1976 ผุ้นำอาเซียน (ซึ่งขณธนันมีห้าประเทศ ได้แก่ อินโดนิเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์และไทย) ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียนฉบับที่ 1 (DEClaration of ASEAN Concord I : Bali Concord I) ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 1 ณ เมืองบาหลี ประเทศอินโดนิเซีย โดยมีเป้าหมายหลักในการักษาเสถียรภาพและความมั่นคงในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาเมื่ออาเซียนสามารถสร้างความมั่นคงทางการเมืองได้ในระดับหนึ่งแล้วอาเซียนก็ได้ตกลงกำหนดวิัยทัศน์อาเซียน 2020 (ASEAN Vision 2020) ผุ้นำอาเซียนในขณะนั้นเห้ฯว่าอาเซียนพร้อมแล้วทั้งด้านการเมืองภายในปประเทศและระหว่างประเทศ อาเซียนควรหันมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเพื่อพัฒนาศักยภาพของภูมิภาค อาเซียนจึงได้นำวิสัยทัศน์อาเซียน 2020 มาขยายผลเป็นแผน "แผนปฏิบัติการฮานอย (Ha Noi Plan of Action : HPA) ขึ้นในปี ค.ศ. 1998 เพื่อที่จะเป็นแผนการพัฒนาอาเวียนไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ในวิสัยทัศน์อาเซียน 2020 จากนั้นก็ได้มีประกาศ ความคิดริเร่ิมเพื่อากรรวมกลุ่มของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration : IAI) และแผนงนการรวมกลุ่มของอาเซียน (Roqdmap for Integration of ASEAN : RIA เพื่อเป็นแนวทางในการปรับตัวรับสมาชิกใหม่ CLMV และกำหนดทิศทางในการร่วมมือพัฒนาภูมิภาค
ต่อมาในการประชุมสุดยอดผุ้นำอาเซียนครั้งที่เก้า เมื่อวนที่ 7 ตุลาคม ค.. 2003 ประเทสสมาชิกอาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมืออาเซียนฉบับที่ 2 (Declaration of ASEAN Concord II : Bali Concord II ตกลงกันที่จะยายความร่วมมือในเชิงลึมกขึ้นดดยการวางเป้าหมายที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในปี ค.ศ. 2020 (พ.ศ. 2563)
จุดประสงค์หลักของการผนึกกำลังของประเทศสมาชิกอาเซียนสู่การเป็นประชาคมอาเว๊ยนนั้นคือการทำให้สมาชิกอาเวียนมีความใกล้ชิดและเป็นอนหนึ่งอันเดียวกันมากขึึ้น ความท้าทายรูปแบบใหม่ท่เกิดจากกระแสโลกาภิวัตน์ เช่น วิกฤติเศราฐฏิจโลกในปี ค.ศ. 1997 (วิกฤตต้มยำกุ้ง) สงครามการก่อการร้าย และากรรวมกลุ่มประเทศของสไภาพยุโรปเพื่อสร้างอำนาจต่อรองทางเศราฐกิจ ส่งผลให้อาเซียนต้องปรับตัวปรับเป้หมายให้สามารถรัมือกับปัญหาที่มีลักษณะข้ามชาติเหล่านี้ได้อย่างมีประสทิะิภาพ การรวมตัวเป็นประชาคมอาเวียนจะก่อให้เกิดความแข็งแกร่ง ทั้งทางด้านเศราฐกิจ ความมั่นคง และสังคมวัฒนธรรม และสามารถรับมือกับภัยคุกคามในด้านต่างๆ ได้มีประสทิะิภาพดีกว่าที่แต่ละประเทศต่างจัดการกนเอง การร่วมตัวเป็นประชาคมยังเป้นการสร้งเสริมโอกาสให้กับภุมิภาคและประเทศสมาชิกในภุมิภาคในการเจรจาต่อรองกับภุมิภาคอื่นๆ หรือประเทศอื่นๆ ได้มากขึ้น และเมื่อใดที่ประชาชนในภุมิภาคมความรุ้สึกเป้นอันหนึ่งอันเดียวกันปัญหาทะเลาะเบาะแว้งระหว่างประเทศเพื่อนบ้านก็จะลดลง
ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียนฉบัยที่สองยังได้ระบุวง่า การที่จะก่อให้เกิดการพัฒนาทางเศราฐกิจของภูมิภาคอย่างยั่งยืนได้นั้น อาเซียนจจะต้องมีบรรยากาศทางการเมืองที่อยุ่บนรากฐานของผลประโยชน์ร่วมกันอันเกิดจากความร่วมมือทางเศรษฐกิจและความเป็นปึกแผ่นทางดารเมือง ยิ่งไปกว่านั้นกลัการ ซึ่งอดีตนายกรัฐมนตรี ดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัด ได้นำเสนอขณะที่ประเทศต่างๆ ในเอเซียนตะวันออกเฉียงใต้กำลังเชิญวิกฤติเศรษฐกิจใน ค.ศ. 1997 (วิกฤติต้มยำกุ้ง) ก้ได้รับการบรรจุในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียนฉบับที่สอง นี้ด้วย ดร.มหาเธร์ ได้อธิบายว่าประเทศเพื่อนบ้านที่ยากจนจะเป็นบ่อเกิดของปัญหาซึ่งอาจกลายเป็นปัญหาข้ามชาิมากกระทบต่อประเทศตนเองได้อในอนาคต ดังนัเ้นจึงควรให้คฝามสำคัญกับความช่วยเหลือประเทศเพื่อนบ้านให้พัฒนาไปพร้อมๆ กันหลักการนี้มีอิทะิพลอย่างยิงกับนโยบายการต่างประเทศของมาเลเซียและการกำหนดวิสัยทัศน์อาเซีียน 2020 ในกาลต่อมา
ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียนฉบับที่สอง เป็นเอกสารที่ประเทศสมาชิกอาเซียนประกาศด้วยสามประชาคมย่อย ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน, ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน, และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเวียน, ดังนี้
1 ประชาคมความมั่นคงอาเวียนASEAN Security Community เป็นการรวมตัวกันของประเทศอาเซียนในเรื่องที่เน้นถึงความมั่นคง และสันติภาพ ที่จะเกิดขึ้นภายในภุมิภาค เพื่อให้สามารถอยุ่ร่วมกันได้อย่างสันติ อันจะก่อให้เกิดเสถียรภาพทั้งในระดับภุมิภาคและระดับโลก ประชาคมนี้จะเน้นเรื่องการรักษาความมั่นคงร่วมกัน ผ่านความร่วมมือทางการเมือ เศรษบกิจ สังคมและวัฒนธรรม ตามเป้าหมายวิสัยทัศน์อาเว๊ยนโดยแต่ละประเทศสมาชิกอาเวียนจะสามารถมีนโยายการต่างประเทศของตนได้ ดังนั้นการสร้างประชาคมความมั่นคงในความหมายนี้จึงไม่ใช่การสร้างแนวร่วมทางทหาร พันธมิตรหรือการมีนดยบายการต่างประเทศร่วมกัน
2 ประชาคมเศรษฐฏิจอาเวียน เป็นการรวมตัวทางด้านเศรษฐกิจเพื่อจะทำให้เกิดเสถียรภาพ ความมั่งคั่งและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันในะดับนานาชาติ โดยมีเป้าหมายทำให้อาเว๊ยนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกันเชื่อมโยงกับห่วงโซ่อุปทานของเศรษฐกิจโลกได้อย่างเป็นพลวัตร
3.ประชาคมสังคมแลวัฒนธรรมอาเซียน ASCC-ASEAN Socio-Cultural Community) : ประชาคมนี้มุ่งเน้นที่จเสร้างประชาคมที่เป้นปุ้นสวนและเื้ออาทรต่อกัน ( a community of caring societies) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนนั้นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เกิดความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกันของประชาชนอาเว๊ยนโดยประชาคมนี้จะส่งเสริมให้เกิดสำนึกอาเซียน (the Mutual ASEAN Spirit) นอกจานั้นประชาคมนี้มุ่งที่จะลอผลกระทบที่จะเกิดต่อประชาชนจากการร่วมตัวทางเศณาฐกิจและการเมือง เช่นปัญหาจากการประชากรที่เพิ่มขึ้น ปัญหารการว่างงาน ปัญหาสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมและมลพิษข้ามชาติ การป้องกันสาธารณภัย การสร้างความร่วมมือทางสาธารณสุข และการสร้างโอกาศและความเท่าเทียมให้กับผุ้ด้อยโอกาส อาทิ ผุ้พิการ เด็กและสตรี ผุ้ที่อยู่ในชนลทเป็นต้น...(wiki.kpi.ac.th/..ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียนฉบับที่ 2)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น