนและคุณภาพชีวิต การท่องเที่ยว การรวมตัวทางเศณาฐฏิจและสาขาย่อยด้านบรรยากาศการลงทุน และสาขาทั่วไป ทั้งนี้ ผุ้เสนอโครงการจะให้เงินสนับสนุน โดยอาจเป็นเต็มจำนวน หรือร่วมกันระหว่าง ASEAN 6 กับประเทศคู่เจรจา องค์กรเพื่อการพัฒนาต่างๆ และประเทศนอกภูมิภาค
              ภายหลังจากการดำเนินการตาม เวอร์แพลน ได้ 3 ปี สำนักเลขาธิการอาเซียนจัดทำ มิดเทอมรีวิว ของ IAI เวอร์แพลน เมื่อพฤศจิกายน 1995 โดยได้มีการเพิ่มสาขาความร่วมมือ และทบทวนกลไก co-shepherd ดังนี้
              สาขาโครงสร้างพื้นฐาน กัมพูชาเป็นประเทศผุ้ประสานงาน โดยมี อินโดนีเซียเป็นประธานกลุ่มด้านพลังงานและไทยเป็นประธานกลุ่มด้านการขนส่ง
               สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีลาวเป็นประเทศผู้ประสานงาน โดยมีประเทศบรูไนและสิงคโปร์เป็นประธานกลุ่ม
               สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีประเทศพม่าเป็นผุ้ประสานงาน โดยมาเลเซียเป็นประธานในกลุ่มนี้
               สาขาการรวมตัวทางเศรษฐกิจ มีเวียดนามเป็นประเทศผุ้ประสานงาน โดยฟิลิปปินส์เป็นประธานกลุ่มและสาขาย่อย บรรบากาศการลงทุน มีกัมพูชาเป็นประเทศประสานงาน ดดยมีประเทศไทยและสิงคโปร์เป็นประธานกลุ่ม
               สาขาท่องเที่ยว มี พม่าเป็นประเทศผุ้ประสานงาน โดยมี อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์เป็นประธานกลุ่ม
               สาขาความยากจนและคุณภาพชีวิต มีลาวเป็นประเทศผู้ประสานงาน โดยมีอินโดนีเซียและมาเลเซียเป็นประธานกลุ่ม
              สาขาเรื่องทั่วไป มีเวียดนามเป็นประเทศผู้ประสานงาน โดยมีฟิลิปปินส์เป็นประธานกลุ่ม
              IAI Work Plan 1 (2001-2008)
              ภายใต้ แผนงาน IAI I มีการเสนอโครงการทั้งสิ้น 258 โครงการ โดยเป็นโครงการที่มีงบประมาณสนับสนุน 218 โครงการ( ณ วันที่ 17 ตุลาคม 2009) สิงคโปร์ให้เงินสนนนับสนุนโครงการ IAI มากที่สุดในประเทศอาเซียน 6 ประมาณ 22.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐหรือคิดเป็น 73.64% ของเงินที่ประเทศอาเซียน 6 สนับสนุนโครงการ IAI ซึ่งส่วนใหญ่เป็นโครงการสาขาพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยใช้ศูนย์ IAI Centre ที่สิงคโปร์จัดตั้งขึ้นในแต่ละประเทศ CLMV เป็นศูนย์ฝึกอบรม
             ประเทศไทยให้ความช่วยเหลือวิภาคีแก่ CLMV มากที่สุดในบรรดาประเทศอาเซียน 6 โดยมูลค่าเงินมากกว่า 100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ตั้งแต่ปี 2006-ปัจจุบัน)
              ภายใต้ แผนงาน IAI 1 มีโครงการที่ได้รับเงินทุนสนับสนุนจากประเทศคู่เจรจาและองค์กรเพื่อการพัฒนามีมูลค่าร่วม 20.18 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ โดยประเทศคู่เจรจาที่ให้ความช่วยเหลือมากที่สุด 5 อนดับแรกได้แก ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี อินเดีย นอร์เวย์ และสหภาพยุโรป รวม 17.64 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็น 87.1% ของเงินทุนสนับสนุนทั้งหมดที่ได้รับจากประเทศคู่เจรจา
              เคยมีความพยายามจะจัดตั้งกองทุนพิเศษเพื่อลดช่องว่างการพัฒนา ASEAN Special Fund แต่อาเซียนยังคงเห้ฯว่า อาจไม่มีความจำเป็นที่จะจัดตั้งกองทุนพิเศษสำหรับเรื่องนี้เป็นการเฉพาะ แต่ควรจะมุ่งระดมทุนสำหรับกองทุนที่มีอยุ่แล้วมากกว่า เช่น ASEAN Development Fund โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เห็นว่า ควรเชิญชวนให้ ประเทศคู่เจรจาร่วมสมทบทุนกองทุนดังกล่าวมากขึ้น นอกจากนัน ที่ประชุม IAI Task Force เห็นว่าควรเร่งดำเนินการระดมทุนในหลายช่องทางไปพร้อมๆ กัน รวมทั้งการระดมทุนจากผุ้มีผลประโยชน์เกี่ยวข้องในภูมิภาค เช่น ภาคเอกชน
            IAI Work Plan 2 (2009-2015)
            ที่ประชุมผุ้นำอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่ประเทศไทยเมื่อเดือน กุมภาพันธ์ 2009 ได้ให้ความเห็นชอบ ต่อแผนงานความริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียนฉบับที่ 2 และเห็นควรให้ใช้เป็นกรอบการดำเนินงาน IAI ระหว่างปี 2009-2015 ต่อไปโดยในส่วนของประเทศไทย รัฐสภาได้ให้ความเห็นชอบต่อร่างแผนงานเมื่อเดือนมกราคม 2009
            ปัจจุบัน อาเซียนอยู่ในระหว่างการดำเนินการตามแผนงาน IAI ระยะที่ 2 ซึ่งมีสาระในการดำเนินงานต่างๆปจากแผนงานระยะที่ 1 คือ แผนงานระยะที่ 2 จะขยายแผนการเสริมสร้างขีดความสามารถของกลุ่ม CLMV ให้สอดคล้องกับแผนการจัดตั้งประชาคมอาเซียนทั้ง 3 เสาหลัก ได้แก่ประชาคมเศราฐกิจ ประชาคมการเมือง และความมั่นคง และประชาคมสังคมแลวัฒนธรรมเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการเป็นประชาคมอาเวียนในปี 2015 ซึ่งรวมถึงการช่วยเหลือประเทศ CLMV ให้สามารถดำเนินการตามพันธกิจและลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการรวมตัวของอาเซียน และยังคงเน้นการเสริมสร้างขีดความสามารถ ทั้งนี้ ดดยอาเซียนได้มอบหมายให้คณะทำงาน IAI ซึ่งประกอบด้วยเอกอัครราชทูตผุ้แทนถาวรของอาเซียนของ 10 ประเทศ เป้นผู้กำดับนโยบายและขับเคลื่อนการดำเนินการภายใต้แผนงานฯ ให้ทูตถารชของ CLMV ประจำอาเซียนหมุนเวียนกันเป็นประธานตามลำดับตัวอักษรเป็นเวลาคนละ 1 ปี ปฏิทิน โดยให้มีการประชุมปีละไม่ต่ำกว่า 4 ครั้ง และอาจมการประชุมนอกเหนือจากนั้นได้ในกรณีที่มีความจำเป้ฯ ท้งี้ สำหรับการดำเนินงานของ IAI ให้รายงานต่อ ACC
            ปัจจุบัน ออท.คผถ.เมียนมาร์ทำหน้าที่เป็นประธาน IAI Task Forc จนถึงสิ้นปี 2012
             ภายใต้ IAI Work Plan II มีโครงการที่ได้รับเงินทุนสนับสนุจากประเทศอาเซียน 6 มีมูลค่า 12.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยประเทศที่ให้ความช่วยเหลือมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ สิงคโปร์ บรูไนฯ และอินโดนีเซียและจากประเทศคู่เจรจาและองค์กรเพื่อการพัฒนามีมูลค่าร่วม 1.59 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ โดยประเทศคู่เจรจาที่ให้ความช่วยเหลือมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธาณรรัฐเกาหลี และ JICA
            การดำเนินการในส่วนของไทย
            ในกรอบ IAI ตั้งแต่ปี  2000 ถึง 2001 ไทยใรโครงการทั้งสิ้น 18 โครงการมูลค่ารวม 1,333,662 ดอลลาร์สหรัฐ(เป็นมูลค่าที่รวมเงินสมบทจากองค์กร ประเทศผุ้ให้ความช่วยเหลืออ้วย -สถานะ ณ เดือน กรกฎาคม 2001) ไทยเป็น co-sheperd กับกัมพูชาในสาขาย่อยด้ารการคมนาคม ภายใต้คตวามร่วมือสาขาโครงสร้างพื้นฐานและสาขาย่อยด้านบรรยากาศการลงทุน ภายใต้ความร่วมมือเพื่อากรรวมตัวทางเศรษฐกิจ
          ในระหว่างปี 2007-2011ไทยดำเนินโครงการดังนี้
           - โครงการ An Educational Program to Assist CLMV Countries in Implementing Multimodal Transport Operation ปี 2008 โดยกรมขนส่งทางน้ำร่วมกันกรมอาเซียน
            - โครงการ Successfur Operationlization of ASEAN Framwork Agreement on Multimodal Transport" ระยะที่ 2 ปี 2009 - ปัจจุบัน โดยกรมขนส่งทางน้ำร่วมกับกรมอาเซียน ซึ่งขณะนี้ได้ ดำเนิการเสร็จสิ้นแล้วครบทั้ง 4 ประเทศ
            - การประชุมเชิงปฏิบัติการ ในหัวข้อ Enhancing Investment Climate in CLMV Countries โดยการทรวงการต่างประเทศ ร่วมกับ BOI และJIVA เมื่อวันที่ 6-7 มีนาคม 2008 ที่กรุงเทพฯ
            - การให้ทุนการศึกษาระับปรญญาโทประจำปีการศึกษา 2009 แก่ประเทศมชิกอาเซียนจำนวน 10 ทุน โดยกรมอาเซียนร่วมกับำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างปรเทศได้พิจารณาคัดเลือกสาขาการศึกษาที่จะเป็นประโยชน์และสนับสนุนการดำเนินการของ IAI ในการลดช่องว่างเพื่อการพัฒนาในอาเวียน 7 สาขา
         
คณะทำงานลดช่องว่างการพัฒนาของอาเซียน คณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศมีคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการดำเนินการตาม AEC Bluprint และคณะอนุกรรมการดังกล่าวได้แต่งตั้งคณะทำงาน 11 คณะ รวมทั้งคณะทำงานลดช่องว่างการพัฒนาในประเทศอาเซียน ซึ่งมีอธิบดีกรมอาเซียนเป็นประธานคณะทำงานมีหน้าที่ปฏิบัติตาม AEC Blueprint ใน 2 ด้าน คือ การส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และการลดช่องว่างการพัฒนา หรือ ความริเร่ิมเพื่อการรวมตัวของอาเวียน
             การดำเนินงานระยะต่อไป
             IAI Task Force กำลังพิจารณาเร่งรัดการดำเนินโครงการภายใต้ IAI Work Plan 2 โดยกำหนดให้ประเทศอาเวียนเดิม 6 ประเทศ จัดทำรายงานการดำเนินโครงการลดช่องว่างแก่ CLMV ภายใต้ IAI Work Plan 2 ทุก 6 เดือน
            โดยที่ในระยะที่ผ่านมา ไทยเน้นการให้ความช่วยเหลือทวิภาคีรวมทั้งการให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศ CLMV ผ่านกรอบความร่วมมืออื่นๆ ที่ไทยมีบทบาทนำ เช่น GMS, ACMECS มากกว่าการให้ความช่วยเลืหอในกรอบ IAI จึงทำให้บบาทของไทยในกรอบ IAI ไม่เด่นชัดนักเมือเปรียบเทียบกับประเทศอาเซียน6 บางประเทศ โดยเฉพาะ สิงคโปร์ ดังนั้น จึงมีข้อเสนอจากออท. ผุ้แทนภาวรประจำกรุงจาการ์ตาว่า ควรเพิ่มพูนบทบาทของไทยในกรอบ IAI ด้วยการใช้เครื่องมือและความช่วยเลหือระดับทวิภาคีที่ให้แก่ CLMV ผ่าน พร. ให้มารวมอยุ่ในกรอบ IAI
            ต่อมา กรมอาเซียนและ สพร. โดยควาเห็นชอบจากกระทรวง ฯ จึงเห็นควรให้นับรวมมุลค่าคามช่วยเลหือระดับทวิภาคี ไตรภาคี และอนุภูมิภาคอื่นๆ ที่ไทยให้แก่ CLMV ผ่าน สพร. เพื่อประกาศเป็นสวนหนึ่งของความช่วยเหลือที่ไทยให้ในกรอบ IAI ด้วย ซึ่งที่ผ่านมาในระหว่างปี 2008-2011 สพร.ได้ให้ความช่วยเหลือในรูปแบบทุนการศึกษาและฝึกอบรมระดับต่างๆ แก่ CLMV เป็นเงนิ 694.944 ล้านบาท (22.5ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
           ในการประชุม IAI Task Force ครั้งที่ 40 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2012 สำนักเลขาธิการอาเวียนรายงานว่ากำลังจะเสนอโครงการจัดทำ Mid term review สำหรับ  IAI Work Plan 2 โดยอาจพิจารณารวมการดำเนินการในส่วนอื่นๆ เช่น แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อโยงระหว่างกันในอาเซียน หรือกรอบการทำงานด้านการพัฒนาอื่นๆ เข้ารมาอยุ่ในการประมวลด้วย
          โดยที่การส่งเสริมควาเชื่อมโยงเป็นยุทธศาสตร์สำคัญของอาเวียนและไทย ในช่วงปี 2012-2015 ไทยจะให้ความสำคัญกับการเสริมสร้างศักยภาพด้านการเชื่อโยง แก่ CLMV โดยมีโครงการในระยะต้นคือ การจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ และโครงการฝึกอบรมด้านการบริหารจัดการข้ามพรมแดนในสาชาที่ CLMV สนใจ...(www.mfa.go.th/..asean-media-center-...pdf)

วันพุธที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN Investment Area : AIA & Ha Noi Plan of Action (1998)

            การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 6 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 15-16 ธันวาคม 1998 ณ กรุงฮานอย ประเทสเวียดนาม ที่ประชุมได้ตกลง "ปฏิญญาฮานอย" เพื่อประกาศเรื่องการรับกัมพูชาเขเ้าเป็นสมาชิกลำดัที่สิบของอาเซียนและยืนยันเจตนารมณ์ที่จะร่วมมือกันอย่งเร่งด่วนและใกล้ชิดในการปฏิรูปทางเศราฐกิจและการเงิน เพื่อแก้ไขปัญหาทางเศราฐกิจและสังคมที่เกิดจากวิกฤตกาณณ์ทางเศราฐกิจของภูมิภาค ที่ประชุมได้ประกาศการจัดตั้งเขตการลงทุนเาอซียน ASEAN Investment Area : AIA เพื่อส่งเสริมการลงทุนในภูมิภาค รวมทั้งเห็นพ้องให้ลดปัญหาความยากจนให้มีการพัฒนาชนบทซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดสำหรับนโยบายในการฟื้นฟูและพัฒนาของประเทศสมาชิก อาเซียนได้ให้การรับรอง "แผนปฏิบัติการฮานอย" Ha Noi Plan of Action ซึ่งเป็นแผนปฏิบัติการ 6 ปี ครอบคลุมปี 2542-2547 เพื่อเป็นแนวทางในการทำให้อาเวียนบรรลุวิสัยทัศน์อาเซียน ค.ศ. 2020 (ASEAN Vision 2020) ที่ได้ประกาศไว้ในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างไม่เป้ฯทางการ เนื่อในโอกาศครอบรอบวันก่อตั้งอาเซียนครบ 30 ปี เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 1997 ที่กรงุกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ซึ่งในการประชุมครั้งนี้นอกจากจะมีการประกาศวิสัยทัศน์อาเซียนแล้ว ยังมีความเห้ฯพ้องต่อข้อตกลงความเข้าใจเรื่อง การจัดตั้งมูลนิธิอาเซียน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมด้านการศึกษา การฝึกอบรม สุขภาพและด้านวัฒนธรรม โดยมีการจัดให้เยาชนและนักเรียนอาเซียนได้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน..
(www.tm.mahidol.ac.th..(doc) ตอนที่ 3 การประชุมสุดยอดอาเซียน(ASEAN SUMMIT) การประชุมสุยอดอาเซียน)
ASEAN Investment Area AIA คือ เขตการลงทุนอาเซียน ซึ่งผุ้นำอาเซียได้ริเริ่มขึ้นในปี 1998 เพื่อให้อาเซียนเป็นแหล่งดึงดูดการลงทุนทั้งจาำภายในและภายนอกอาเซียน โดยจัดตั้งเขตการลงทุนอาเซียนให้เสร็จภายในปี พ.ศ. 2553 ซึ่งการลงทุนภายในเขตการลงทุนอเซียนจะต้องได้รับการปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติหรือสิทธิพิเศษเท่าที่แต่ละประเทศจะให้ได้..(www.aseanthai.net/..AIA ย่อมาจาก..)
                 Ha Noi Plan of Action แผนปฏิบัติการฮานอย หลังจากผุ้นำอาเซียนได้รับรองเอกสารวิสัยทัศน์อาเซียน 2020 ASEAN Vision 2020 ขึ้นในโอกาสครบรอบ 30 ปี การก่อตั้งอาเซียน เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1997 ชาติสมาชิกอาเวียนได้ตกลงกันในวิสัยทัศน์อาเวียน ได้แก่ การเป็นวงสมานฉันท์แห่งประชาชาติเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ การเป็นหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างีพลวัติและอยู่ร่วมกันอย่างสันติ มีเสถียรภาพและความมั่งคั่ง มุ่งปฏิสัมพันธ์กับประเทศภายนอก ภูมิภาคเอเซียน และเป็นชุมชนที่สังคมเอื้ออาทรต่อกัน ต่อมาในการประชุมสุดยอดอาเวียนครั้งที่ 6 เมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. 1998 ผุ้นำประเทศอาเซียนได้ร่วมกันจัดทำแผนปฏิบัติการฮนอยขึ้นเพื่อที่จะเป็นแนวทางในการทำให้วิสัยทัศน์อาเซียน 2020 เกิดผลในทางปฏิบัติ
               แผนปฏิบัติการนี้เป็นแผนปฏิบัติการฉบัยบแรกที่ได้กำหนดกิจกรรมและดครงการต่างๆ ให้ประเทศสมาชิกยึดถือ กล่าวคือเป็นแผนปฏิบัติการแรกที่นำไปสู่ ประกาศความคิดริเริ่มเพื่อการรวมกลุ่มของอาเซียน (Inititive For ASEAN Interation : IAI) แผนปฏิบัติการเวียงจันทร์ (Vientiane Action Programme : VAP) และแผนงานการรวมกลุ่มของอาเซียน (Roadmap for Integration of ASEAN : RIA) เป็นต้น แผนปฏิบัติการฮานอยได้เน้นความสำคัญอย่างยิ่งในแผนงานด้านเศรษฐกิจเนื่องจากในขณะนั้นประเทศต่างๆ ในเอเซียตะวันออกเฉียใต้ต้องเผชิญกับวิกฤติเศราฐกิจและการเงินโลก ค.ศ. 1997 (วิกฤตต้มยำกุ้ง) เศราฐกิจฟองสบู่ที่แตกในประเทศไทยนั้นได้ลุกลามสร้างผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ อย่างรุนแรง ดังนั้นแผนปฏิบัติการฮานอยจึงมุ่งฟื้นฟูเศรษฐกิจและเยียวยาผลกระทบทางสังคมที่เกิดจากการผันผวนทางการเงินและเศษกบิจโลก
             แผนปฏิบัติการฮานอยประกอบด้วยแผนปฏิบัติการย่อยจำนวน 10 ส่วนได้แก่
             1. เสริมสร้างความขเ้มแข็งให้กับเศรษฐกิจจุลภาคและความร่วมมือด้านการคลัง เพื่อที่จะสร้างความมั่นใและฟื้นฟูการเติบโตทางเศราฐกิจและเสริมสร้างความมั่นคงให้กับการเงินและตลาดทุนในะดับภูมิภาคอันจะส่งผลเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดวิกฤติเศรษฐกิจขึ้นอีกในอนาคต
             2.ส่งเสริมการร่วมกลุ่มทางเศรษบกิจให้มากขึน เพื่อที่จะสร้างความมั่งคั่งแลเป็นภูมิภาคที่มีศักยภาพในการแข่งขันสุงที่สินคึ้า การบริการและการลงทุนสามารถเคลื่อย้อยได้เสรี การเคลื่อนย้ายทุุ่นสมารถทำได้ง่ายขึ้น อีกทั้งสมารถชจัดความยากจนและลดความเลือมล้ำทางเด้านสังคมและเศรษฐกิจได้ โดยในส่วนที่สถงี้จะเป้ฯส่วนที่มีรายละเอียดปลีกย่อยมากที่สุดยกตัวอย่างเช่น การเร่งรัดให้เกิดเขตการต้าเสรีอาเซียน AFTA  ซึ่งจะเป็นการเปิดเสรีทางการต้าสินค้าผ่านอัตราภาษีศุลการกรพิเศษที่เท่ากัน การผสานพิธีศุลกากร สร้างมาตรฐานร่วมที่สามารถอ้างอิงได้ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน นอกจากนั้นยังระบุถึงเป้าหมายในการปฏิบัติตามกรอบความตกลงด้านการลงทุนอาเซียน และกรอบความตกลงด้านบริการอาเซียน การสร้างความมัี่นคงของมนุษย์ เช่น อาหาร ป่าไม้และสิ่งจำเป็นพ้ฯฐานอื่นๆ ของมนุษย์ การสร้างความเข้มแข็งใหกับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การส่งเสริมและคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา การท่องเที่ยว ธุรกิจออนไลน์และการพัฒนาโครงกสร้างพื้นฐานระดับภูมิภาคอย่างการคมนาคม การส่อสาร พลังงานและการชลประทาน
             3. ส่งเสริมวิทยาศาสรตร์และการพัฒนาเทคโนโลยีและโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ โดยมีเป้าหมายที่จะจัดตั้งโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศอาเซียน(AII)
              4. ส่งเสริมการพัฒนาสังคมและการตระหนักรู้ถึงผลกระทบทางสังคมจากวิกฤติศรษฐกิจและการิงน
             5. ส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ผ่านการให้การศึกษาและการสร้างเครือข่าย อาทิ เครื่อข่ายมหาวทิยาลัยอาเซียน เครือข่ายพัฒนาทักษะสำหรับผุ้หญิง และเครือข่าวเข้าหน้าที่ของรัฐ
             6. อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแลส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยือนร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดการมลพิษข้ามชาติอย่างปัญหาหมกควัน การสร้างศูนย์พยากรณ์เฉพาะสำหรับตรวจหาไฟป่าการก่อตั้งศูนย์อาเซียนเพื่อนุรักษ์ความหลากหลายทางลีวภาพ เป็นต้น นอกจากนั้นส่วนนี้ยังมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมแผนการรักษาสิ่งแวดล้อมในระดับโลก เช่น Agenda 21 และข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมนานาชาติอื่นๆ อีกด้วย
            7. เสริมสร้างสันติภาพและความมัี่นคงในภุมิภาค
            8. เพิ่มพบทบาทอาเซียนในฐานะกำลังสำคัญในการักษาสันติภาพ ความยุติธรรมและความสมส่วนทั้งระดับภูมิภาคเอเซียนแปซิฟิกและระดับโลก
            9. ส่งเสริมการตระหนักรู้ถึงอาเซียนและจุดยืนอาเซียนในฐานะสมาชิกของประชาคมโลก
            10. พัฒนาการโครงสร้างองค์กรอาเซียนและกำไกต่างๆ โดยกำหนดให้มีการทบทวนโครงสร้างอาเซียนใหม่ให้สอดคล้องกับกิจกรรมใหม่ๆ การขยายองค์กรรับประเทศสมาชิกใหม่และภานการณ์ทีเปลี่ยนปไในภุมิภาค อีกทั้งกำหนดให้มีการทบทวยบทบาทของสำนักเลขาธิการอาเซียนให้สามารถสนับสนุนการปฏิัติตามแผนปฏิบัติการฮานอยได้อย่างมีประสิทธิภาพ..(wiwi.kpi.ac.th/..แผนปฏิบัติการฮานอย)
         

วันอังคารที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2560

AREAN Summit

             การประชุมสุยอดอาเซียน ASEAN Summit เป็นการประชุมของผุ้นำสูงสุดระหว่างประเทศ สมาชิกอาเซียน ซึ่งประกอบด้วย ไทย, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, บรูไนดารุสซาลาม, เวียดนาม, ลาว, พม่าและกัมพูชา โดยในช่วงแรกจัดประชุมโดยหมุนเวียนกันระหว่างประเทศสมาชิก 5 ประเทศ คือ ไทย, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์และสิงคโปร์ หลังจากมีสมาชิกเพ่ิมจึงได้หมุนเวยน การจัดประชุมไปยังประเทศสมาชิกใหม่ด้วย ดดยหัวข้อการประชุมจะเป็นเรื่องการปรึกา หารือ ขอความร่วมมือ ขอฉันทมติหรือลงนามในเรื่องเศราฐกิจ แารเมือง ควมมั่นคง ด้านสังคมและวัฒนธรรมของประเทศสมาชิก ช่วงแรกของการจัดกระประชุมไม่มีการจัดเป็นประจำต่อเนื่อง แต่หลังจาก การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 7 ที่ประเทศบรูไนฯ การประชุมก็มีการจัดต่อเนื่อง ทุกปี
          ครั้งที่ 1 วันที่ 23-24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซียมีการลงนามว่าด้วยความร่วมือในเอกสาร 3 ฉบับ คือ "ปฏิญญาสมานแันท์อาเซียน", "สนธิสัญญาไม่ตรีและความรวมมือในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้"และ "ความตกลงว่าด้วยการจัดตั้งสำนักงานเลขาธิการอาเซียน"
          ครั้งที่2 วันที่ 4-5 สิงหาคม พ.ศ. 2520 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เป้นการประชุมเนื่องในโอกาสก่อตั้งอาเวียนครบ 10 ปี โดยเน้นย้ำถึงความร่วมมือ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนให้มีความมั่นคงแข็งแรงขึ้น รวมถึงการมุ่งพัฒนาความสัมพันธ์กับประเทศอื่นๆ นอกภูมิภาคด้วย
           ครั้งที่ 3 วันที่ 14-15 ธันวาคม พ.ศ. 2530 ที่กรงุมะนิลา ประเทศฟิลิปปิน์ มีการออก "ปฏิญญามะนิลาปี 2530" และประกาศให้ปี พ.ศ. 2535(ครบรอบ 25 ปีอาเซียน) เป็นปีการท่องเที่ยวอาเซียน มีการหารือกันเรื่องเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์แห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงประเด็นเรื่องสันติภาพเสรีภาพและความเป็นกลาง
           ครั้งที่ 4 วันที่ 27-29 มกราคม พ.ศ. 2535 ที่ประเทศสิงคโปร์ มีการออก "ปฏิญญาสิงคโปร์" และหารือกันเรื่องความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับสหประชาชาติและองค์กรระหว่างปรเทศในการตกลงกันเรื่องสันติภาพ นอกนี้ยังพิจารณาเรื่องการจัดตั้งเขตการค้า เสรีอาเซียน
           ครั้งที่ 5 วันที่ 14-15 พ.ศ. 2538 ที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย มีการออก "ปฏิญญากรุงเทพฯ"และลงนามในเอกสารอีก 2 ฉบับ คือ "สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์แห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้", "ความตกลงอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านทรัพย์สินทางปัญญา" การประชุมสุดยออาเซียนครั้งนี้ถือว่าเป็นการครบการหมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพจัดประชุมของป 5 ประเทศสมาชิก ซึ่งกินเวลา 28 ปีนับตังแต่ประชุมครั้งแรกในปี พ.ศ. 2519
           ครั้งที่ 6 วันที่ 15-16 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ที่กรงุฮานอย ประเทศเวียดนาม มีการออก "ปฏิญญาฮานอย" และประกาศ "การจัดตั้งเขตลงทุนอาเซียน" รับรอง "แผนปฏิบัติการฮานอย" เพื่อให้อาเซียนบรรลุวิสัยทัศน์อาเซียนในปี พ.ศ. 25631 การประชุมครั้งนี้ถือเป็นการจัดการประชุมสุดยอด อาเซียนครั้งแรกของเวียดนาม หลังจากเข้าเป็นสมาชิกอาเซียน 3 ปี
           ครั้งที่ 7 วันที่ 5-6 พศจิกายน พ.ศ. 2544 ที่กรงุบันดาร์เสรีเบกาวัน ประเทศบรูไนดารุสซาลาม มีการออก "ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการดำเนินการร่วกันในการต่อต้านการก่อการร้าย" ปรับปรุง "แผนปฏิบัติการฮานอย" สนับสนุนให้จัดตั้ง "แผนงานเพื่อการรวมตัวอาเซียน" และสภาที่ปรึกษาธุรกิจอาเซียน" หลังจากากรประชุมคร้งนี้ การประชุมสุดยอดอาเซียนก็มีจัดต่อเนื่องกันทุกปี โดยหมุนเวียนกันในหมู่ประเทศสมาชิก
          ครั้งที่ 8 วันที่ 4-5 พศจิกายม พ.ศ. 2545 ที่กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพุชา ที่ประชุมได้ลงนามความตกลงด้านการท่องเที่ยวอาเซียน และเน้นย้ำเรื่องการต่อต้านการก่อการร้าย การบริาหรจัดการทรัพยากรธรรมชาิต และให้ความสำคัญกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมากที่สุดในการรวมตัวอาเซียน
         ครั้งที่ 9 วันที่ 7-8 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย มีการประกาศ "ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน II " หรือ "ความร่วมมือบาหลี II" ว่าด้วยการจัดตั้งประชาคมอาเว๊ยน ซึึ่งประกอบไปด้วยประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเวียน ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธณณฒอาเซียน พร้อมทั้งรับรอง "แผนปฏิบัติการประชาคมเศราฐกิจอาเซียน"
          ครั้งที่ 10 วันที่ 29-30 พฤศจิการยน พ.ศ. 2547 ที่กรุงเวียงจันทน์ ประเทศลาว ที่ประชุมได้ลงนาม "แผนปฏิบัติการเวียงจันทน์" พร้อมทั้งรับรอง "แผนปฏิบัติการประชาคมความมันคงอาเซียน" และ "แผนปฏิบัติการประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน" และจัดตั้งกองทุนอาเซียนเพื่อการพัฒนาการประชุมสุดยอดอาเซียนเพื่อการพัฒนาการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่ประเทศลาวได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม หลังจากที่เป็นสมาชิกใหม่อาเวียนครบ 7 ปี จึงได้ลงทุนสร้างบ้านพักใหม่ทั้งหมดให้กับผุ้นำอาเซียนทุกคน ได้พักอยุ่ในช่วงระหว่างการประชุม เพื่อให้ได้บรรยาการเหมืออยู่บ้าน
  ครั้งที่ 11 วันที่ 12-14 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ที่กรงุกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ที่ประชุมได้ลงนาม "ปฏิญญากัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยการจัดทำกฎบัติอาเซียน" และยกร่างกฎบัตรอาเซียน
            ครั้งที่ 12 วันที่ 9-15 มกราคม พ.ศ. 2550 ที่เมืองเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ประชุมได้ลงนาม "ปฏิญญาเซบูเพื่อมุ่งไปสู่ประชาคมที่มีความเื้ออาทรและแบ่งปันที่เป็นหนึ่งเกี่ยว", "ปฏิญญาเซบูว่าด้วยการเร่งรัดจัดตั้งประชาคมภายในปี พ.ศ.2558" และ "ปฏิญญาเซบูว่าด้วย แผนงานเรื่องกฎบัตรอาเซียน"
            ครั้งที่ 13 วันที่ 18-22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ที่ประเทศสิงคโปร์ มีการออก "ปฏิญญาสิงคโปร์ว่าด้วยกฎบัตรอาเซียน" พร้อมทั้งรับรอง "ปฏิญญาแผนงานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน" และ "กฎบัตรอาเซียน" ในวาระครอบรอบ 40 ปีอาเซียน
            ครั้งที่ 14 วันที่ 26 กุมภาพันธ์- 1 มีนาคม พ.ศ.2552 ที่ชะอำ หัวหิน พัทยา ประเทศไทย ที่ประชุมได้ลงนาม "ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน ว่าด้วยแผนงานสำหรับประชาคมอาเซียนปี พ.ศ. 2552-2558" และรับรอง "แผนงานข้อริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียนฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552-2558 ", "แผนงานการจัด ตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน" แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมแลวัฒนธรรมอาเซียน"
            ครั้งที่ 15 วันที่ 23-25 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ที่ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี และอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ฺประเทศไทย มีการหารือเรื่อง "เชื่อมโยงประชาคม สร้างเสริมประชาชน" และรับรอง "อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลียนแปลงสภาพภูมิอากาศสมัยที่ 15", "ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน ว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อบรรลุประชาคม อาเซียนที่เื้ออาทรและแบ่งปัน", "แถลงการณ์ผุ้นำอาเซียนว่าด้วยการเชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมในอาเซียน", "แถลงการณ์ชะอำ-หัวหิน ว่าด้วยความร่วมมือเกี่ยวกับความมั่นคงด้านอาหารและการพัฒนพลังงานชีวภาพในกรอบอาเซียนกับประเทศ +3", "แถลงการณ์ชะอำ-หัวหิน ว่าด้วยการจัดการภัยพิบัติของการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก"
           
ครั้งที่ 16 วันที่ 8-9 เมษายน พ.ศ. 2553 ที่กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม มีการหารือกันเรื่อง "มุ่งสู่ประชาคมอาเซียน : จากวิสัยทัศน์สู่การปฏิบัติ", "การจัดทำแผนแม่บทว่าด้วยการเสริมสร้างเครือข่าย เชื่อมโยงในภุมิภาค" และลงนามในพิธีการว่าด้วยกลไกระงับข้อพิพาทของกฎบัตรอาเซียน
            ครั้งที่ 17 วันที่ 28-30 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ที่กรงุฮานอย ประเทศเวียนดนาม มีการหารือกนเรื่อง "ก้าวสู่ความเป็นหนึ่งเกียวกันของอาเซียน : จากความปรารถนาสู่ปฏิบัติการ" พร้อมทั้งประกาศปฏิญญา ฮานอยซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองสิทธิสตรีและเด็กในภูมิภาคอาเซียน ตกลงจะจัดตั้งคณะกรรมการประสานงานระหว่างกันในอาเซียนเพื่อประสาน และกำกับดุแลการปฏิบัติงาน ลงความเห้ฯที่จะรับสหรัฐฯ กับรัฐเซียเข้าเป็นสมาชิก ของการประชุมสุดยอดเอเซียตะวันออกอย่างเป้ฯทางการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 เป็นต้นไป

            ครั้งที่ 18 วันที่ 7-8 พฤษภาพคม พ.ศ. 2554 ที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย มีการหารือกันเรื่อง "ความจำเป็นในกาบรรลุถึงความเป็นประชาคมอาเซียน" โดยมีจุดมุ่งหมายให้ประชานเป็นศูนย์กลาง และมีบทบาทสำคัญอยู่ในประชาคมโลกภายในปี พ.ศ.2565 มีการเสนอให้เตรียมร่างปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยประชาคมอาเซียนในประชาคมแห่งประชาชาติโลกเพื่อลงนามในที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 19 
            ครั้งที่ 19 วันที่ 17-19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ที่ประชุมได้ลงนามใน "ปฏิญญาบาหลีว่าด้วยประชาคมอาเซียนในประชาคมโลก", "ปฎิญญาว่าด้วยความเป็นอันหนึ่ง อันเดี่ยวกันของอาเซียนในความหลากหลายสู่การสร้างความแข็งแกร่งให้ประชาคมอาเวียน" และมีมติให้จัดตั้งศูนย์ ประสานงานอาเซียนเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและจัดการกับผลกระทบจากภัยพิบัติ
         
ครั้งที่ 20 วันที่ 3-4 เมษายน พงศ. 2555 ที่กรุงพนมเปญประเทศกัมพุชา ที่ประชุมได้ลงนามใน "ปฏิบัติการพนมเปญ ว่าด้วยกานสร้างประชาคมอาเซียน", "แถลงการณ์พนมเปญประชาคมเดียว พรหมลิขิตเดียว" และ "แถลงการณ์ว่าด้วยการสร้างอาเซียนเป็นเขตปลอดยาเสพติดในปี พ.ศ. 2558
             ครั้งที่ 21 วันที่ 17-21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ที่กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ที่ประชุมได้ลงนามใน "คำแถลงพนมเปญรับรองปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน" , "ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน", คำแถลงผุ้นำอาเซียนเรื่องการจัดตั้งศุนย์ปฏิบัติการกับระเบิดแห่งภูมิภาค", "เอกสารแนวคิดพื้นฐานเรื่องการจัดตั้งศุนย์ปฏิบัติการกับระเบิดแห่งภูมิภาค" และ "แผนการทำงานตามความตกลงบาหลีที่ III (2013-2017)

             ครั้งที่ 22-25 เมษายน 2556 ณ บันดาร์เสรีเบกาวันประเทศบรูไน การปรุชมสุดยอดอาเวียนที่จะมีขึ้นเป็นการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งแรกภายใต้การดำรงตำแหน่งประธานอาเซียนของบรูไน ฯ โดยบรูไนฯ กำหนดหัวข้อหลักของปีนี้ว่า "Our People,Our Future Together " เพื่อสะท้อนถึงความสำคัญของบทบาทประชาชนในการขับเคลื่อนอาเซียนและกำหนดอนาคตของภุมิภาค โดยบูไนฯ จะให้ความสำคัญกับการผลักดันประเด็นรวมถึงแผนงานต่างๆ ตามที่มีการตกลงไว้แล้วให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ สำหรับการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 22 นอกจากผุ้นำอาเซียนจะได้ทบทวนพัฒนาการความคืบหน้าการทำงานที่ผ่านมาแล้ว จะเป็นการให้ทิศทางและแสวงหาแนวทาง เพื่อผลักดันประเด็นความร่วมมือที่จะเป็นประโยชน์ร่วมกันต่อไปในกรอบอาเซียน ตลอดจนเป็นโอกาศให้แลกเปลี่ยนความเห็นเรื่องประเด็นในภุมิภาคและประเด็นระหว่างประเทศที่สำคัญ

ประเด็นที่ทางไทยให้ความสำคัญ ได้แก่ การเร่งรัดการสร้างประชาคมอาเซียน และการเชื่อมโยงในอาเซียนตามเป้าหมายที่ 2558 การรวมตัวทางเศรษฐกิจที่ลึกซึ้งและกว้างขวางยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการจัดทำหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจอย่างกว้างขวางในภูมิภาคของอาเว๊ยน ความร่วมมือเพื่อก้ไขปัญหาข้ามพรมแดนต่างๆ อาทิ การค้ามนุษย์ ยาเสพติด ภัยพิบัติและหมอกควัน การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม และการสร้างความตระหนักรู้เรื่องอาเซียนในหมู่เยาวชน รวมทั้งการส่งเสริมบทบาทของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศ และประเด็นภูมิภาคที่มีความสำคัญต่อาเซียน
           ครั้งที่ 23 วันที่ 9-10 ตุลาคม 2556 ณ บันดาร์เสรีเบกาวัน บรูไนดารุสซาลาม การประชุมสุดยอดอาเวียนที่จะมีขึ้นในครั้งนี้เป้นการประชุมครั้งสุดท้ายภายใต้การเป็นประธานอาเวียนของบรูไนฯ ก่อนที่เมียนมาร์จะรับตำแหน่งต่อไปในปี 2557 โดยวัตถุประสงค์การประชุมครั้งี้คือเพือทบทวนพัฒนากรความคือบหน้าการทำงานที่ผ่านมาและ ร่วมกันแสวงแนวทางเพื่อผลักดันประเด็นความร่วมมือที่จะเป้นประดยชน์ร่วมกันต่อไปทั้งในกรอบอาเวียนและกับคู่เจรจา ตลอดจนเป็นโอกาสสำหรับแลกเปลี่ยนความเห้ฯเรื่องประเด็นในภุมิภาคและประเด็ระหว่งประเทศที่สำคัญ หัวข้อในการประชุมครั้งนี้ ประกอบด้วย
           - การเสริมสร้างความเข้มแข็งของประชาคมอาเซียนซึงรวมถึงการดำนินกาตามแผนงานสามประชาคมย่อยและ แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงในอาเวียน

            - การจัดทำวิสัยทัศน์อาเวียนภายหลังการเข้าสู่การเป็นปรชุมอาเซียนในปี 2558 โดยย้ำเจตนารมยืของผุ้นำอาเวียนนกาพัฒนาประชาคมอาเวียนภายหลังปี 2558 ซคึ่งจะเน้นผลประโยชน์ อขงประชาชนเป้นหลัก อาทิ ความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนและการให้บริการสาธารณสุข โดยสอดคล้งกับเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษของสหประชาชาติภายในปี 2558 
           - ความร่วมมือในการจัดการปัญหาข้ามพรมแดนต่างๆ อาทิ ภัยพิบัติ และหมกควัน รวมทั้งการจัดการบริหารทรัพยากรน้ำซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมความมั่นคงทางอาหาร
           - การแลกเปลี่ยนความเห็นในประเด็นภูมิภาคและระหว่งประเทศ อาทิ ความร่วมมือด้านต่างๆ ในทะเลจีนใต้รวมทั้งกลไกการแก้ไขปัญหาด้านความมันคงเพื่อส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
           ในการประชุมครั้งนี้ เหล่าผุ้นำอาเวียนได้มีการลงนามรับรองเอกสารสำคัญหลายๆ อัน ได้แก่                           1.ปฎิญญาบันดาร์เสรเบกาวัีน่าด้วยวิสัยทศน์ภายหลังปี 2558 
                  2. ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อสตรีและเด็กในอาเวียน
                  3. ปฏิญญาอาเซียนเสริมสร้างความเข้มแข็งมาตรการการคุ้มครองทางสังคม
                  4. ปฏิญญาบันดาร์เสรีเบกาวัน ว่าด้วยการประกอบการและจ้างงานของเยาวชน
                  5. ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้าน การจัดการภัยพิบัติ
                  6. ปฏิญญาบันดาร์เสรีเบกาวันว่าด้วยดรคไม่ติดต่อ
                  7. แถลงการณืร่วมของการประชุมสุดยอดอาเซียน-จีน ครั้งที่ 16 ในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของความเป็นหุ้นส่วนเชิงยุทธศาสตร์อาเซียน- จีน
                  8. ปฏิญญาของกาประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ครั้งที่ 8 ว่าด้วยความม่นคงด้านอาหาร
               ครั้งที่ 24 วันที่ 10-11 พฤษภาคม 2557 ณ เนปิดอว์ เป้ฯการประชุมสุดยอดอาเวียนครั้งแรภายใต้การเป็นประธานอาเซียนของเมียนมาร์ โดยเมียนมาร์ได้กำหนดหัวข้อหลักของการประชุมว่า "Moving Forward in Unity to peaceful and properous community" ในกาประชุมผุ้นำอเซียนได้ทบทวยพัฒนการและความคืบหน้าของการดำเนินงานที่ผ่านมาและพิจารณาประเด็นที่ควรเร่งรัดเพื่อบรรลุการจัดตังประชาคมอาเซียน ปี 2558 รวมทั้งกำหนดทิศทางความี่วมมือในอนาคตของอาเวียนในบริบทของการจัดทำวิสัยทศน์ประชาคมอาเวียนภายหลังปี 2558 ...
              (www.asean-info.com/asean_community/asean_summit."การประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ASEAN Summit")

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...