Agreement on Comprehensive Economic Partnership among Member States of the Association of Southeast Asian Nations and Japan : AJCEP

              AJCEP หมายถึง ความตกลงหุ้สส่วนเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิดระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนและญี่ปุ่น เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2545 ผู้นำประเทศอาเซียนและญี่ปุ่นเห็นชอบให้มีการตั้งคณะกรรมการตวามร่วมมือหุ้นส่วนเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดระหว่างอาเซียน-ญี่ปุ่น เพื่อจัดทำกรอบความร่วมมือหุ้สน่วนเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดระหว่างอาเซียน-ญี่ปุ่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำเขตการต้าเสรีอาเซียน-ญ่ปุ่น ให้แล้วเร็จภายในปี พ.ศ. 2555(2012) สำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ ปละปี พ.ศ.2560(2017) สำหรับประเทศสมาชิกใหม่ 4 ประเทศ..(thailand.prd.go.th/..AJCEP ย่อมาจาก..)
            AJCEP
            เร่ิมเจรจาเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2543(2004) ผู้นำอาเซียน-ญี่ปุ่นได้ร่วมลงนามในกรอบความตกลงหุ้ส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2546(2007) ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย
            เริ่มเจรจากอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2548(2009) จนสิ้นสุดการเจรจาในปี 2550(2011) รวม 11 ครั้ง กรอบเจรจาครอบคลุม 4 ประเด็นสำคัญคือ
            - การเปิดเสรี (การค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน)
            - กฎเกณฑ์ทางการค้า (กฎว่าด้วยถ่ินกำเนิดสินค้า)
            - การอำนวยความสะดวกทางการต้า (พิธีการศุลกากร การค้าไร้กระดาษ)
            - ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในด้านต่างๆ เช่น SMEs,ICT,HR
            ความตกลงทางการค้า ลงนาม โดยประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศญี่ปุ่น ว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดอาเซียน-ญี่ปุ่น(AJCEP) เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2551
            สำหรับบรูไน ลาว พม่า สิงคโปร์ เวียดนาม และญี่ปุ่น มีผลบังคับใช้เมื่อเดือนธันวาคม 2551 สำหรับไทย มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2552
            การลดภาษีสินค้าทั่วไป ในการเปิดเสรีด้านการต้าได้มีการ กำหนดรูปแบบในการลดภาษี โดยแบ่งกลุ่มสินค้าที่จะนำมาลดภาษี ดังนี้
             - สินค้าปกติลดภาษีปกติ  สำหรับประเทศญี่ปุ่ จะต้องลดภาษีลงเป็น 0 % ภายในปี 2561 มีรายการสินึ้าประมาณร้อยละ 93 ของมูลค่าการนำเข้าจากอาเซียน และร้อยละ92 ของจำนวนรายการสินค้าทั้งหมด
               ประเทศสมาชิกอาเซียนเิม 6 ประเทศ รวมทั้ง เวียนดนาม มีรายการสินค้าประมาณร้อยละ 90 ของจำนวนรายการสินค้าทั้งหมด หรือของมูลค่าการนำเข้าจากญี่ปุ่นของแต่ละประเทศ
               สำรับกลุ่มประทเศ CLM (กัมพูชา ลาว และพม่า) มีรายการสินึ้าประมาณร้อยละ 85 ของจำนวนรายการสินค้าั้งหมด หรือของมูลค่าการนำเข้าจากญี่ปุ่นของแต่ละประเทศ    
              - สินึ้าอ่อนไหว สำหรับประเทศญี่ปุ่น กำหนดให้ลดภาษ๊ลงเหลือร้อยละ 0-5 ภายในปี 2561 จำนวนไม่เกินร้อยละ 3.8 ของมูลค่าการนำเข้า
               สำหรับสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ กำหนดให้ลดภาษีลงเหลือ ร้อบละ 0-5 ภายในปี 2561 จำนวนไม่เกินร้อยละ 3.8 ของมูลค่าการนำเข้าหรือจำนวนรายการสินค้าทั้งหมด
                สำหรับเวียดนาม กำหนดให้ลดภาษีลงเหลืรร้อยละ 0-5 ภายในปี 2561 จำนวนไม่เกินร้อบละ 8 ของมูลค่าการนำเข้าหรือจำนวนรายการสินคึ้าทั้งหมด
                สำหรับกลุ่มประทเศ CLM กำหนดให้ลดภาษีลงเหลือร้อยละ 0-5 ภายในปี 2561 จำนวนไม่เกินร้อยละ 4 ของมุลค่าการนำเข้าหรือจำนวนรายการสินค้าทั้งหมด
                สินค้าอ่อนไหวสูง สำหรับประเทศญี่ปุ่น กำหนดให้ลดภาษีลงเหลือไม่เกินร้อละ 50 ภายในปี 2561
                สำหรับสมาชิกอาเวียนเดิม 6 ประทเศ และเวียดนาม กำหนดให้ลดภาษีลงเหลือไม่เกินร้อยละ 50 ภายในปี 2566
                 สำหรับกลุ่มประเทศ CLM กำหนดให้ลดภาษีลงเหลือไม่เกินร้อบละ 50 ภายในปี 2569
                  สินค้ายกเว้น
                  สำหรับประเทศญี่ปุ่น กำหนดให้มีรยการสินคึ้าในกลุ่มนี้ได้ำม่เกินร้อยลุ  ของมุลค่าการนำเข้า
                  สำหรับสมาชิกอาเวียนเดิม 6 ประเทศ ไม่ได้มีการระบุถึงสัดส่วนของสินค้าในกลุ่มนี้
                  สำหรับกลุ่มประเทศ CLMV (กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม) กำหนดให้มีรายการสินคึ้าในกลุ่มนี้ได้ไม่เกินร้อยละ 3 ของมูลค่าการนำเข้าหรอืจำนวนรายการสินค้าทั้งหมด    
                 ในการเปิดตลาดสินคึ้าของญี่ปุ่นนั้น สินค้าร้อยละ 90 ของมูลค่าการนำเข้าของญี่ปุ่นจากอาเวียนจะลดลงเป็น 0 ทันที่ที่ความตกลงทีผลบังคับใช้ ในขณะที่ไทยไม่ไดเปิดตลาดสินค้าไปมากกว่าความตกลงหุ้นส่วนเสณาฐกิจไทย-ญี่ปุ่น ที่มีผลบังคับใช้ก่อน (วันที่ 1 พฤศจิการยน 2550)
                 สินค้าสำคัญที่ไทยได้ประโยชน์ ได้แก่ เครื่องใช้ ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ สินึาอุตสาหกรรมการเกษตรยานพาหนะ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ยางพาราและผลิตภัณฑ์ เม็ดพลาสติกและผลิตตภัฒฑ์ สินค้าประมงเครื่องจักรกลแลฃะส่วนประกอบ เลนซ์ เหล็ก เหล็กล้าและผลิตภัฒฑ์ ผลิตภัฒฑ์อลูมิเียม สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม เคมีภัฒฑ์ อัญมณี และเครื่องประดับ ไม้และผลิตภัณฑ์ผักสดแช่เย็นอช่เข็ง ผลไม่สดแช่เย็นแลแช่แข็ง และรองเท้าและชิ้นสวนหนังและผลิตภัฒฑ์
                 ความตกลงการต้าบริการและการลงทุน เร่ิมเจรจาอย่างเป็นทางการเมื่อ มีนาคม 2554 ความตกลง AJCEP มีเนื้อหาครอบคลุมการค้าสินค้าเป็นหลัก ในส่วนของการต้าบริการและการลงทุนนั้นได้มีการเปิดเสณีใน้อตกลงทวิภาคีของแต่ละประเทศอยู่แล้ว จึงได้มีการตกลงกันในกรอบกว้างๆ อย่างไรก็ตามอาเซียนและญี่ปุ่นได้กำหนดเวลาในการเจรจาบทว่าด้วยการต้าบริากรให้เสร็จ ภายใน ปี 2555 ดยจะมีการแลกเปลี่ยน draft text ก่อนที่จะมีเร่ิมต้นการเจรจาอย่างเป็นทางการ
                ล่าสุดการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอย่างไม่เป็นทางการ ครั้งที่ 18 ที่กรุงเนปิดอ ประเทศพม่า ที่ประชุมได้มีมติให้อาเวยนและญี่ปุ่นหรรือเจรจาการต้าบริการและการลงทุน อีก 1 ครั้ง ที่จะเป็นประดยชน์ด้านเศราฐกิจการต้าต่ออาเซียนและประเทศคู่เจรจา
                ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจครอลคลุมหลายสาขา ได้แก่ แระบวนการที่เกี่ยวกับการต้า สภาพแวดล้อมทางธุรกิจทรัพย์สินทางปัญญา พลังงาน ข้อมุลและทเคโนโลยีการสื่อสารร การพัฒนาทรัพยากรมนุาย์ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การท่องเที่ยว การขนสงและโลจิสติกส์ เกาษตรประมงและป่าไม้ สิ่งแวดล้อม นโยบายการแข่งขัน และสาขาอื่นๆ ตามแต่จะตกลงกัน ภมายใต้เงินสนับสนุนจากองทุน..(cks.ditp.go.th/.."ความตกลงการต้าเสรีอาเซียน-ญี่ปุ่น)
                ความสัมพันธ์ระหว่างญีปุ่นและอาเวียนนั้นเป็นในลักษณผสมผสานกันไม่ว่าจะเป็นทางด้านประวัติศาสตร์ที่อาจจะยังมีภาพในสมัยสงครามหลงเหลืออยุ่หรือในทางเศรษฐกิจที่ประสบความำสำเร็จเป็นอย่างมากจะอย่างไรก็ตามความสัมพันะ์ระหว่างฐีุ่นและอาเซียนอย่างเป็นทางกการมีความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องตั้งแต่การประกาศของนายกรัฐมนตรรีญีปุ่น ทาเคโอ ฟูคูดะในปี 1977 ในแนวนโยบาย ฤุคูดะ ซึ่งจัดได้ว่าเป็นแนวนโยยายต่างประเทศที่สำคัญของปย๊่ผุ่น โดยตมหลักการดังกล่าวได้กล่าวถึงการสร้างความสัมมพันะ์อย่างแนบแน่นกับภูมิภาคเอเชียตะวัยออกเแียงใต้ไว้ 3 ประการ คือ
                - ญี่ปุ่นจะไม่แสวงหาบทบาทของมหาอำนาจทางด้านการทหาร
                - ญี่ปุ่นจะสร้างความเข้มแข็งให้กับความสัพมันะ์ในการแลกเปลี่ยนความเชื่อมั่นแลมั่นใจบนพื้นฐานของความเข้าใจแบบตรงไปตรงมา ญี่ปุ่นจะเป็นพันธมิตรแบบเท่าเที่ยกันกับอาเซียน ทั้งยังส่งเสริมความเข้าใจระหว่างกันกับชาิตสมาชิกอาเซียน
               
 สำหรับแนวนโยบายฟูคูดะนั้น ถือได้ว่าเป็นความพยายามตร้งแรกของญีปุ่นในการปรับแนวนโยบายต่างประเทศให้มีความเป็นอิสระมากขึ้นกับภูมิภาคเอเชียตะวัยนออกฌียงใต้ภายหลังจากการถอนตัวและลดความช่วยเหลือของสหรัฐฯ ในชวงก่อนสงครามเวียดนามสิ้นสุดลง ในค.ศ. 1976 เนื่องจากก่อนที่จะออกแนวนโยบายฟูดูดะนี้นั้น ญีปุ่นมีแนวนโยบายส่วนใหญ่เอนเอียงเข้าหาตามแนวทางของชาติตะวันตกโดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกาอย่างไรก็ตามญี่ปุ่พยายามแสดงบทบาททั้งทางด้านการทูตและการเมืองระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เสมือนเป็นตัวเชื่อมระหว่างประเทศที่เป็นคอมมิวนิสต์และประเทศที่ไม่ได้เป็นในภุมิภาคนี้แต่ก็ไม่ค่อยจะได้ผลตอบรับมากนักสำหรับเรื่องนี้ เนื่องจากความพยายามที่จะใช้ความช่วยเหลือทางการเงินหรือที่เรียกว่า Official DevelopmentAssistance(ODA) เพื่อที่จะดึงดูดเวียดนามนั้นไม่ประสบผลสำเร็จ และเมื่อเวียดนามบุกดัมพูชาในเดือนธันวาคม ปี 1978 ญี่ปุ่นก็ได้มีการปรับนโยบายเป้นให้การสนับสนุอาเซียนอย่างเต็มที่ ซึ่งเป้นช่วงเดี่ยวกันกับที่อาเซียนพยายามที่จะสร้างเสถียรภาพและสันติภาพในภูมิภาคแลพยายามในการแก้ปัญหาเรื่องวิกฤตกัมพุชาที่เกิดขึ้น
               เมื่อถึงยุคสิ้นสุดสงครามเย็ในค.ศ. 1991 มีการเลปี่ยนแปลงครั้งใหญ่ทังในระดับภูมิภาคและระดับโลกความสัมพันธ์ระหว่างญีปุ่นและอาเซียนนั้นเป็นไปในทางที่ดีขึ้นทำให้ญี่ปุ่น่นมีโอกาสในการเข้ามาแสดงบทบาทในระดับภูมิภาคมากขึ้น ในวิกฤตเศรษบกิจในค.ศ. 1997-1998 เป็นตัวเร่งให่้ญี่ปุ่นเข้ามาเป้นตัวแสดงที่มีบทบาทเพิ่มมากิ่งขึ้นโดยความคาดหวังว่าญี่ปุ่นจะข้ามาช่วยเหลือทางการเงินการคลังกับประเทศในภูมิภาคที่ประสบปัฐญหาทางเศรษบกิจเนื่องมาจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำในช่วงนั้น ซึ่งญี่ปุ่นก็ได้เข้ามาให้ความช่วยเลหือทางการเงินแต่จากมุามาองของนักวิชาการแลก็ยังพบว่าญีปุ่นยังไม่สามารถที่จะใช้เหตุากรณ์นี้นการสร้างบทบาทความเป็นผุ้นำของตนเองในภูมิภาคนี้ได้อย่างแท้จริง
             แต่หลังจากแนวนโยบายฟูคูดะแล้วจุดสำตัญอื่นในความสัมพันะ์ญปุ่่นแลอาเซียนที่สำคัญได้แก่การประกาสปฏิญญาโตเกียวในค.ศ. 2003 ซึ่งได้ประกาศไว้ในการประชุมสุดยอดผุ้นำอาเซียน-ญี่ปุ่น ซึ่งปฎิญญาโตเกียวนั้นมีวัตถุประสงค์ในระยะยาวในการจัตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกขึ้นมา แต่ผลปรกฎว่าการดำเนินกาของประชาคมเอชียตะวัยออกนั้นขาดความก้าวหน้าอย่งต่อเนื่องถึงแม้ว่าในค.ศ. 2005 จะมีการปรุชมสุดยอมผุ้นำเอเชียตะวัยออก ขึนที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียนก็ตาม...
            ญี่ปุ่นกับแนวนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คำถามนี้ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก เนื่องจากถึงแม้ว่าญี่ปุ่นจะได้เข้ามาเกี่ยวของในภุมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มาหลายทศวรรษแล้วผ่านทางการต้าและการให้ความช่วยเลหือในด้านต่างๆ แต่แนวนโยบายของญี่ปุ่นในภูมิภาคนี้ยังคงไม่ชัดเจนมากนัก จนกระทั่งถึงทศวรรษที่ 1980 บรรษัทข้ามชาติใหญ่ของญีปุ่นนั้นได้เข้ามาลงทุนนภูมิภาคนี้อย่างมหาศาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากการทำข้อตกลงพลาซา ระหว่างญีปุ่นกับชาติมหาอำนาจตะวันตกซึ่งได้ส่งผลทางอ้อมในการกระตุ้นเศรษบกิจของภูมิภาคนี้โดยรวม แต่อย่างไรก็ตามการทูตของญีป่นุต่อภุมิภาคนี้ก็ยังคงถูกพิจารณาว่าเป็นในลกษระที่ยังไม่ให้ความสำคัญเด่นชัดนัก สำหรับญี่ปุ่นภุมิภาคนี้จัดได้ว่ามีผลประโยชน์ในเชิงเศรฐกิจกับญีปุ่นในการหาวัตถุดิบราคาถูกรวมถึงเป็นตลาดขนาดใหญ่ในการขายสินจ้าของตนด้วย สำหรับการเน้นการเข้ามาในเชิงเศรษฐกิจของญีปุ่นนั้นได้ส่งผลให้มุมมองของประเทศในเอเชียตะวัยออกเฉียงใต้มองญีปุ่นในเชิงลบว่าเข้ามาแวงหาประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจมากว่าจะข้ามาสร้างความเข้มแข็งร่วมกันและยิ่งปสมปสานกับปรสบการณืที่ประเทศในภุมิภาคนี้ได้รับจากการกระทำของญีปุ่นในช่วงสงคราโลกครั้งที่ 2 ที่ยังไม่ลือมเลื่อนไปจากอดีต
           สำหรับประสบการณืในการรวมกลุ่มแบบภุมิภาคนิยม ของอาเซียนนั้นเร่ิมขึ้นในค.ศ. 1967 ซ่งการรวมกลุ่มในครั้งนั้นไม่ได้สงผลกระทบต่อแนวนโยบายของญี่ปุ่นในเอเชียตะวันออกเแียงใต้ในช่วงเร่ิมต้นเท่าใดนัก เนื่องจากญี่ปุ่นในขณะนั้นได้ดำเนินแนวนโยบายตามสหรัฐฯที่ได้ประกาศแนวนโยายสิกสัน ที่ได้ประกาศในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1969 หลังจากการถอนตัวของสหรัฐฯ จากภูมิภาคอันเนื่องมาจากความพ่ายแ้ในสงครามเวยดนาม จากปัจจัยนี้เองทไใ้ญีปุ่นและอาเซียนมีความจำเป้นต้องสร้างกรอบความร่วมือในระดับภูมิภาคระหว่งกันขึ้นมา นี้เป็นเหตุผลสำคัญที่ำให้แนวควมนโยบายฟูคูดะได้ถุกเสอนขึ้น แลอีกเหตุผลเพื่อที่จะลบภาพในเชิงลบของญี่ปุ่นที่ถุกมองจากลุ่มอาเวียนว่าเปรียบเสมอน "สัตว์เสรษฐกิจ" ที่ได้กล่าวในข้าต้นมาแล้ว โดยญี่ปุ่นดำเนินนโยบายกับอาเวียในลักาณะที่ให้อาเซียนเป็นตัวขับเคลือนนโยบายสร้างความร่วมมือระหว่างกัน อย่างำรก็ดีญีปุ่นมิได้ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเศรษบกิจแต่เพียงด้านเดียว แต่ญีปุ่นยังพยายามในการแสดงบทบาททางการทูตและากรเมืองระหว่งประเทศในการเป็นตัวเชื่อมะหว่างประเทศในภูมิภาคที่เป็ฯคอมมิวนิสต์กับประเทศที่ไม่ได้เป็นคอมมิวนิสต์ซึ่งในจุดนี้ไม่ค่อยประสบผลสำเร็จเท่าใดนัก เนื่องจากสาเหตุที่ญี่ปุ่นปรับนโยายสนับสนุนอาเซียนในช่วยที่เวียดนามนั้นรุกรานกัมพุชา ญี่ปุ่นได้ร่วมกับสาธารณรับประชาชนจีน สหรัฐฯ และอาเซียนในการคัดค้านการกระทำดังลก่าวของเวียนดนามตลอดมา จากการดำเนินการอย่างตั้งใจของญีปุ่นในด้านตางๆ จะพบว่าในชวงเวลานี้สามารตอลรับได้กับการดำเนินแนวทางทางการทุตของอาเวียนในกรสร้างความเ้มแช็งให้แก่กลุ่มของตนเองโดยเฉพาะในช่วงวิกฤตการณ์กัมพูชาเป็นอย่างดี
             
 อย่างไรก็ดีในสถานการณ์ปัจจุบันในยุคหลังสงครามเย็นนั้นเป้นที่ชัดเจนว่าแนวนโยบายของญปุ่นก็มีการปรับเปลี่ยนไปตามสถานกาณืโดยปัจจัยหลักประการหนึงที่มีส่วนสำคัญในการกำหนดนโยบายของญี่ปุ่นต่ออาเวียนในปัจจุบันอันหนึ่งได้แก่การขึ้นมาเป้นมหาอำนาจคู่เข่งของจีน โดยญีปุ่นจะมีการตอบสนองกับจีนอย่างไรและข้อสรุปใดควรเป็นข้อสรุปที่นำมากำหนดนโยบายของญี่ปุ่นต่อจีนนั้นเป็นส่วนสำคัญที่ญี่ปุ่นต้องให้ความสนใจในขณะนี้ ถ้าญีปุ่นปมองว่าการขึ้นมาเป้นมหาอำนาจของจีนนั้นเป้นภัยคุกคามต่อตนเองและมอง่่าการสร้างความสัมพันธ์กับสหรัฐฯ เป็นสิงที่สามารถนำมาถ่วงดุลกับจีนได้ จากแนวคิดนี้ที่ได้รับการยอมรับจากผุ้กำหนดนโยบาคนสำคัญของญี่ปุ่นหลายท่าน ตั้งแต่อดีตนายกรัฐมนตรีนายจุนอิชะโร โคอิซูมิ นายกรัฐมนรตีคนปัจจุบันนายชินโซ อาเบ รัฐมนตรีต่างประทเศญีปุ่นนายทาโร อาโซะ โดยแนวคิดให้ความสำคัญกับสหรัฐนเป้นลำดับแรกและเอเลียเป้นลำดับต่อมาเป้นแนวทางที่ถูกวิพากวิจารณือย่างหนักว่าทำให้เกิดความขัดแย้งกับจีนอย่างหลีอเลี่ยงมิได้ รวมถึงยังไม่เป้นการส่งเสริมในการสร้างการรวมกลุ่มให้เกิดขึ้นในเอเลียตะวัยออกไดอ้ย่อางแท้จริงอีกด้วย แต่ความเป็นแนวทางที่นำสหรัฐฯ และจีนเข้ามาร่วมกันในการสร้างความเข้มแข็งให้กับภุมิภาคจะเป็นประดยชน์กว่า เนื่องจากโดยพื้นฐานอขงอความเป็นจริงนั้นการสร้างความสัมพันะ์อันดีระหว่าางหสรัฐฯ ญี่ปุ่นและจีนจะเพ่ิมมูลค่าในด้านการต้าและการลงทุนซึ่งส่งผลในเชิงบวกกับภาพรวมทางเศรษฐกิจของโลกและการทำให้จีนอ่อนแอหรือไม่มั่นคง ในทางกลับกันก็คงจะทำให้เกิดความเสียหายหรือชะลอตัวทางเสรษฐกิจโดยรวมเช่นเดียวกัน จากตัวเลขทางสถิติการต้าระหว่างจีนกับญี่ปุ่นใน ค.ศ. 2004 นั้นคิดเป็นร้อยละ 20 ของการต้าระหว่างประเทศของญี่ปุ่นโดยมีมุลค่าเกือบ 17,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ทำให้จจีนจัดได้่ว่าเป้ฯคูค้าสำคัญในลำดับต้นๆ ของญี่ปุ่น..(บทความ, "ญี่ปุ่น อาเซียน และการสร้างประชาคมเอเซียตะวันออก, สาธิน สุนทรพันธ์ุ)
           

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)