Roadmap for the ASEAN Community (2009-2015) & ASEAN Comprehensive Investment Agreement Agreement Community (ACIA)

              ในการประชุมสุดยอดอาเซีนครั้งที่ 14 ที่ชะอำ หัวหิน เมื่อวันที่ ๅ1 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2552 ผู้นำอาเซียนได้ลงนามราับรอง ปฏิญญาชะอำ หัวหิน ว่ราด้วยแผนงาจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ค.ศ. 2009-2015) เพื่อจัดตั้งปราคมอาเวียนภายในปี 2558 (2015) Cha3am Hua Hin Dedaration on the Roadmap for the ASEAN Community (2009-2015) โดยจะเป็นประชารคมที่รปะกอบด้วย 3 เสาหลักซึ่งเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน คือ
             1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีัวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างแธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและควาามามั่นคงของภุมิภาคเพื่อให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และสามารถแก้ปขปัญหาและความขัอแยง โดยสันติวิธี อาเซียนจึงได้จัดทำแผนงานการจัดตั้งอบุ่ร่วมกันอย่างสันติสุข และสารารถแก้ไขปัญหาและความขชัดแย้ง โดยสัจตคิวิธีอาเซียนจึงได้จัดทำแผนงานการจัดตั้งประชคมการเมืองและความมั่นงคงอาเว๊ยน โดยเ้น้ในปร 3 ประการ คือ 1) การมีกฎเกณฑ์และดค่านนิยมร่วมกัน ครอบคลุมถึงกิจกรรมต่างๆ ที่จะร่วมกันทำเพื่อสร้างความเข้าใจในระบบสังคมวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่แตกต่างของประเทศสมาชิก ส่งเสริมพัฒนากรทางการเมืองไปในทิศทางเดียวักัน เช่น หลัการประชาธิปไตย การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การสนับสนุการมีส่วร่วมของภาคประชาสังคม การต่อต้านการทุจริต การส่งเสริมหลักนิติธรรมและธรรมมาภิบาล เป็นต้น 2) ส่งเสริมความสงบสุขและรับผิชอบร่งมกันในการัาษาความมั่นคงสำหรับประชาชนที่ตรอบคลุมในทุกด้านครอบคลุความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างความั่นคงในรูปแบบเดิมมาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและการระงับขอ้พิพาท โดยสันติเพื่อป้องกันสงครามและให้ประเทศสมาชิกอาเวียนอยุ่ด้วยกัน โดยสบงสุขและไม่มีความหวาดระแวงและขยายความร่วมือเพื่อต่อต้านภัยคุกต่มรูปแบบใหม่ เช่นก ารต่อต้านการก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาตจิต่างๆ เช่น ยาเสพติด การต้ามนุษย์ ตลอดจนการเตรียมความพร้อมเพื่อป้องกันละจัดการภัยพิบัติแลุะภัยธรรมชาติ 3) การมีพลวัตและปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก เพื่อเสริมสร้างบทบาทของอาเซียนในความร่วมมือรดับภูมิภาค เช่น กรอบอาเซียน +3 กับจีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) และากรประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ตลอดจนความสัมพันะ์ที่เข้มแข็งกับมิตรประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ เช่น สหประชาชาติ
                2. ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน มีวัตถุประสงค์เพื่อทำให้อาเวีนมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกันและมีการเคลือนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุนและแรงงานมีฝีมืออย่งเสรี อาเวียนได้จดทำแผนงาน กานจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซีนียน ซึ่งเป็นแผนงานบูรณาการการดำเนินงานในด้านเศณาฐกิจเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ 4 ด้าน คือ 1)การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียง โดยมีการเคลื่อย้ายสินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสร และากรเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น 2) การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศราฐกิจของอาเซียน ดยให้ความสำคัญกับประเด็นนโยบายที่จะช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศราฐกิจ เช่น สโยบายการแข่งขัน การคุ้มครองผุ้บริโภค สิทธิในทรัพยย์สินทางปัญญา นโยบายภาษี และการพัฒนาโครงสร้้างพื้นฐาน (การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และพลังงาน) 3) การพัฒนาเศราฐกิจอย่างเสมอภาค ให้มีการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และการเสริมสร้างขีดความสามารถผ่านโครงการต่างๆ 4) การบุรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศภายนอกภูมิภาคเพื่อให้ออาเซียนมีท่าที่ร่วมกันอย่างชัดเจน
              3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน อาเซียนได้ตั้งเป้าหมายเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเวียน ในปี 2558 (2015) โดยมุ่งหวังเป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและมีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมอัตลักษณ์อาเวียน เพื่อรองรับาการเป็นประชาคมสังคม แลวัฒนธรรมอาเวียน โดยได้จัดทำแผนงานกานจัดตังประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งประกอบด้วยความร่วมมือใน 6 ดาน ได้แก่
              - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
              - การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม
              - สทิธิและความยุติธรรมทางสังคม
              - ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
              - การสร้่งอัตลักาณ์อาเวียน
              - การลดช่องว่างทางการพัฒนา..(www.pandintong.com/..ประชาคมอาเซียน, Roadmap for the ASEAN Community,2009-2015)
              ASEAN Comprehensive Investment Agreement ACIA หมายถึง ควาตกลงวาด้วยการลงทุนทุกรูปแบบของอาเซียน โดยครอบคลุมเรื่องการเปิดเสรีด้านการลงทุนในภาคการผลิต การเกษตร ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ และการบริการที่เกี่ยวเนื่อง โดยประเทศสมาชิกอาเวียนจะต้องให้การปฏิบัติกับนักลงทุนอาเซียนเช่นเดียวกับนักลงทุนภายในประเทศของตน รวมถึงให้การคุ้มครองการลงทุนทั้งการลงทุนทางตรงและการลงทุนในหลักทรัพย์ พร้อมทั้งส่งสิรมและอำนวยความสะดวกต่างๆ ให้กับนักลงทุนอย่างเสมอภาค..(www.aseanthai.net/..,ศูนย์ข้อมูลข่าวสารอาเซียน กรมประชาสัมพันธ์, ACIA ย่อมาจาก..)
           ปี พ.ศ. 2530 (1987) ประเทศสมาชิก 6 ประเทศ ได้แก่ บรูไนฯ อินโนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์และไทย ได้ร่วมลงนามในความตกลงอาเซียนเพื่อการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน (ASEAN IGA) ส่วนสมาชิกอาเซียนใหม่ 4 ปรเทศ ได้แก่ กัมพูชา เมียนมาร์ ลาวและเวียนดนามได้เข้าร่วมเป้ฯภาคีในความตกลงอาเซียนเพื่อการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนภายหลังเข้าเป็นสมาชิกอาเวียนและยื่อนหังสือยืนยันการเข้าเป้นภาคีในความตกลงฉบับดังกล่าวต่อมาประเทศสมาชิกอาเซียนได้ร่วมกันจัดทำคามตกลงด้านกาลงทุนฉบับที่ 2 นี้ว่า ความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน(AIA) ซึ่งเริ่มมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2541 (1998)
            ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน (ACIA) การประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ครั้้งที่ 11  ธันวาคม พ.ศ.2548 (2005)  ผุ้นำอาเซียนต้องการจะเร่ิงรัดการจัดตั้งประชุาคมเศราฐกิจอาเซียน(AEC) ให้เร็วขึ้นอีก 5 ปี จากเดิมตามวิสัยทัศน์อาเซียนและแถลงการณ์บาหลีระบุไว้เป็นปี พ.ศ. 2563(2020) มาเป็นจัดตั้งประชาคมเศราฐกิจอาเซียน ให้แล้วเสร็จในปี 2558 (2015) ดังนั้น ผุ้นำอาเซียนจึงมอบหมายให้รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน ดำเนินการจัดทำแผนงานเพื่อใช้เป็นแนวทางการดำเนินงานไปสู่เป้าหมาย จนกระทุั่งการประชุมผุ้นำอาเซียนครั้งที่ 12 ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2550 (2007) รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได้นำแผนงานการจัดตั้งประชคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC Blueprint เสนอต่อผุ้นำอาเซียน ซึ่งได้รับความเห็นชอบและถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของปฏิญญาเซบูว่าด้วยแผนงานการเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมอาเวียนในปี พงศ. 2558 ที่ว่าด้วยภารกิจ 3 ด้านได้ แก่ ความั่นคง เศรษฐกิจ และสังคมและวัฒนธรรม
            การเคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรีภายใต้ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน(ACIA) เป็นส่วนหนึ่งของแผนการจัดตั้งประชุาคมเศราฐกิจอาเวียน ซึ่งที่ประชุมผุ้นำอาเซียนครั้งที่ 13 เมื่อ พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 (2007) ได้กำหนดให้อาเซียนทบทวนและปรับปรุงความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน(AIA) ที่มีอยู่เดิมให้เป็นความตกลงฉบับเดียวที่มีความสมบูรณ์ ทันสมัย และทัดเทียมกับกฎเกณฑ์การลงุทนในระดับสากล
            การเปิดเสรีการลงทุน
            ความหายของการลงทุน โดยทั่วไปของการลงทุน คือ การใช้เงินหรือสินทรัพย์เพื่อก่อให้เกิดผลตอบแทน ไม่ว่าจะอยุ่ในรูปของสินค้า บริกา หรือผลกำไร ซึ่งการลงทุนมักจะเกิดขึ้นพร้อมกับความคาดหวังที่จะได้รับผลตอบแทนที่มีมุลค่าสุงหรือมากกว่าเงินลงทุนที่ลงทุนไป โดยนักลงทุนต้องยอมรับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ส่วนการลงทุนระหว่างประเทศ คือ ธุรกรรมการลงทุนที่เกิดขึ้นนอกอาณาเขตของประเทศผุ้ลงทุน ดังนั้น ความตกลงด้านการลงทุนระหว่างประเทศ จึงเป้นกลไกของรัฐที่จะช่วยส่งเสริมให้ความมั่นใจแก่นักลงทุนต่างชาติในผลตอบแทนที่คาดหวังและลดควาเสี่ยงที่ไม่ใช่ความเสี่ยงทางธุรกิจ สำหรับการเข้าไปลงทุนในประเทศของตน
         
 ขั้นตอนของการลงทุน
            การเปิดเสรีการลงทุนสามรถปแบ่งออกเป็น  2 ช่วง ได้แก่
            1) การเปิดเสรีการลงทุนช่วงก่อนการจัดตั้งกิจการ คือ การเปิดเสรีการลงทุนในชวงก่อนหรือในขณะที่การลงทุนกำลังจะเกิดขึ้น ซึ่งกิจกรรมในช่วงก่อนการจัดตั้งกิจการมีทั้งการให้เช้ามา การจัดตั้ง และการได้มา
            2) การเปิดเสรีการลงทุนในช่วงหลังการจัดตั้งกิจการ ซึ่งกิจกรรมในช่วงหลังการจัดตังกิจการเร่ิมตั้งแต่การจัดการ การดำเนินการ การปฏิบัติการ การคงไว้ การใช้ การชำระบัญชี และการขายหรือการจำหน่ายจ่ายโอนอื่นๆ ของการลงทุน
            หลักการเปิดเสรีการบริการตามความตกลงว่าด้วยการต้าบริการของอาเซียน (AFAS) การเปิดเสรีภาคบริการภายใต้ความตกลงว่าด้วยการต้าบริการของอาเซียน เป้นความตกลงเพื่อความร่วมมือในการเปิดตลาดการต้าบริการระหว่างกันภายในกลุ่มอาเซียนให้มากขึ้นกว่าในองค์การการค้าโลก รวมทั้ขยายความร่วมมือด้านบริการระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งเป็นไปตามความตกลงว่าด้วยภาคการต้าภาคบริการ อันเป็นกฎและหลักการเกี่ยวกับการต้าบริการที่ให้ประเทศสมาชิกองค์การการต้าโลก WTO ถือปกิบัติ และยังเป็นแนวทางในการเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการระหว่างประเทศสมชิก โดยกำหนดรุปแบบการต้าบริการระหว่าประเทศไว้ 4 รูปแบบ
         
กลักการเปิดเสรีการลงุทนตามความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเว๊ยน (ACIA) หลักสำคัญในการเปิดเสรีการลงทุนตามความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเวียน คือ การให้การปฏิบัติกับนักลงุทนต่างชาติอย่างเท่าเทียมกัน และไม่เลือกปฏิบัติ ไม่ว่ากับคนชาติของตนหรือคนชาติอื่นๆ สำหรับการลงทุนในช่วงก่อนการจัดตั้งกิจการ โดยให้เป็นไปตามความสมัครใจของประทเสสมาชิก ปต่ละประเทศ ซึ่งประเทศสมาชิกอาเวยนสามารถเลือกเปิดเสรีการลงทุนในสาขาและช่วงเวลาที่ตนมีความพร้อมตามกรอบระยะเวลาของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC โดยการลดหรือยกเลิกข้อจำกัดหรือยกเลิกเงื่อนไขที่เป็นอุปสรรคต่อการลงทุน หรือการไม่ออกกฎระเบียบใหม่ ๆ ที่เข้มงวดว่าระดับที่ผุพันไว้ตามหลักการประติบัิตเยี่ยงชาติที่ได้รับความอนุเคราะห์ยิ่ง และการปฎิบัติเยี่ยงคนชาติ คือ การปกิบัติต่อการลงทุนจากนิติบุคคลอาเซียน และนิติบุคคลต่างชาติที่จดทะเบียนในอาเซียน เทียบเท่ากับการลงทุนของบุคคลหรือนิติตบุคคลของประเทศตน และเทียบเท่ากับการปฏิบัติต่อประเทศที่สาม รวมถึงไม่กำหนดเงื่อไขบังคับในการลงทุน โดยเปิดโอกาสให้ประเทศสมาชิกอาเซียนจัดทำรายการข้อสงวนสำหรับสาขาที่ไม่ต้องการเปิดเสรีไว้ ทั้งนี้ การเปิดเสรีการลงุทนจะต้องไม่น้อยกว่าการเปิดเสรีการลงทุนที่ประเทศสมาชิกอาเซียนเคยผุกพันไว้ภายใต้ความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน เดิม
           หลักการสำคัญในการเปิดเสรีการลงทุนตามความตกลง่าด้วยการลงทุนอาเซียน ACIA จะครอบคลุมการเปิดเสรีในธุรกิจ 5 สาขา คือ เกษตร ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ และอุตสาหกรรมการผลิต รวมถึงบริการที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ 5 สาขา เช่นเดียวกบความตกลงเขตการลงทุนอาเวียน นอกจากนั้น การเปิดเสรีการลงุทนยังครอบคลุมทั้งการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ และการลงทุนในหลักทรัพย์ ซึ่งเป็นการเปิดเสรีการลงทุนที่มีขอบเขตกว้างกว่าการเปิดเสรีการลงุทนตามความตกลงเขตการลงทุนอาเวียน ที่ครอบคลุมเฉพาะการลงทุนโยตรงจากต่างประเทศ แต่ไม่รวมถึงการลงทุนในหลักทรัพย์ อย่าวไรก็ดี หลักการเปิดเสรีการลงทุนตามความตกลงว่าดวยการลงทุนอาเวียน จะไม่ใช้บังคับกับมาตรการที่ออกหรือคงไว้โดยประเทศสมาชิกอาเซียนที่กระทบต่อการต้าบริการภายใต้ความตกลงว่ด้วยการต้าบริการของอาเซียน
              ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน เป็นการผนวกหลักการของความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน เข้ากับความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มคองการลงุทนอาเวียน เพื่อให้เป็นความตกลงฉบับเดียวที่มีความสมบุรณ์ ทันสมัย และทัดเทียมกับกฎเกณฑ์การลงทุนระดับสากล ดดยบังคงไว้ซึ่งหลักการสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนระหว่างประเทศที่ 4 ประการ ได้แก่ การเปิดเสรีการลงทุน การส่งเสริมการลงทุน การให้ความคุมครองการลงทุน และการอำนวยความสะดวกด้านการลงทุนทั้งนี้ ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน จะมีผลบังคับเมื่ประเทศสมาชิกอาเวียนทุกประเทศให้สัตยาบันต่อเลขาธิการอาเซียน
             หลักการเปิดเสรีการลงทุนภายใต้ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเวียนกำหนดให้ประเทศสมาชิกคงระดับการเปิดเสรีไว้ไม่น้อยไปกว่าที่ผูกพันไว้ภายใต้ความตกลงเขตการลงทุนอาเวียน โดยถึงแม้จะใช้แนวทางการเปิดเสรีแบบ เหมือเดิม แต่ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเวียน ได้ปรับปรุงพนธกรณีด้านการเปิดเสรีให้มีความเข้มงวดมากขึ้น โดยการเพ่ิมหลักการห้ามข้อกำหนดให้ปรฏิบัติ และข้อบทว่าด้วยผุ้บิรหารอาวุโสและรรมการบริหาร และให้ประโยชน์แก่นักลงทุนที่เป็นบุคคลธรรมดาผุ้มีถิ่นพนักถาวะในประเทศสมาชิกอาเซียน และนักลงทุนเป็นนิติบุคคลที่ไม่ใช่อาเซียนแต่เข้ามาประกอบธุรกิจในอาเซียนอย่างมีนัยสำคัญด้วย
           สำหรับหลักการส่งเสริมการลงทุนและหลัการคุ้มครองการลงทุนภายใต้ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเวียน นั้น มีขอบเขตไม่ต่างจากความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนอาเวียน โดยยังคงไว้ซึ่งกลไกการคุ้มครองการลงทุนที่มีอยุ่เดิมแต่มีการปรับปรุรายละเอียดในบทบัญญัติต่างๆ ให้มีความสมบูรณ์โปร่งใส ชัดเจนในขั้นตอนและรายละเดียดมากขึ้น ทั้งการชดเชยในกรณีจลาจล การชดเชยในกรณีที่มีการเวนคือหรือโอนกิจการมาเป็นของรัฐ รวมถึงการพัฒนการะบวนการระงับข้อพิพาทระหว่างนักลงทุนกับผุ้รัการลงทุน..( "วิเคราะห์ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเวียน ค.ศ.2009 ศึกษาพัฒนการเรื่องการเปิดเสรีการลงทุนของอาเซียนและความพร้อมของประเทศไทยในกาขเ้าเป็นภาคี"วิทยานพนธ์(บทคัดย่อ,บทที่ 1 บางส่วน), นางสาวธัญลักษณ์ ทองร่มโพธิ์,2554)
           

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)