วันพุธที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2560

Agreement on Comprehensive Economic Partnership among Member States of the Association of Southeast Asian Nations and Japan : AJCEP

              AJCEP หมายถึง ความตกลงหุ้สส่วนเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิดระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนและญี่ปุ่น เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2545 ผู้นำประเทศอาเซียนและญี่ปุ่นเห็นชอบให้มีการตั้งคณะกรรมการตวามร่วมมือหุ้นส่วนเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดระหว่างอาเซียน-ญี่ปุ่น เพื่อจัดทำกรอบความร่วมมือหุ้สน่วนเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดระหว่างอาเซียน-ญี่ปุ่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำเขตการต้าเสรีอาเซียน-ญ่ปุ่น ให้แล้วเร็จภายในปี พ.ศ. 2555(2012) สำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ ปละปี พ.ศ.2560(2017) สำหรับประเทศสมาชิกใหม่ 4 ประเทศ..(thailand.prd.go.th/..AJCEP ย่อมาจาก..)
            AJCEP
            เร่ิมเจรจาเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2543(2004) ผู้นำอาเซียน-ญี่ปุ่นได้ร่วมลงนามในกรอบความตกลงหุ้ส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2546(2007) ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย
            เริ่มเจรจากอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2548(2009) จนสิ้นสุดการเจรจาในปี 2550(2011) รวม 11 ครั้ง กรอบเจรจาครอบคลุม 4 ประเด็นสำคัญคือ
            - การเปิดเสรี (การค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน)
            - กฎเกณฑ์ทางการค้า (กฎว่าด้วยถ่ินกำเนิดสินค้า)
            - การอำนวยความสะดวกทางการต้า (พิธีการศุลกากร การค้าไร้กระดาษ)
            - ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในด้านต่างๆ เช่น SMEs,ICT,HR
            ความตกลงทางการค้า ลงนาม โดยประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศญี่ปุ่น ว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดอาเซียน-ญี่ปุ่น(AJCEP) เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2551
            สำหรับบรูไน ลาว พม่า สิงคโปร์ เวียดนาม และญี่ปุ่น มีผลบังคับใช้เมื่อเดือนธันวาคม 2551 สำหรับไทย มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2552
            การลดภาษีสินค้าทั่วไป ในการเปิดเสรีด้านการต้าได้มีการ กำหนดรูปแบบในการลดภาษี โดยแบ่งกลุ่มสินค้าที่จะนำมาลดภาษี ดังนี้
             - สินค้าปกติลดภาษีปกติ  สำหรับประเทศญี่ปุ่ จะต้องลดภาษีลงเป็น 0 % ภายในปี 2561 มีรายการสินึ้าประมาณร้อยละ 93 ของมูลค่าการนำเข้าจากอาเซียน และร้อยละ92 ของจำนวนรายการสินค้าทั้งหมด
               ประเทศสมาชิกอาเซียนเิม 6 ประเทศ รวมทั้ง เวียนดนาม มีรายการสินค้าประมาณร้อยละ 90 ของจำนวนรายการสินค้าทั้งหมด หรือของมูลค่าการนำเข้าจากญี่ปุ่นของแต่ละประเทศ
               สำรับกลุ่มประทเศ CLM (กัมพูชา ลาว และพม่า) มีรายการสินึ้าประมาณร้อยละ 85 ของจำนวนรายการสินค้าั้งหมด หรือของมูลค่าการนำเข้าจากญี่ปุ่นของแต่ละประเทศ    
              - สินึ้าอ่อนไหว สำหรับประเทศญี่ปุ่น กำหนดให้ลดภาษ๊ลงเหลือร้อยละ 0-5 ภายในปี 2561 จำนวนไม่เกินร้อยละ 3.8 ของมูลค่าการนำเข้า
               สำหรับสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ กำหนดให้ลดภาษีลงเหลือ ร้อบละ 0-5 ภายในปี 2561 จำนวนไม่เกินร้อยละ 3.8 ของมูลค่าการนำเข้าหรือจำนวนรายการสินค้าทั้งหมด
                สำหรับเวียดนาม กำหนดให้ลดภาษีลงเหลืรร้อยละ 0-5 ภายในปี 2561 จำนวนไม่เกินร้อบละ 8 ของมูลค่าการนำเข้าหรือจำนวนรายการสินคึ้าทั้งหมด
                สำหรับกลุ่มประทเศ CLM กำหนดให้ลดภาษีลงเหลือร้อยละ 0-5 ภายในปี 2561 จำนวนไม่เกินร้อยละ 4 ของมุลค่าการนำเข้าหรือจำนวนรายการสินค้าทั้งหมด
                สินค้าอ่อนไหวสูง สำหรับประเทศญี่ปุ่น กำหนดให้ลดภาษีลงเหลือไม่เกินร้อละ 50 ภายในปี 2561
                สำหรับสมาชิกอาเวียนเดิม 6 ประทเศ และเวียดนาม กำหนดให้ลดภาษีลงเหลือไม่เกินร้อยละ 50 ภายในปี 2566
                 สำหรับกลุ่มประเทศ CLM กำหนดให้ลดภาษีลงเหลือไม่เกินร้อบละ 50 ภายในปี 2569
                  สินค้ายกเว้น
                  สำหรับประเทศญี่ปุ่น กำหนดให้มีรยการสินคึ้าในกลุ่มนี้ได้ำม่เกินร้อยลุ  ของมุลค่าการนำเข้า
                  สำหรับสมาชิกอาเวียนเดิม 6 ประเทศ ไม่ได้มีการระบุถึงสัดส่วนของสินค้าในกลุ่มนี้
                  สำหรับกลุ่มประเทศ CLMV (กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม) กำหนดให้มีรายการสินคึ้าในกลุ่มนี้ได้ไม่เกินร้อยละ 3 ของมูลค่าการนำเข้าหรอืจำนวนรายการสินค้าทั้งหมด    
                 ในการเปิดตลาดสินคึ้าของญี่ปุ่นนั้น สินค้าร้อยละ 90 ของมูลค่าการนำเข้าของญี่ปุ่นจากอาเวียนจะลดลงเป็น 0 ทันที่ที่ความตกลงทีผลบังคับใช้ ในขณะที่ไทยไม่ไดเปิดตลาดสินค้าไปมากกว่าความตกลงหุ้นส่วนเสณาฐกิจไทย-ญี่ปุ่น ที่มีผลบังคับใช้ก่อน (วันที่ 1 พฤศจิการยน 2550)
                 สินค้าสำคัญที่ไทยได้ประโยชน์ ได้แก่ เครื่องใช้ ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ สินึาอุตสาหกรรมการเกษตรยานพาหนะ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ยางพาราและผลิตภัณฑ์ เม็ดพลาสติกและผลิตตภัฒฑ์ สินค้าประมงเครื่องจักรกลแลฃะส่วนประกอบ เลนซ์ เหล็ก เหล็กล้าและผลิตภัฒฑ์ ผลิตภัฒฑ์อลูมิเียม สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม เคมีภัฒฑ์ อัญมณี และเครื่องประดับ ไม้และผลิตภัณฑ์ผักสดแช่เย็นอช่เข็ง ผลไม่สดแช่เย็นแลแช่แข็ง และรองเท้าและชิ้นสวนหนังและผลิตภัฒฑ์
                 ความตกลงการต้าบริการและการลงทุน เร่ิมเจรจาอย่างเป็นทางการเมื่อ มีนาคม 2554 ความตกลง AJCEP มีเนื้อหาครอบคลุมการค้าสินค้าเป็นหลัก ในส่วนของการต้าบริการและการลงทุนนั้นได้มีการเปิดเสณีใน้อตกลงทวิภาคีของแต่ละประเทศอยู่แล้ว จึงได้มีการตกลงกันในกรอบกว้างๆ อย่างไรก็ตามอาเซียนและญี่ปุ่นได้กำหนดเวลาในการเจรจาบทว่าด้วยการต้าบริากรให้เสร็จ ภายใน ปี 2555 ดยจะมีการแลกเปลี่ยน draft text ก่อนที่จะมีเร่ิมต้นการเจรจาอย่างเป็นทางการ
                ล่าสุดการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอย่างไม่เป็นทางการ ครั้งที่ 18 ที่กรุงเนปิดอ ประเทศพม่า ที่ประชุมได้มีมติให้อาเวยนและญี่ปุ่นหรรือเจรจาการต้าบริการและการลงทุน อีก 1 ครั้ง ที่จะเป็นประดยชน์ด้านเศราฐกิจการต้าต่ออาเซียนและประเทศคู่เจรจา
                ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจครอลคลุมหลายสาขา ได้แก่ แระบวนการที่เกี่ยวกับการต้า สภาพแวดล้อมทางธุรกิจทรัพย์สินทางปัญญา พลังงาน ข้อมุลและทเคโนโลยีการสื่อสารร การพัฒนาทรัพยากรมนุาย์ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การท่องเที่ยว การขนสงและโลจิสติกส์ เกาษตรประมงและป่าไม้ สิ่งแวดล้อม นโยบายการแข่งขัน และสาขาอื่นๆ ตามแต่จะตกลงกัน ภมายใต้เงินสนับสนุนจากองทุน..(cks.ditp.go.th/.."ความตกลงการต้าเสรีอาเซียน-ญี่ปุ่น)
                ความสัมพันธ์ระหว่างญีปุ่นและอาเวียนนั้นเป็นในลักษณผสมผสานกันไม่ว่าจะเป็นทางด้านประวัติศาสตร์ที่อาจจะยังมีภาพในสมัยสงครามหลงเหลืออยุ่หรือในทางเศรษฐกิจที่ประสบความำสำเร็จเป็นอย่างมากจะอย่างไรก็ตามความสัมพันะ์ระหว่างฐีุ่นและอาเซียนอย่างเป็นทางกการมีความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องตั้งแต่การประกาศของนายกรัฐมนตรรีญีปุ่น ทาเคโอ ฟูคูดะในปี 1977 ในแนวนโยบาย ฤุคูดะ ซึ่งจัดได้ว่าเป็นแนวนโยยายต่างประเทศที่สำคัญของปย๊่ผุ่น โดยตมหลักการดังกล่าวได้กล่าวถึงการสร้างความสัมมพันะ์อย่างแนบแน่นกับภูมิภาคเอเชียตะวัยออกเแียงใต้ไว้ 3 ประการ คือ
                - ญี่ปุ่นจะไม่แสวงหาบทบาทของมหาอำนาจทางด้านการทหาร
                - ญี่ปุ่นจะสร้างความเข้มแข็งให้กับความสัพมันะ์ในการแลกเปลี่ยนความเชื่อมั่นแลมั่นใจบนพื้นฐานของความเข้าใจแบบตรงไปตรงมา ญี่ปุ่นจะเป็นพันธมิตรแบบเท่าเที่ยกันกับอาเซียน ทั้งยังส่งเสริมความเข้าใจระหว่างกันกับชาิตสมาชิกอาเซียน
               
 สำหรับแนวนโยบายฟูคูดะนั้น ถือได้ว่าเป็นความพยายามตร้งแรกของญีปุ่นในการปรับแนวนโยบายต่างประเทศให้มีความเป็นอิสระมากขึ้นกับภูมิภาคเอเชียตะวัยนออกฌียงใต้ภายหลังจากการถอนตัวและลดความช่วยเหลือของสหรัฐฯ ในชวงก่อนสงครามเวียดนามสิ้นสุดลง ในค.ศ. 1976 เนื่องจากก่อนที่จะออกแนวนโยบายฟูดูดะนี้นั้น ญีปุ่นมีแนวนโยบายส่วนใหญ่เอนเอียงเข้าหาตามแนวทางของชาติตะวันตกโดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกาอย่างไรก็ตามญี่ปุ่พยายามแสดงบทบาททั้งทางด้านการทูตและการเมืองระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เสมือนเป็นตัวเชื่อมระหว่างประเทศที่เป็นคอมมิวนิสต์และประเทศที่ไม่ได้เป็นในภุมิภาคนี้แต่ก็ไม่ค่อยจะได้ผลตอบรับมากนักสำหรับเรื่องนี้ เนื่องจากความพยายามที่จะใช้ความช่วยเหลือทางการเงินหรือที่เรียกว่า Official DevelopmentAssistance(ODA) เพื่อที่จะดึงดูดเวียดนามนั้นไม่ประสบผลสำเร็จ และเมื่อเวียดนามบุกดัมพูชาในเดือนธันวาคม ปี 1978 ญี่ปุ่นก็ได้มีการปรับนโยบายเป้นให้การสนับสนุอาเซียนอย่างเต็มที่ ซึ่งเป้นช่วงเดี่ยวกันกับที่อาเซียนพยายามที่จะสร้างเสถียรภาพและสันติภาพในภูมิภาคแลพยายามในการแก้ปัญหาเรื่องวิกฤตกัมพุชาที่เกิดขึ้น
               เมื่อถึงยุคสิ้นสุดสงครามเย็ในค.ศ. 1991 มีการเลปี่ยนแปลงครั้งใหญ่ทังในระดับภูมิภาคและระดับโลกความสัมพันธ์ระหว่างญีปุ่นและอาเซียนนั้นเป็นไปในทางที่ดีขึ้นทำให้ญี่ปุ่น่นมีโอกาสในการเข้ามาแสดงบทบาทในระดับภูมิภาคมากขึ้น ในวิกฤตเศรษบกิจในค.ศ. 1997-1998 เป็นตัวเร่งให่้ญี่ปุ่นเข้ามาเป้นตัวแสดงที่มีบทบาทเพิ่มมากิ่งขึ้นโดยความคาดหวังว่าญี่ปุ่นจะข้ามาช่วยเหลือทางการเงินการคลังกับประเทศในภูมิภาคที่ประสบปัฐญหาทางเศรษบกิจเนื่องมาจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำในช่วงนั้น ซึ่งญี่ปุ่นก็ได้เข้ามาให้ความช่วยเลหือทางการเงินแต่จากมุามาองของนักวิชาการแลก็ยังพบว่าญีปุ่นยังไม่สามารถที่จะใช้เหตุากรณ์นี้นการสร้างบทบาทความเป็นผุ้นำของตนเองในภูมิภาคนี้ได้อย่างแท้จริง
             แต่หลังจากแนวนโยบายฟูคูดะแล้วจุดสำตัญอื่นในความสัมพันะ์ญปุ่่นแลอาเซียนที่สำคัญได้แก่การประกาสปฏิญญาโตเกียวในค.ศ. 2003 ซึ่งได้ประกาศไว้ในการประชุมสุดยอดผุ้นำอาเซียน-ญี่ปุ่น ซึ่งปฎิญญาโตเกียวนั้นมีวัตถุประสงค์ในระยะยาวในการจัตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกขึ้นมา แต่ผลปรกฎว่าการดำเนินกาของประชาคมเอชียตะวัยออกนั้นขาดความก้าวหน้าอย่งต่อเนื่องถึงแม้ว่าในค.ศ. 2005 จะมีการปรุชมสุดยอมผุ้นำเอเชียตะวัยออก ขึนที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียนก็ตาม...
            ญี่ปุ่นกับแนวนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คำถามนี้ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก เนื่องจากถึงแม้ว่าญี่ปุ่นจะได้เข้ามาเกี่ยวของในภุมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มาหลายทศวรรษแล้วผ่านทางการต้าและการให้ความช่วยเลหือในด้านต่างๆ แต่แนวนโยบายของญี่ปุ่นในภูมิภาคนี้ยังคงไม่ชัดเจนมากนัก จนกระทั่งถึงทศวรรษที่ 1980 บรรษัทข้ามชาติใหญ่ของญีปุ่นนั้นได้เข้ามาลงทุนนภูมิภาคนี้อย่างมหาศาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากการทำข้อตกลงพลาซา ระหว่างญีปุ่นกับชาติมหาอำนาจตะวันตกซึ่งได้ส่งผลทางอ้อมในการกระตุ้นเศรษบกิจของภูมิภาคนี้โดยรวม แต่อย่างไรก็ตามการทูตของญีป่นุต่อภุมิภาคนี้ก็ยังคงถูกพิจารณาว่าเป็นในลกษระที่ยังไม่ให้ความสำคัญเด่นชัดนัก สำหรับญี่ปุ่นภุมิภาคนี้จัดได้ว่ามีผลประโยชน์ในเชิงเศรฐกิจกับญีปุ่นในการหาวัตถุดิบราคาถูกรวมถึงเป็นตลาดขนาดใหญ่ในการขายสินจ้าของตนด้วย สำหรับการเน้นการเข้ามาในเชิงเศรษฐกิจของญีปุ่นนั้นได้ส่งผลให้มุมมองของประเทศในเอเชียตะวัยออกเฉียงใต้มองญีปุ่นในเชิงลบว่าเข้ามาแวงหาประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจมากว่าจะข้ามาสร้างความเข้มแข็งร่วมกันและยิ่งปสมปสานกับปรสบการณืที่ประเทศในภุมิภาคนี้ได้รับจากการกระทำของญีปุ่นในช่วงสงคราโลกครั้งที่ 2 ที่ยังไม่ลือมเลื่อนไปจากอดีต
           สำหรับประสบการณืในการรวมกลุ่มแบบภุมิภาคนิยม ของอาเซียนนั้นเร่ิมขึ้นในค.ศ. 1967 ซ่งการรวมกลุ่มในครั้งนั้นไม่ได้สงผลกระทบต่อแนวนโยบายของญี่ปุ่นในเอเชียตะวันออกเแียงใต้ในช่วงเร่ิมต้นเท่าใดนัก เนื่องจากญี่ปุ่นในขณะนั้นได้ดำเนินแนวนโยบายตามสหรัฐฯที่ได้ประกาศแนวนโยายสิกสัน ที่ได้ประกาศในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1969 หลังจากการถอนตัวของสหรัฐฯ จากภูมิภาคอันเนื่องมาจากความพ่ายแ้ในสงครามเวยดนาม จากปัจจัยนี้เองทไใ้ญีปุ่นและอาเซียนมีความจำเป้นต้องสร้างกรอบความร่วมือในระดับภูมิภาคระหว่งกันขึ้นมา นี้เป็นเหตุผลสำคัญที่ำให้แนวควมนโยบายฟูคูดะได้ถุกเสอนขึ้น แลอีกเหตุผลเพื่อที่จะลบภาพในเชิงลบของญี่ปุ่นที่ถุกมองจากลุ่มอาเวียนว่าเปรียบเสมอน "สัตว์เสรษฐกิจ" ที่ได้กล่าวในข้าต้นมาแล้ว โดยญี่ปุ่นดำเนินนโยบายกับอาเวียในลักาณะที่ให้อาเซียนเป็นตัวขับเคลือนนโยบายสร้างความร่วมมือระหว่างกัน อย่างำรก็ดีญีปุ่นมิได้ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเศรษบกิจแต่เพียงด้านเดียว แต่ญีปุ่นยังพยายามในการแสดงบทบาททางการทูตและากรเมืองระหว่งประเทศในการเป็นตัวเชื่อมะหว่างประเทศในภูมิภาคที่เป็ฯคอมมิวนิสต์กับประเทศที่ไม่ได้เป็นคอมมิวนิสต์ซึ่งในจุดนี้ไม่ค่อยประสบผลสำเร็จเท่าใดนัก เนื่องจากสาเหตุที่ญี่ปุ่นปรับนโยายสนับสนุนอาเซียนในช่วยที่เวียดนามนั้นรุกรานกัมพุชา ญี่ปุ่นได้ร่วมกับสาธารณรับประชาชนจีน สหรัฐฯ และอาเซียนในการคัดค้านการกระทำดังลก่าวของเวียนดนามตลอดมา จากการดำเนินการอย่างตั้งใจของญีปุ่นในด้านตางๆ จะพบว่าในชวงเวลานี้สามารตอลรับได้กับการดำเนินแนวทางทางการทุตของอาเวียนในกรสร้างความเ้มแช็งให้แก่กลุ่มของตนเองโดยเฉพาะในช่วงวิกฤตการณ์กัมพูชาเป็นอย่างดี
             
 อย่างไรก็ดีในสถานการณ์ปัจจุบันในยุคหลังสงครามเย็นนั้นเป้นที่ชัดเจนว่าแนวนโยบายของญปุ่นก็มีการปรับเปลี่ยนไปตามสถานกาณืโดยปัจจัยหลักประการหนึงที่มีส่วนสำคัญในการกำหนดนโยบายของญี่ปุ่นต่ออาเวียนในปัจจุบันอันหนึ่งได้แก่การขึ้นมาเป้นมหาอำนาจคู่เข่งของจีน โดยญีปุ่นจะมีการตอบสนองกับจีนอย่างไรและข้อสรุปใดควรเป็นข้อสรุปที่นำมากำหนดนโยบายของญี่ปุ่นต่อจีนนั้นเป็นส่วนสำคัญที่ญี่ปุ่นต้องให้ความสนใจในขณะนี้ ถ้าญีปุ่นปมองว่าการขึ้นมาเป้นมหาอำนาจของจีนนั้นเป้นภัยคุกคามต่อตนเองและมอง่่าการสร้างความสัมพันธ์กับสหรัฐฯ เป็นสิงที่สามารถนำมาถ่วงดุลกับจีนได้ จากแนวคิดนี้ที่ได้รับการยอมรับจากผุ้กำหนดนโยบาคนสำคัญของญี่ปุ่นหลายท่าน ตั้งแต่อดีตนายกรัฐมนตรีนายจุนอิชะโร โคอิซูมิ นายกรัฐมนรตีคนปัจจุบันนายชินโซ อาเบ รัฐมนตรีต่างประทเศญีปุ่นนายทาโร อาโซะ โดยแนวคิดให้ความสำคัญกับสหรัฐนเป้นลำดับแรกและเอเลียเป้นลำดับต่อมาเป้นแนวทางที่ถูกวิพากวิจารณือย่างหนักว่าทำให้เกิดความขัดแย้งกับจีนอย่างหลีอเลี่ยงมิได้ รวมถึงยังไม่เป้นการส่งเสริมในการสร้างการรวมกลุ่มให้เกิดขึ้นในเอเลียตะวัยออกไดอ้ย่อางแท้จริงอีกด้วย แต่ความเป็นแนวทางที่นำสหรัฐฯ และจีนเข้ามาร่วมกันในการสร้างความเข้มแข็งให้กับภุมิภาคจะเป็นประดยชน์กว่า เนื่องจากโดยพื้นฐานอขงอความเป็นจริงนั้นการสร้างความสัมพันะ์อันดีระหว่าางหสรัฐฯ ญี่ปุ่นและจีนจะเพ่ิมมูลค่าในด้านการต้าและการลงทุนซึ่งส่งผลในเชิงบวกกับภาพรวมทางเศรษฐกิจของโลกและการทำให้จีนอ่อนแอหรือไม่มั่นคง ในทางกลับกันก็คงจะทำให้เกิดความเสียหายหรือชะลอตัวทางเสรษฐกิจโดยรวมเช่นเดียวกัน จากตัวเลขทางสถิติการต้าระหว่างจีนกับญี่ปุ่นใน ค.ศ. 2004 นั้นคิดเป็นร้อยละ 20 ของการต้าระหว่างประเทศของญี่ปุ่นโดยมีมุลค่าเกือบ 17,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ทำให้จจีนจัดได้่ว่าเป้ฯคูค้าสำคัญในลำดับต้นๆ ของญี่ปุ่น..(บทความ, "ญี่ปุ่น อาเซียน และการสร้างประชาคมเอเซียตะวันออก, สาธิน สุนทรพันธ์ุ)
           

วันอังคารที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN-China Free Trade Agreement : ACFTA

           ความตกงลงเขตการต้้าเสรี อาเซียน-จีน
           วัตถุประสงค์ เพื่อขยายความร่วมมือทางเศราฐกิจระหว่างประเทศสมาชิกอาเซีียนทั้ง 10 ประเทศ และสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมุ่งขยายการ้าและกาตลงทุนระหว่างกัน เพื่อให้ประเทศภาคีความตกลงฯ มีการพัฒนาทางเศรษฐฏิจ มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ 1 มกราคม 2547 (2004) โดยประเทศสมาชิกอาเซียนและจีน จะให้สิทธิพิเศษฯ แก่สินค้าเกือบทุกรายการปัจจุบันยกเลิกอัตราภาษีภายใต้ ACFTA และ้วกว่าร้อยละ 90 ของรายการสินค้า หรือราว 8,000 กว่ารายการ
          การลดหย่อนภาษี
          - สินค้าที่นำมาเร่งลดภาษีทันที่
            1 ต.ค. 2546 ไทย-จีนพิกัด 07-08 ลดอัตราภาษีเป็น 0
            1 ม.ค. 47 อาเซียน-จีน พิกัด  01-08 ลดอัตราภาษีเป็น 0 ภายใน 3 ปี
          - สินค้าปกติ เริ่ม 20 ก.ค. 48 แบ่งการลดเป็น 2 ส่วน
            NT I ลดอัตราภาษีเป็น 0 ภายใน 5 ปี
            NT II ลดอัตราภาษีเป็น 0 ภายใน 7 ปี ท้้งไทยและจีน ทั้งไทยและจีน ไม่เกินประเทศละ 150 รายการ
          - สินค้าออนไหว แบ่งกาลดเป็น 2 ส่วน
            สินค้าอ่อนไหว ลดอัตราภาษีเป็น 20% ในปี 2555 และเหลือ ).5% ในปี 2558
          - สินค้าที่มีความอ่อนไหวสูง ลดอัตราภาษีเป็น 50% ในปี 2558 และไม่ลดลงอีก
             หมายเหตุ แต่ละประเทศในอาเซียนอัตราการลดหย่อนแตกต่างกัน
            กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า
            กฎทั่วไป ซึ่งเป็นกฎหลักหรือกฎทั่วไป ใช้กับทุกสินค้า
            หลักเกณฑ์ว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า
            - ผลิตภัฒฑ์ที่ได้มาหรืผลิตขึ้นโดยใช้วัตถุดิบภายในปะเทศทั้งหมด หรือ
            - ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาหรือผลิตขึ้นโดยมิได้ใช้วัตถุดิบภายในประเทศทั้งหมด โดยมีสัดส่วนของวัตถุดิบที่มีถ่ินกำเนิดภายในประเทศภาคีอาเซียนและจีน ไม่น้อยกว่า 40 % ของราคา F.O.B. กฎว่าด้วยถ่ินกำเนิดสินค้าและระเบียบปฏิบัติฯ
             กฎเฉพาะสินค้า เป็ฯกฎที่ใช้กับสินค้าเฉพาะรายการหรือ กฎที่ยกเว้นจากกฎทั่วไป
             การขอใช้สิทธิลดหย่อนภาษีภายใต้ FTA อาเซียน-จีน..(www.dft.go.th..."ความตกลงเขตการตกลงเขตการค้าเสรี อาเซียน-จีน)
              ความสัมพันธ์อาเซียนและจีนในหลายทศวรรษที่ผ่านมา พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลงของการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างกันทั้งจากศัตรูกลายเป็นมิตรและในบางขณะจากมิตรก็กลายเป็นศัตรู การดำเนินการทางการทูตของจีนต่ออาเซียนถูกดำเนินมาท่ามกลางปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในและาภายนอกประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละช่วงเวลา นับตั้งแต่การขึ้นมามีอำนาจปกครองจีนแผ่นดินใหญ่ของพรรคคอมมิวนิสต์ จีนเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในภุมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และส่งผลต่อการเมืองระดับภูมิภาคเป็นอย่างใาก สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศในอดีตที่การเมืองระหวางประเทศถูกแบ่งออกเป็น 2 ขั้วอำนาจ ล้วนส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับประเทศในภูมิภาคเอเชชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งนี้เพราะหลายประเทศไม่ว่าจะเป้น ไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์หวาดระแวงจีนจึงมีนธยบายร่วมมือกับฝ่ายโลกเสรีในการต่อต้านอิทธิพลคอมมิวนิสต์ ส่งผลให้จีนดำเนินนโยบายต่างประเทศที่แข็งกร้าวตอบโต้โดยช่วงทศวรรษที่ 1950 นั้นจีนพยายามลดอิทธิพลของจัรวรรดินิยมตะวันตกและมหาอำนาจอื่นๆ ซึ่งอาจเป็นภัยคุกคามความมั่นคงของตนลและให้ความช่วยเหลืแก่ขบวนการคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
             เมื่อต่อมาประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งประกอบด้วย ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ ได้รวมกลุ่มกันจัดตั้ง "สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้" หรือ "อาเซียน" จีนประณามและมองว่าอาเซียนเป็นเพียงกลุ่มความร่วมมือที่เป็นเครื่องมือของ จักรวรรดินิยมอเมริกา อย่างำรก็ตามเมื่อจีนกับสหภาพโซเวียตเร่ิมีปัญหาขัดแย้งกัน ตลอดทศวรรษ 1960 และหันมาปรับความสัมพันธ์กับสหรัฐอเมริกาในทศวรรษที่ 1970 ทำให้จีนมีท่าทีประนีประนอมและลดการวิพากษ์วิจารณือาเซียนลง ทั้งนี้เพราะประเทศสมาชิกในอาเซียนนั้นเป้นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกาและจีนก็ต้องการสร้างแนวร่วมรดับรัฐบาลกับกลุ่มประเทศอาเซียนเพื่อต่อต้านอิทธิพลของสหภาพโซเวียต ดังนั้นจีนจึงเปิดการเจรจาเพื่อสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทุตกับประเทศสมาชิกอาเซียนได้แก่ มาเลิซียนใน ค.ศ. 1974 (พ.ศ. 2517) ฟิลิปปินส์และไทย ค.ศ. 1975 ( 2518) สำหรับสิงคโปร์และอินโดนีเซียนันแม้จะมิได้มีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตในช่วงเวลาดังกล่าวแต่ก็มีการติดต่อค้าขายกันมากขึ้น ความสัมพันธ์ของจีนกับอาเซียนได้กระชับแน่นแฟ้นมากขึ้นตลอดทศวรรษที่ 1980 จากปัฯหากัมพูชาที่ถุกเวียนามส่งทหารเข้ายคึดครอง จีนเข้ามามีบทบามสำคัญกับความขัดแย้งนี้โดยกานส่งทหารเข้าประชิดพรมแดนเวียนนามเพื่อทำ "ส่งครามสั่งสอน" ทไใ้อาเซียนยอมรับจีนมากขึ้นอาจกล่าวได้ว่าจีนและกลุ่มประเทศอาเซียนมีผลประดยชน์ทางด้านความมั่นคงสอดคล้องกันในขณะนั้นการเปลี่ยนข้างเปลี่ยนฝ่ายจากที่เคยเป็นมิตร(จีนและเวียดนาม)ก็กลับมาเป้นศัตรูและที่เคยเป็นศัตรู(จีนและอาเซียน)ก็กลับมาร่วมมือกัน ซึ่งทำให้จีนเป็นที่ยอมรัีบในฐานะผุ้แสดงบทบาทสำคัญที่จะสามารถสร้างสรรค์เสถียนรภาพให้กับภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ได้ในเวลาต่อมา
            อย่างไรก็ตามแม้จีนกับอาเซียนจะมีความใกล้ขิดกันมากขึ้นแต่ปัญหาข้อพิพาทเรื่องดินแดนยังคงมีอยุ่ อาทิ ปัญหาการอ้างกรรมสิทธิ์ในหมู่เกาะทะเลจีนใต้ อย่างไรก็ตามตลอดเวลา 19 กว่าปีที่ผ่ารมาจีนได้พยายามแก้ไขภาพลักษณ์และลดความหวาดระแวงของกลุ่มอาเซียน จีนดำเนินนธยบายต่างประเทศหรือการทูตด้านการเมืองและความมั่นคงเพื่อลดความหวาดระแวงและสร้างความเชื้อมั่น จนกระทั่งความสัมพันธ์ระหว่างจีกับอาเซียนในปัจจุบันมีความใกล้ชิดและร่วมมือในด้านการเมืองและความมั่นคงเป็นอย่างมาก..( การทูตและความมั่นคงใหม่ของจีนต่ออาเซียนในศตวรรษที่ 21, มลฤดี ประเสริฐศักดิ์)
         
ในช่วงเวลาหลายปีที่ผ่านมา ได้มีเงินทุนจาต่างประเทศหลั่งไหลเข้ามาลงทุนในภูมิภาคอาเซียนเป็นจำนวนมากส่วนใหญ่เป็นนักลงทุนจาก สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ยุโรป เกาหลีใต้และจีน ดยเฉพาะงินทุนจากจีนมีแนวโน้มเพิ่มขั้นอย่างมากและเป็นผุ้ลงทุนรายใหญ่อันดับ 1 ในกลุ่มประเทศลุ่มน้ำโขงคือในปี 2557 กาลงทุนของจีนในกลุ่ม สปป.ลาว ดัมพุชาและมียนมา มีมุลค่า 614.3,553.9และ 578.7 ล้านเหรียนสหรัฐฯ ตามลำดับ กรณีทีเม็ดเงินการลงทุนของจีเข้ามาในอาเวียนเป้นจำนวนมากนั้น นอกจากจะเป้นผลจาปัจจัยดึงดุดการลงทุนจากต่างประเทศของประเทศต่างๆ ในอาเซียนแล้ว ที่สำคัญยงเป็นผลจากนโยบายของรัฐบาลจีนที่สนับสนุนให้ผุ้ประกอบการออกมาลงทุนต่างประเทศตามเส้นทางเชื่อมดยงการต้าใหม่ของจีน (เส้นทางสายไหมใหม่ในศตวรรษที่ 21) ซึ่งผระเทศไทยก็เป็นเส้นทางหนึ่งที่เป็นเป้าหมายของนักลงทุนจีนที่จะเริ่มจากทางตอนใต้ของจีน
              ในแต่ละประเทศอาเซียนที่ทุนจีออกไปลงทุนย่อมมาจากเป้าหมายที่แตกต่างกันไป เช่น โครงการลงทุนต่างๆ  ของจีนในเมียนมาส่วนใหญ่เป็นการพลังงานและทรัยากรธรรมชาติ การสร้างเขื่น การก่อสร้างท่อส่งน้ำมัน ท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ท่าเรือน้ำลึก นิคมอุตสาหกรรม และรถไฟฟ้าที่มีความยาวเกือบ 1,000 กิโลเมตร เป็นต้น ส่วนการลงทุนของจีนในกัมพุชาเป็นโครงการลงทุนในด้านพลังงานไฟฟ้า อสังหาริมทรัพย์ การเกษตรอุตสาหกรรมที่เน้นการใช้แรงงานเป็นหลัก เช่น สิ่งทอและเสื้อผ้าสำเร็จรูป เนื่องจากค่าแรงยังมีราคาถูกเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ
             ในสปป.ลาว อิทธิพลทางเศรษฐกิจของจีนมีต่อ สปป.ลาว นั้น จีนได้โอกาสในการลงทุนและพัฒนาแบบรัฐต่อรัฐที่เป้นโครงการขนาดใหญ่ เช่น เขตเศรษฐกิจพิเศษหรือเขตเศรษฐกิจจำเพาะที่รัฐบาล สปป.ลาว ให้สัมปทานแก่กลุ่มทุนจีนเข้ามาพัฒนาเพื้นที่ต่างๆ ได้แก่ เขตเศรษฐกิจบึงธาตุหลวง นครเวียงจันทน์ หรือเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนบ่อเต็น-บ่อหาน(พรมแดนลาว-นีน) ซึ่งจุดสิ้นสุดเส้นทาง R3A ได้กลายเป็นเมืองใหม่ของจีนใน สปป.ลาวไปแล้ว นอกจากโครงการใหญ่ ๆ แล้วอิทธิพลของทุนจีนยังลงไปถึงระดับการค้าขายในชุมชนเล็กๆ ตามเมืองต่างๆ ของสปป.ลาว ด้วยเช่น การต้าขายโทรศัพท์มือถือและสินค้าอื่นๆ ของจีนที่ตลาดชายแดนวังเต่า แขวงจำปาัก-ช่องเม็ก จังหวัดอุบลราชธานี ที่พ่อค้าแม่ขายในตลาดแห่งนี้ส่วนใหญ่เป็นชาวจีนเซี่ยงไฮ้เกือบทั้งหมด
              ส่วนโครงการการลงทุนของจีนในสิงคโปร์ส่วนใหญ่จะเน้นไปที่ภาคบริการทั้งด้านการเงิน การธนาคาร การบริการทางธุรกิจ การจำหน่างสินค้า และอสังหาริมทรัพย์ เป็นต้น ซึ่งซื้อสังหาริมทรัพย์ที่อยุ่อาศัยในสิงคโปร์ปัจุบันมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างมากเพราะสิงคโปร์มีคนเชื้อสายจีนจำนวนมากและใชภาษาจีนกลางในการสื่อสารรวมถึงนโยบายของรัฐบาลสิงคโปร์ด้านการปล่อยสินเชื่อและนโยบายการโยกย้ายถิ่นที่อยู่อาศัยของต่างชาติที่มีการผ่อนปรนมากขึ้น อีกทั้งในจีนได้เริ่มมีนโยบายจำกัดการซื้อบ้านในแผ่นดินจีนแล้ว
             สำหรับการลงทุนของจีนในประเทศไทยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน BOI ได้เประเมินว่ายอดการลงทุนของนักลวทุนจีนที่เข้ามาลงทุนในไทยปี 2558 มีมูลค่ามากกว่า 40,000 ล้านบาท และคาดว่าในอีก 3-5 ปีข้างหน้าภาคเอกชนจีนจะเข้ามาลงทุนในไทยกว่า 100,000ล้านบาท เป้าหมายของจีนที่มาลงทุนในไทยนอกจากจะเพื่อใช้ไทยเป็นตลาดสินค้าของจนแล้ว ยังมอง่าไทยสามารถเป็นฐานการผลิตส่งออกไปยังประเทศแถบอาเซียน รวมถึงส่งสินค้ากลับไปจำหน่ายในจีน เพราะการผลิตสินค้าด้านการเกษตรที่ไทยมีวัตถุดิบจำนวนมก ดดยเฉพาะวัตถุดิบทาด้านการเกษตร และยังมีเป้าหมายใช้ฐานการผลิตในไทยส่งออกสินค้าไปยุโรป และอเมริกาที่ในบางสินค้าจากจีนถูกกีอกันหากส่งออกไปจากจีนโดยตรง
           นอกจากนี้ จีนบังมียุทธศาสตร์ทางด้านการขนส่งคือการสร้างาถไฟควมเร็วสูงจากคุรหมิงลงมาถึงนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว ในขณะที่ไทยก็มีโครงการสร้างทางรถไฟเชื่อต่อจากเวียงจนทน์มายังจังหวัดหนองคาย ขอนแก่น นครราชสีมา สระบุรีและกรุงเทพมหานคร ซึงจะส่งผลดีต่อการต้าและการลงทุนทั้งของไทยและจีนเพิ่มขึ้น จาการหลั่งไหลของทุนจีนที่เข้ามาในอาเซียนรวมทั้งประเทศไทยนั้น จำเป็นที่รัฐบาลและนักธุรกิจของไทยและประเทศสมาชิกต้องมีความพร้มในการปรับตัวเพื่อรองรับการลงทุนดังกล่าวของจีน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการผลิต การค้า การลงทุน การจ้างงานและรายได้ของประเทศตนให้มากที่สุด..(thailand.prd.go.th.."ทุนจีนในอาเซียน")
             
             
         

วันจันทร์ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN + 1

             สมาคมอาเซียนได้เสริมสร้างความสัมพันธ์ทวิภาคีกับหุ้นสวนต่างๆ ผ่านการจัดตั้งกลไกและร่างเอกสารข้อตกลงต่างๆ  โดยปัจจุบัน กรอบความร่วมมืออาเซียนบวก 1 คือ กรอบความร่วมมือที่บรรลุผลงานหลายด้านและเป้นกลไกความร่วมมือนอกลุ่มที่มี่ประสิทธิภาพที่สุดของอาเซียน
             อาเซียน + 1 คือกรอบความร่วมมือทวิภาคีขงอาเซียนกับหุ้นส่วนภายนอกที่ได้รับการจัดตั้งเป้ฯอันดับแรกก่อนกลไกความร่มมืออื่นๆ ของอาเซียน นับตั้งแต่ได้รับการก่อตั้ง อาเซียนได้สภาปนาความสัมพันธ์ทวิภาคกับประเทศ องค์การต่างๆ ในภูมิภาคและโลกพเพื่อเสริมสร้างสถานะ โดยปัจจุบัน อาเซียนได้ธำรงความสัมพันธ์กับ 10 หุ้งส่วน ประกอบด้วย จีน สาธารณประชาชนจีน สาธารณรับเกาหลี แคนาดา ญี่ปุ่น อินเดีย ออสเตรเลีย สหรัฐ สหภาพยุโรปหรือียู รัสเซียนและนิวซีแลนด์
            ผลักดันความร่วมมือด้านเศรษฐกิจเพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน ในเวลาที่ผ่านมา ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับหุ้นส่วนต่างๆ ในกรอบอาเซียนบวก 1 ได้รับการผลักดันและยกระดับให้สูงขึ้น โดยนอกจากการดำเนินนโยบายการต่างประเทศที่เปิดกว้างแล้ว อาเซียนยังคงให้ความสำคัญต่อการรักษาความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนในการสร้างสรรค์โครงกสร้างภุมิภาคให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์และผลประโยชน์ของภุมิภาค บนพ้นฐานกลไกที่อาเซียนเป็นผุ้นำ ซึ่งได้รับความเห็นพื้องเป็นเอกฉันท์ในระดับสุงจากหุ้นส่วนต่างๆ
             คำมั่นสัญญาของหุ้นส่วนต่างๆ ในเวลาที่ผ่านมาคือพลังขับเคลื่อนเพื่อให้อาเซียนสร้างสรรค์และเสริมสร้างประชาชนที่คล่องตัวและพัฒนา โดยเฉพาะกลไกการสนทนาอาเวียนบวก 1 หลังปี 2015 มี
ความหมายสำคัญต่อสถานะของกลุ่มและนี่คือนโยบายที่ได้รับความสนใจเป็นอันดับต้นๆ ของอาเซียน ปัจจุบันอาเซียนได้บรรลุผลงานที่สำคัญที่สุดในการผสมผสานเข้ากับกระแสเศราบกิจ นั้นคือได้จัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือเออีซีเมื่อปลายปี 2015 ดังนั้น ความร่วมมือด้านเศราฐกิจ การต้าในกรอบอาเซียนบลวด 1 จึงได้รับความสนใจเป้นอย่างมากจากประเทศสมาชิกและถือเป็นเนื้อหาที่ได้รับความสนใจเป็นอันดับต้นๆ ญี่ปุ่นซึ่งเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจที่เข้มแข้งได้ให้การช่วยเหลือเป็นอย่างมากต่อการะบวนการสน้างสรรค์ประชาคมอาเซียน โดยให้คำมั่นที่จะลดช่องว่างการพัฒนาปฏิบัตกระบวนการ การขยายตัวที่มีคุรภาพ ในอนุภูมิภาคแม่น้ำโขงให้เป็นเรูปธรรม รวมทั้งยุทธศาาตร์โตเกียวปี 2015 ปัจจุบัน
ท้งสองฝ่ายได้ส่งเสริมการสรุป 10 ปี ความร่วมมือหุ้นส่วนเศราฐกิจในทุกด้านอาเซียน-ญี่ปุ่น มุ่งสู่แผนความร่วมมือระยะใหม่ 2016-2025 สำหรับหุ้นส่วนออสเตรเบีย ข้อตกลงการต้าเสรีอาเซียน -ออสเตรเลีย-นิวซีแล้นด้หรือ AANZFTA มีการลงนามเมื่อปี 2012 กำลังเกิดประสิทธิผล โดยเมื่อเร็วไนี้ ออสเตรเลียได้ขยายระยะเวลาการปฏิบัติโครงการช่วยเหลือร่วมมือด้านเศรษบกิจถึงปี 2018 และโครงการร่วมมือพัฒนาอาเซียน- ออสเตรเลียระยะที่ 2 จนถึงปี 2019 โดยให้คำมั่นที่จะสนับสนุนเงิน 34 ล้านดอลลาร์สหรับ ในการประชุมอาเซียน-ออสเตรเลียที่มีขึ้นในกรอบการประชุมรัฐมนตรีต่่งประเทศอาเซียนตึ้งที่ 49 ณ ประเทศลาว ออสเตรเลียได้ให้คำมั่นที่จะสรับสนุนเงินกว่า 100 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลียภายในเวลา 5 ปี ให้แก่แผนการโคลอมโลใหม่เพื่อให้การช่วยเหลือการขยายความร่วมมือด้านการศึกษาและการเชื่อมโยงประชาชนระหว่างออสเตรเลียกับอาเซียน ส่วนทางด้านความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจระหว่างอาเซียนกับรัสเซียในหลายปีมานี้ก็ได้รับการผลักดันผ่านการปฏิบัติกระบวนการร่วมมือลงทุนและการต้าอาเซียน-รัสเซีย ปฏิบัติแผนปฏิบัติงานเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การเกษตร พลังงานและความมั่นคงด้านอาเหารทั้งสองฝ่ายเห้ฯพ้องที่จะร่วมกันจัดงานฉลอง 20 ปีการสถาปนาความสัมพันธ์หุ้นส่วนในปีนี้ อีกทั้งปฏิบัติแผนการในชข่วงปี  2016-2020 อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อใช้ศักยภาพความร่วมมือใด้านที่ต่างให้ความสนใจให้เป็นธรรมในการช่วยเหลืออาเซียนรับมือกับปัญหาความมั่นคงในโลก
             ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับหุ้นส่วนใหญ่ๆ เช่น สหรัฐ จีน สาธารณรัฐเกาหลีและอียูต่างได้บรรลุก้าวกระโดด โดยนอกจากการปลักดันการพัฒนาเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุนแล้ว หุ้นส่วนดังกล่าวยังให้การช่วยเลหือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามต่างๆ เช่นการก่อการร้าย ลัทธิหัวรุนแรง ความมั่นคงในการเดินเรืออาชญากรรมบนอินเตอร์เน็ต การลักลอบค้าสัตว์ป่าและการต้ามนุษย์
              ดังนั้น สามารถเห็นได้ว่า กลไกความร่วมมือในกรอบอาเวียนบวก 1 คือกลไกความร่วมมือที่รอบด้านที่สุด และบรรลุผลงานที่เป็นรูปธรรมมากที่สุดของเาซียนและหุ้นส่วน ประเทศหุ้้นส่วนได้ให้คำมั่นที่จะสนับสนุนและให้การช่วยเหลืออาเซียนประชาคมอาเซียนพัฒนา ลดช่องว่างการพัฒนาและธำรงบทบาทการเป็นศูนย์กลางของอาเซียนในกระบวนการพัฒนาของภุมิภาคและให้การช่วยเลหือด้านการเงินในระดับที่แตกต่างกัน ซึ่งสิ่งนี้ได้ยืนยันถึงผลสำเร็จและประสิทธิภาพของอาเซียน + 1 อำนวยความสะดวกเพื่อให้อาเซียนและหุ้นส่วนต่างๆ ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น สร้างความไ้วางใจ ขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและการต้าควบคุ่กับปัญหาความมั่นคงในโลก เช่นการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติพร้อมกับการพัฒนาของอาเซียนและแนวโน้มแห่งการปสมปสานของโลก อาเซียนบวก 1 นับวันยิ่งยืนยันถึงบทบาทของตนมากขึ้น และแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของความร่วมมือทวิภาคีกับหุ้นส่วนต่างๆ ในทุกด้าน..(vovworld.vn/../วิเคราะห์สถานะการณ์ฝประสิทธิภาพของกลไกความร่วมมืออาเซียนบวก 1 )

วันอาทิตย์ที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN Plus

             ASEAN Plus หมายถึง กรอบความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา กรอบความร่วมมือเหล่านี้มีหลายด้าน ทั้งในด้านการเมือง ความั่นคง สังคม และศรษบกิจ และปัจจบุัน มีการนำคำศัพท์ ASEAN Plus มาใช้ในหลายบริบท ดังนี้ ASEAN Plus One (ASEAN + 1) หมายถึงกรอบความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา 1 ประเทศ เช่น ความตกลงเขตการต้าเสรีอาเซียน-จีน และความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน-ญี่ปุ่น จัดเป็นเขตการต้าเสรีแบบ ASEAN Plus One ASEAN Plus Three (ASEAN + 3) หมายถึงกรอบความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งริเริ่มขึ้นตั้งแต่ ปี 2540
            ASEAN Plus 6(ASEAN + 6) โดยทั่วไปอ้างอิงถึงข้อริรเ่ิมในกรอบการประชุมสุดยอดเอเซียนตะวันออก (East Asia Summit : EAS) ซึ่งมีการประชุมครั้งแรกในปี 2548 โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อริเริ่มเรื่องการจัดทำพันธมิตรทางเศราฐกิจอย่างใกล้ชิดในเอเชียตะวัยออก (Closer Economic Parnership in East Asia : CEPEA) เนื่องจากเวทีการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกในช่วงเริ่มต้นมีประเทศผุ้เข้าร่วม 16 ประเทศ คือ อาเซียน 10 ประเทศ จีน เกาหลี ญี่ปุ่น อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
           ASEAN Plus Eight (ASEAN + 8) ใช้อ้างอิงอย่างไม่เป็ฯทางการถึงข้อริเร่ิมในกรอบการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกเช่นกัน เนื่องจากเวทีนี้มีการขยายสมาชิกภาพเมื่อปี 2553 โดยรับรัสเวียนและสหรัฐอเมริกาเข้ามาเป็ฯสมาชิกเพิ่มอีก 2 ประเทศ
       
 ASEAN Plus Plus (ASEAN + + )หมายถึง การขยายการรวมกลุ่มทางเศณาฐกิจในอนาคตที่หว้างขวางไปหว่ากรอบ ASEAN +1 กล่าวคือ ในอนาคตอาเซียนอาจจะจัดทำความตกลงเขตการต้าเสรีกับประเทศคู่เจรจาจำนวนมากกว่ากนึ่งประเทศขึ้น
ไปขึ้นอยู่กับความพร้อมของประเทศคู่เจรจาแต่ละประเทศเองอาเซียนจึงเรียกแนวทางนี้ว่า ASEAN Plus Plus เพราะไม่ได้ระบุไว้ว่าประทเสคู่เจรจาที่อาจขอเข้าเจรจากับอาเซียนแล้ว ในท้ายที่สุดจะมีจำนวนเท่าใด
         ASEAN + 9 นอกจากอาเซียน + 8 ุ ประเทศคู่เจรจาที่กล่าวมาแล้ว อาเซียนยังเปิดความสัมพันธ์กับประเทศอื่นที่อยู่ไกลออกไปอีก คือประเทศได้แก่ ประเทศ แคนนาดา
              ...(www.aseanthai.net/..ASEAN Plus หมายถึงอะไร)

วันเสาร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2560

Digital Free Trad Zone : DFTZ

         แจ็คหม่า เจ้าพ่ออาลีบาบา ยักษ์ใหญ่ E-commerce ของจีน ประกาศลงทุนใหญ่ตั้งศูนย์กระจายสินค้าประจำภูมิภาคอาเซียนที่มาเลเซีย และร่วมผลักดันมาเลเซียให้เป็น "ศุนย์กลาง E-Commerce" ประจำภูมิภาค เพื่อนผมไม่น้อยรู้สึกแปลกใจ และเสียดายเทนรัฐบาลไทย แต่ผมกลับคิดว่า รัฐบาลเราอาจไม่ได้เสียใจอะไรมากก็ได้..เนื่องจากยังไม่พร้อม และไม่กล้าเดิมพันเหมือนกับรํฐบาลมาเลเซีย หรือ เรายังไม่แน่ใจว่าถ้าเเจ็คหม่า บุกเรา เราจะได้ประโยชน์จริง หรือแจ็คหม่าและสินค้าจีนจะกินรวบประเทศไทย...
         นโยบายเขตการต้าเสรีดิจิตัล(DFTZ) ของมาเลเซีย สิ่งสำคัญที่มาเลเซียนอมตามข้อเสนอของเจ็คหม่า ก็คือ การจัดตั้ง "เขตการต้าเสรีดิจิตัล" แจ็คหม่าให้สัมภาษณ์ว่า ตัวเขาพยายามนำเสนอไอเดียนี้กับรัฐบาบยุดรปและรัฐบาลในประเทศเอเซียหลายประทเศ แ่ทุกประเทศของเวลาศึกษาก่อน มีนายกฯ นาจิบของมาเลเซียที่ตกลงรับข้อเสนอ และใช้เวลาต่อมาอีก 4 เดือน ก่อนประะกาศจัดตั้งเขต การข้าเสรีดิจิตัลอย่างเป้ฯทางการ
         เขต DFTZ นับเป็นเขตการต้าเสรีดิจิตัลแห่งแรกของโลก สินค้า E-Commerce (ไม่จำกันว่าเป้ฯสินค้าจากชาติไหน) ที่ส่งผ่านเข้ามาในเขตนี้จะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี(ภาษีศุลกากร ภาณีอื่นๆ และค่าธรรมเนียมต่างๆ ) รวมทั้งลดขั้นตอนการขออนุญาตที่ยุ่งยากลงด้วย โครงการที่เสร็จสมบูรณืของเขต DFTZ จะเปิดใช้งานในปี ค.ศ. 2019 โดยแบ่งเป้นสามส่วน ได้แก่
          E-Fulfillment Hub คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า E-Commerce ณ สนามบินนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ ลงทุนโดยเครืออาลีบาบา, Cainiao (พันธมิตรด้านโลจิสตกิส์ของอาลีบาบา), Lazada (E-Commerce ใหญ่ในเอเซีย ซึ่งอาลีบาบาซื้อไปแล้ว),และ POS Malasia(ไปรษณ๊ย์มาเลเซีย) โดยสินค้าจะผ่านกระบวนการจัดการด้านศุลกากรที่สะดวกและรวดเร็ว
         Satellite Service Hub ตั้งอยู่ที่ "Internet City"ในกรุงกัวลาลัมเปอร์ โดย Catcha Group ของมาเลเซียจะเป้นผุ้ลงทุนด้วยวงเงิน 1.3พันล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ ประกอบด้วยอาคารสำนักงานสำหรับ start-up, Co-Working Space, และโชว์รูม O2O (Offline to Online) เป้าหมายเพื่อเป็นที่รวมตัวของบริษัท Tech ในภูมิภาคมากกว่า 1,000 แห่ง และคนทำงานในวงการ Tech มากกว่า 25,000 คน
         eService Platfome ในโลกออนไลน์ ซึ่งจะช่วยให้ผุ้ค้า E-Commerce ที่ต้องการนำเข้าหรือส่งออกสินึ้าสามารถดำเนินขั้นตอนขออนุญาตต่อหน่วยงานรัฐต่างๆ ผ่านขึ้นตอนออนไลน์ได้ในที่เดียว รวมทั้งติดต่อบริษัทและทำการตลาดได้อย่างเต็มที่ โดยไม่้ต้องมัวเสียเวลาหรือกำลังคนกับการเินเรื่องติดต่อหน่วยงานตาชการหรือเจรจากับบริษัทโลจิสติกส์เช่นในอดีต
         แนวคิดของโครงการเขตการต้าเสรีดิจิตัลนี้ เลียนแบบจากระบของเขตทดลอง E-Commerce ข้ามชาติ เมื่อหางโจว ประเทศจีน (ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ Alibaba) โดยเขต DFDZ ของมาเลเซียน ตังเป้าจะเชื่อต่อเป็น platform เดียวกับของเมืองจีน
         ผลที่ตามคือ มาเลเซียจะกลายเป็นเมืองท่า E-Commerce ของอาเซียน สินค้าจีน สินค้าผรัีง ที่จะบุกตลาด E-Commerce ของอาเซียนผ่าน platform ของอาลีบาบา จะผ่านเข้ามาที่คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้าในมาเลเซียก่อน แล้วจึงต่อไปยังตลาดผุ้บริโภคสไคัญในอาเซียน เช่น ไทย, อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์และสิงคโปร์..(Thaipublica.org/..แจ็คหม่าบุกมาเลเซีย : เกมส์เดิมพันของใคร)
         ก่อนที่แจ็ค หม่า จะตกลงกับมาเลเซีย เขาได้มาเจรจากับไทยในช่วงปลบายปีที่ผ่านมา โดยเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2559 แจ็ค หม่า กล่าวในงานบรรยายพิเสษสไกรับผุ้ประกอบการรุ่นใหม่หัวข้อ " Entrepreneurship and Inclusive Globalization" ขณะเดินทางมาประเทศไทยวา ภายใน 12 เดือนจากนี้จะได้เห็นโรดแมพการทำงานร่วมกับรัฐบาลไทย
          ขณะเดียวกันจะมีการปรับแผนใหเหมาะสมทุก 6 เดือน สิ่งที่หวังคงไม่ใช่ความหวังความสำเร็จยิ่งใหญ่แต่จะค่อยๆ ทำให้เกิดขึ้นทีละน้อย เบื้องต้น งานที่จะทำร่วมกัน เชน ยกระดับเอสเอ็มอี เทรนนิ่งผุ้รปะกอบการรายใหม่ พัฒนาคน เปิดโอาสให้ไปศึกษาดูงานที่สำนักงานใหญ่อาลีบาบาร่วใสนับสนุนนโยบายรัฐบาลไทย "ผมมองว่านโยบายไทยแลนด์ 4.0 การสนับสนุสาร์ทอัพ รวมถึงผุ้ประกอบการรายใหม่ของรัฐบาลไทยนั้นมาถุกทางแล้ว อาลีบาบายินดีให้การสนับสนุน ช่วยให้ไทยสามารถสเนอเอกลักษณ์สู่สายตาโลก"
          เมื่อครังเจ้าพ่อาลีบาบามาไทย แจ็ค หม่า ไม่ได้แค่โฉบมาขายฝันแล้วจากไป แต่ยังมีความตกลงถึงขั้นตั้งคณะทำงานร่วมมืกับรัฐบาลไทยอย่างเป็นรูปธรรมผ่านการบอกกล่าวของนายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี
       
แจ็ค หม่า ต้องการเข้ามามีส่วนร่วมในการยกระดับเรื่องดิจิตัลของประเทศไทยเหมือนกับที่เคยช่วยรัฐบาลจีนและรัฐบาลของอีกหลายประเทศทั่วโลกมาแล้ว เพือช่วยเหลือผู้ประกอบการรายย่อยหรือเอสเอ็มอีที่มีสัดส่วนกว่า 90% ของผุ้ประกอบการในไทยทั้งหมดให้มีโอกาสค้าขายไปยังต่างประเทศ
          ตามแผนการทางอาลีบาบากรุ็ปและรัฐบาลไทย จะมีการตั้งคณะทำงานร่วมกันทั้ง 2 ฝ่าย เพื่อมาร่วมจัดทำแผนปฏิบัติการ มีแผนงาน 1 ปี โดยทางอาลีบาบา จะมาร่วมพัฒนาแพล็ตฟอร์มเพื่อช่วยให้ผุ้ประกอบการรายย่อยค้าขายได้ ทั้งยังจะมาช่วยฝึกนักธุรกิจและเอสเอ็มอีของไทยเรื่องการต้าขายผ่านระบบอี-คอมเมิร์ซ และจะร่วมกับรัฐบาลและสถาบันการศึกษาช่วยสอนเรื่อง อี -คอมเมร์ซ ให้เกิดการตื่นตัวในเด็กรุ่นใหม่ เพื่อสร้างผุ้ประกอบการใหม่หรือสาร์ทอัพขายสินค้าให้กับคนทั่วดลก
        แจ็ค หม่า มองว่า ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรคือจุดแข็งของไทย สามารถสงออกไปสู่ตลาดใหญ่อย่างจีน ยุโรป และทั่วโลก ดังนั้นสิ่งที่ต้องเข้าไปสนับสนุคือทำอย่างไรให้เกษตรกรสามารถขายสินค้าได้บนโลกออนไลน์ เรื่องนี้รัฐบาลต้องวางนโยบายพร้อมพัฒนาอีโคซิสเต็มส์ที่จะผลักดันให้เกิดการเติบโต
          ที่สำคัญ แจ็ค หม่า ย้ำและยืนยันว่าไม่คิดจะมาทำงเงินในไทย แต่จะเป็น แพลตฟอร์ม อินหราสตรักเจอร์ ส่วนหนึ่งช่วยพัฒนาอีโคซิสเต็ม เชื่อมโยงการต้า การลงทุน การท่องเที่ยว ยกระดับภาคธุรกิจ และผลักดันให้เกิดการเติบโต โดยบทบาทสำคัญจะเข้ามาเป็ฯพันธมิตร ไม่ใช่มาควบคุมหรือทำให้ผุ้ประกอบการท้องถิ่นตายจากไป เพราะหากเป็นเช่นนั้น อาลีบาบเองคงอยุ่ไม่ได้เช่นกัน....(new.tlcthai.com/ข่าว ข่าวเด่น)

วันศุกร์ที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2560

ASEAN's 50th Anniversary(201ึ7)

            สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียนตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน เปิดตัวโลโก้ใหม่ "Visit ASEAN@ 50 Golden Celebration 2017" เพื่อนำเสนออคมเปญการท่องเที่ยวของอาเวียน โดย 10 ผุ้นำประเทศอาเซียน ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ณ กรุงเวียงจันทน์สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เมื่อ 2 กันยายน 2016
            โดยแคมเปญใหม่นี้มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมการท่องเทียยวอาเซียนในปี 2560 ในวาระครอบรอบ 50 ปีของการก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน ให้เกิดความร่วมมือกันสร้างการก่อตั้งที่สมาคมประชาชาิแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน ให้เกิดความร่วมมือกันสร้างเอกลักษณ์การท่องเที่ยวอาเซียนหรือในภูมิภาคเอเซียนตะวันออกเแียงใต้ ที่มีความหลากหลาย ให้เป็นจุดหมายปลายทางการทองเที่ยวเดียว เพื่อสร้างกระแสการรับรู้และเพ่ิมจำนวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศให้มาเที่ยวอาเซียน จาก 108.9 ล้านคนในปี 2558 เพ่ิมข้นเป็น 121 ล้านคนในปี 2560 และสร้างรายได้เพิ่มจาก 75 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯในปี 2557 เป็น 83 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯภายในปี 2560
            ทั้งนี้ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งสิบ จะมีการจัดกิจกรรมประชาสัมพันะ์และส่งเสริมการรับรู้แคมเปญ Visit ASEAN@ 50 : Golden Celebration ในงานแสดงอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ITB เอเซีย ณ ประเทศสิงคโปร์ในเดือนตุลาคม รวมทั้งประชสาัพันะ์ส่งเสริมสินค้าด้านการท่องเที่ยว และแนะนำกิจกรรมประสบการณ์การเดิทนทางพิเศษต่างๆ ในอาเซียนในงาน World Travel Market ณ กรุงลอนอน ในเดือนพฤศจิกายน ในปีนี้
            นายทองลุน สีสุลิด นายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และประธานการประชุมสุดยอดอาเซียน กล่าวว่า การฉลองครบรอบ 50 ปี อาเซียนเป็นโอกาสที่ดีสำหรับประเทศสมาชิกทั้ง 10 ที่จะร่วมกันฉลองความสำเร็จอันรวดเร็วของชาติสมาชิกของสมาคมประชาชาติแป่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในการเป็ฯจุดหมายปลายทางเดียวของการท่องเที่ยวภายใต้ความหลากหลาย Visit ASEAN@ 50 จะส่งเสริมความแข็งแกร่งและความเป็นอัหนึ่งอันเดียวกันทางเศรษฐกิจของอาเซียน
            ตลาดเป้าหมายที่สำคัญสำหรับการรณรงค์ส่งเสริมการท่องเทียวอาเซียนครบรอบ 50 ปี ในปี 2560 จะเป็นกลุ่ม ยุโรปตะวันออกกลาง และอเมริกาเหนือ รมถึงจีนญี่ปุ่นเกาหลีอินเดียและออสเตรเลียโดยคณะกรรมการด้านความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวอาเซียนในฐานะผุ้รับผิดชอบแคมเปญนี้ ได้อล่าวถึงกิจกรรมด้านการตลาดเพื่อส่งเสริมแคบเปญ ดังนี้
 "Visit ASEAN @ 50" จะเปิดตัวอย่างเป็นทางการในงานการประชุมการท่องเที่ยวอาเซียน (ASEAN Tourism Forum) ในเดือนมกราคม 2560 ณ ประเทศสิงคโปร์
          - จัดกิจกรรมสื่อมวลชนสัญจร แนะนำเส้นทางการเดินทางท่องเที่ยวอาเซียนให้แก่สื่อมวลชน
          - นำเสนอแพคเกจทัวร์และข้อเสนอพิเศษต่างๆ ในการซื้อสินค้าท่องเที่ยวสำหรับการเดินทางในปี 2560
          - ร่วมแสดงสินค้าด้านการท่องเที่ยวนานาชาติในตลาดที่สำคัญ เพื่อส่งเสริมแคมเปญ
          - จัดโปรแกรมความร่วมมือด้านการตลาดร่วมกับตัวแทนการท่องเที่ยว สื่อแลสายการบิน
          - ส่งเสริมการรับรุ้แคมเปญผ่านสื่อโทรทัศน์ สิ่งพิม์และทางสื่ออิเลคโทรนิค
          - จัดแคมเปญสื่อสังคมเพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของผุ้บริโภค
          - โปรแกรมการส่งเสริมโดยสำนกงานการท่องเที่ยวแห่งชาติของอาเวียน เน้นเป้าหมายด้านการต้าผุ้บริโภคและตลาดไมซ์ตลอดปี 2560
           แคมเปญการท่องเที่ยวอาเซียนครบรอบ 50 ปี ในปี 2560 เป็นส่วนหนึ่งของแผนกลยุทธ์การท่องเที่ยวอาเซียน ปี 2559-2568 ซึ่งได้รับการอนุมัติโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวของสิบประเทศอาเวียนในการประชุมท่องเที่ยวอาเซียน ณ กรุงมะนิลาเมื่อเดือนมกราคม 2559 ที่ผ่านมา...(www.prachachat.net/..อาเซียนเปิดตัวโลโก้ใหม่ Visit ASEAN @ 50 และแคมเปญรณรงค์บูมท่องเที่ยวอาเซียน)
          ประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ ได้เร่ิมต้นจัดกิจกรรมเพื่อเฉลิมฉลองโอกาสสำคัญแห่ง 50 ปีของการก่อตั้งอาเซียนขึ้น โดยได้เชิญบุคคลต่างๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับอาเซียนตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน อาทิ อดีตอธิบดีกรมอาเซียน อดีตเอกอัครราชทูตผุ้แทนถาวรไทยประจำอาเซียน เอกอัครราชทูตอาเวียนประจำำประเทศไทย ตลอดจนคณะทูตานุทูตต่างประเทศในไทย มาร่วมงานปาฐกถาพิเศษ "ASEAN@50 : for now and Posterity" โดย นายสุรินทณ่ พิศสุวรรณ อดีตเลขาธิการอาเซียน และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นงานแรกของกิจกรรมที่จะมีการจัดขึ้นต่อเนื่องตลอดทั้งปี
         นายดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ กล่าวระหว่างเปิดงาานว่า ความร่วมมือของอาเซียนในอดีตอยู่บนหลักการ 3 ซี คือ Consensus หรือฉันทามติ Consultation หรือการปรึกษาหารือ และ Cooperation หรือความร่วมมือระหว่างกัน ขณะที่ในยุคใหม่นี้อาเวียนก็ยังคงยคดมั่นในหลักการ 3 ซี เช่นเดิม แต่ได้กลายเป็น Connectivity หรือความเชื่อมโยง Community หรือประชาคม และ Centrality หรือเป็นศูนย์กลางของอาเซียนในการผลักดันคามร่วมมือต่างๆ มี่มีอยุ่ ปัจจุบันอาเซียนซึ่งเป็นประชาคมที่มีคน 620 ล้านคน เป็นประชาคมที่มีความหมายมาก และมีบทบทสุงทั้งยังเป้นประชาคมที่มีวิสัยทัศน์และมีพลังงานที่จะร่วมมือกับกลุ่มประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอื่นๆ
         ทั้งนี้ สิ่งที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสิ่งที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศมองว่าเป้นความท้าทายของอาเซียนที่ก้าวเข้าสู่ปีที่ 50 คือ กายึดมั่นในข้อตกลงต่างๆ ที่มีและพันธกรณีระหว่างกันเพื่อทำให้พันธกรณีระหว่างกันเพื่อทำให้ประชาคมอาเซียนก้าวหน้าต่อไปสมกับเจตนารมณ์ หลายคนอาจมองว่าเมื่อก้าวเข้าสู่การรวมตัวเป้นปรชาคมอาเวียนแต่ดูเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น ในความจริงแล้วการเป็นประชาคมต่างๆ จะต้องเดินหน้าต่อไป ประชาชนจะต้องรับรุ้เกี่ยวกับอาเซียนมากขึ้นเรื่อยๆ
       ..(www.matichon.co.th/..รายงาน : ปาฐกถาพิเศษ "50 ปีอาเซียน")

วันพฤหัสบดีที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2560

AEC Blueprint 2025 (2015)

          ในการประชุมสุดยอดผุ้นำอเซียน ครั้งที่ 27 (ASEAN Summit 27th) ณ กรุงกัะวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียระหว่างวันที่ 19-22rพฤศจิกายน 2558 นัดส่งท้ายก่อนที่ประเทศมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ จะก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อย่างสมบูรณ์ในวันที่ 1 มกราคม 2560 เป็นความหวังที่ทำให้ "ตลาดอาเซียน" ซึ่งเป็นตลาดส่งออกเบอร์ 1 ของไทยกลับมาคึกคักอีกครั้ง
         ในการประชุมครั้งนี้ฝ่ายไทย พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พร้อมด้วยนางอภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ นำคณะเข้าร่วมให้การรับรองแผนงานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในอีก 10 ปีข้างหน้า ( 2559-2568) หรือ AEC Blueprint 2025 ร่วมกับสมาชิกอีก 9 ประเทศ ถือเป็นการดำเนินงสนต่อยอดจากมาตรการเดิม เพิ่มประสิทธิภาพ และขยายความร่วมมือทางเศราฐกิจทั้งในเชิงกว้างและเชิงลึกยิ่งขึ้น ส่งเสริมความร่วมมือรายสาขา ให้ความสำคัญกับวิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลาง นวัตกรรม การวิจัยและพัฒนา เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนดึงดูดการค้าและากรลงทุนจากต่างประเศ พร้อมกนนี้ยังมการจัดประชุมคณะมนตรีประชาคมเศรษบกิจอาเซียนครั้งที่ 14 ซึ่งเป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีที่ดูแลภาพรวมเรื่อง AEC โดยจะมีการหารือถึงการดำเนินการตามแผนงาน โดยเฉพาะมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการอำนวยความสะดวกด้านการขนส่งให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 เป้าหมาย AEC Blueprint 2025 จะทำให้อเซียนก้าวสู่มิติใหม่ 5 ด้านคื
           - เศรษฐกิจที่มีการรวมตัว และเชื่อมโยงในระดับสูง
           - มีความสามารถในการ แข่งขัน มีนวัตกรรม และมีพลวัต
           - ส่งเสริมการเชื่อมโยงด้านเศรษฐฏิจ และการรวมตัวรายสาขา
           - ความสามารถในการปรับตัวครอบคลุมทุกภาคส่วน และมีประชาชนเป็นศุนย์กลาง และ
           - การเป็นส่วนสำคัญของประชาคมโลก
            การเตรียมพร้อมเพื่อให้เป้นไปตามแผนงานอี 10 ปีนั้น ไทยต้องดำเนินการ
            - ให้ความสำคัญกับภาคบริการเพ่ิมขึ้นเช่น แก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อเปิดเสรีภาคบริการการพัฒนาบุคลากร การอำนวยความสะดวกในกาเข้ามาทำงานของต่างชาติในสาขาที่ไทยต้องการพัฒนา เช่น โลจิสติกส์ การศึกษา การเงิน โทรคมนาคม ก่อสร้าง และคอมพิวเตอร์
            - ความเชื่อมโยงภายในประเทศและภูมิภาค เนื่องจากไทยมียุทธศาสตร์เป็นศูนย์กลางของอาเซียนกลางของอาเซียน และมีศักยภาพด้านการขชนส่ง ดังนั้น ไทยควรเร่งพัฒนาระดบบบโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม ด่านชายแดน การพัฒนาเขตเศรษฐกิจแปละเร่งจัดทำระบบ Single Window ให้มีผลบังคับใช้ในทางปฏิบัติโดยเร็ว เพื่อสร้างความเชื่อมโยง
            - พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อรองรับการเติบโตทางเศรษบกิจ ตามภาวะโลกในปัจจุบันที่หันเหไปสู่การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งไทยควรขยายโครงข่ายบรอดแบนด์ให้ครอบคลุมพื้นที่ต่างๆ ส่งเสริมการลงทุนด้าน Data Center และช่วยลดต้นทุนผุ้ประกอบการ
           - ปรับปรุงกฎระเบียบในประเทศ เพื่อำนวยความสะดวกและลดปัญหาอุปสรรคในการต้าและการลงทุน และ
           - ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างเศรษกบิจสร้างสรรค์ พัฒนาสินค้าและบริการให้แข่งขันได้ในตลาดโลก
            นางอภิรดีกล่าว่า ขณะนี้อาเซียนลดภาษีสวนใหญ่เป็น 0% แล้ว ยกเว้นรายการสินค้าอ่อนไหว แต่จะต้องเร่งแก้ไขมาตรการกีดกันทางการต้า ให้หมดไป เพื่อทำให้การค้าสินค้ามีความคล่องตัว นอกจากนี้ เห็นว่าควรมีการผลักดันการสร้างความร่วมมือด้านมาตรฐานสินค้า ร่วมกันภายในอาเซียน ที่สำคัญอาเวียนมีเป้าหมายจะเร่งเปิดเสรีภาคบริการให้มากกว่าปัจจะบันที่เปิดเสีรภาคบริการชุดที่ 10 และเตรียมหารือประเด็นสำคัญในการเปิดเสรีภาคบริการเร่งด่วนด้านโทรคมนาคมโดยเแพาะในเรื่องการคิดอัตราค่าดทรศัพท์ทางไกลข้ามประเทศในกลุ่มอาเซียน(โรมมิ่ง) ซึ่งในปัจจุบันแต่ละประเทศมีอัตราแตกต่างกัน บางประเทศมีค่าโรมมิ่งสุง
           ดังนั้น สมาชิกจึงเห็นพ้องกันว่าควรปรับลดลงให้เป็นอัตราเดียวกันทั้งอาเซียน ซึ่งจะเป็นเครื่องมือสนับสนุนให้เกิดการขยายตัวทางการค้า โดยจะเริ่มหารือกันตั้งแต่ปี 2559 เป็นต้นไป...(www.aseanthai.net/..ประชุม ASEAN Summit' 27 ผู้นำ 10 ประเทศผ่านร่างพิมพ์เขียน 2025)
            โดยภาพรวมแล้ว แผนงานของอาเซียนใน 10 ข้างหน้า เน้นการสานต่อทำให้ประชาคมอาเซียนมีความสมบูรณ์มากขึ้น อย่างไรก็ตาม บลุพริ้นต์ 2025 ค่อนข้างน่าผิดหวัง เมื่อเทียบกับ บรูพริ้นต์ 2015 เนื่องจากขาดความริเริ่มและมาตรการใหม่ๆ...
            เรื่องใหม่ๆ ที่ปรากฎอยู่ใน Blueprint 2025 มีดังนี้
            - การส่งสเริมประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง ซึงเป็นเรื่องใหม่ที่แทบไม่ได้กล่าวถึง ในบลูพริ้นต์ 2015 โดยจะเนิ้นการสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนให้ประชาชน โดยการจัดกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ อาทิ การจัดสมัมนา การจัดพิมพ์ สิ่งพิมพ์เผยแพร่ การจัดให้มีหลักสูตรอาเซียนศึกษาในสถาบันการศึกษา
นอกจากนี้ จะมีการจัดทำ ASEAN Lane ของประเทศสมาชิกอาเซียน การจัดทำ ASEAN business travel card และ ASEAN common visa
           รวมทั้งการส่งเสริมการผลิตผุ้เชี่ยวชาญด้านอาเซียน ผ่านการจัดตั้งศุนย์อาเซียนศ฿กษา หรือASEAN Studie Center และส่งเสริมให้สถาบันการศึกษา และคลังสมองอาเวียน ทำการศึกษาและวิจัย และตีพิมพ์ ประเด็นปัญหาของภุมิภาคและของโลก
             - อาเซียนกับการเป็นแกนกลางของสถาปัตยกรรมในภูมิภาค อีกเรื่องที่ดุโดเด่นใน บลูพริ้นต์ 2025 คือ การให้ความสำคัญกับการส่งเสริมให้อาเวีนเป็นแกนกลางของระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในภูมิภาค โดยเน้นส่งเสริมความเป็นเอกภาพ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของอาเซียน ซึ่งมาตรการสำคัญมีดังนี้
              - เจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน ASEAN SOM ต้องมีการหารือและกำหนดยุทธศาสตร์ของอาเซียนต่อประเด็นปัญหาต่างๆ
              - จะต้องมีการกำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกันสำหรับสถาปัตยกรรมในภูมิภาค
              - จะต้องทำให้กลไกความร่วมมือด้านต่างๆ ของอาเซียน ทราบถึงยุทธศาสตร์ร่วมกันของอาเซียน เพื่อจะได้มีท่าทีและทิศทางเดียวกนกับประเทศนอกภูมิภาคในทุกเรื่อง
               - ต้องมีการกำหนดยุทธศาสตร์ที่ชัดเจนต่อประเทศคู่เจรจา
               - สงเสริมการมีท่าทีร่วมกันและพูดเป็นเสียงเดียวกัน ในลัษณะ ASEAN voice ในเวทีพหุพาคีต่างๆ
               - มีการออกแถลงการณ์ร่วมกันของอาเซียน ต่อประเด็นปัญหาต่างๆ อย่างทันท่วงที
               - ประสานความร่วมมือเพื่อเสนอชื่อตัวแทนอาเวียนในตำแหน่งสำคัญๆ ในเวทีพหุภาคี
               - การพัฒนาสถาบันและกลไกของอาเซียน
                การปรับปรุงกลไกและสถาบันต่างๆ ของอาเซียน ดังนี้
               - ส่งเสิรมให้มีการจัดตั้งหน่วย หรือกองอาเซียนขึ้น ในกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ของประเทศสมาชิกอาเซียน
               - ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งศูนย์หรือสถาบันอาเซียนเฉพาะด้านในประเทศสมาชิกอาเวียน
               - ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งศูนย์อาเซียนศึกษา และหลักสูตรอาเซียนศึกษาในประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งการสนับสนุนการสร้างเครือข่ายระหว่างศุนย์เหล่านี้
              ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC 2025
              สำหรับแผนงานของ AEC ในอีก 10 ปีข้างหน้า ส่วนใหญ่เป็นการสานต่อจากปี 2015 ซึ่งเน้นการทำอาเซียนให้เป็นตลาดดียวและฐานการผลิตเดียว โดยการเปิเสรี 5 ด้านด้วยกันคือ การค้าสินค้า การต้าภาคบริการ การลงทุน การเคลื่อนย้ายเงินทุน การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือ
              การต้าสินค้า เน้นการดำเนินมาตรการต่างๆ ที่จะทำให้ AEC มีการเปิดเสรีการต้าสินค้าที่สมบูรณ์มากขึ้นโดยเฉพาะการเน้นจัดการกับปัญหามาตรการทางการต้าที่มิใช่ภาษี
              การต้าภาคบริการ เน้นการเจรจาในการ implement ข้อตกลง ASEAN Trade in Services Agreement ให้เป็นเครื่องมือทางกฎหมาย เพื่อก่อให้เกิดบูรณาการของภาคบริการในภูมิภาคให้มากขึ้น
              การลงทุน เน้นการเปิดเสรีด้านการลงทุน การจัทำระบบการลงทุนในภุมิภาค ที่เปิดกว้าง โปร่งใส และเน้นการปรับปรุงสภาวะแวดล้อมด้านการลงทุนของอาซียน
              การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือ โดยตั้งเป้าหมายว่า จะส่งเสริมการเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือในอาเซียน
              โครงสร้างพื้นฐานและการเชื่อมโยงอาเซียน ในอาเซียน บลูพริ้นต์ 2025 กล่าวถึงเรื่องนี้ไว้น้อยมาก
               ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเวียน ASCC 2025 มาตรการส่วนใหญ่เป็นการสารต่อจากแผนงานที่แล้ว เน้นความร่วมมือ 5 ด้านด้วยกันคือ ความร่วมมือในการพัฒนามนุษย์ โดยเฉพาะความร่วมมือด้านการศึกษา สวัสดิการสังคม เรื่องสิทธิผู้ด้อยโอกาส ความร่วมมือการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม และการสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
             โดยมาตรการที่โดดเด่นคือการเน้นการเข้าถึงบริการต่างๆ ของภาครัฐ โดยทุกภาคส่วนซึ่งเป็นไปตามหลักการสากล ที่ปรากฎเน้นการส่งเสริมการเข้าถึงทั้งโอกาส ทรัพยากร และการบริการของรัฐสำหรับประชาชนทุกคน ..(www.drprapat.com/อาเซียน-2025)


         

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...