- การยุติสงครามเย็น ทำให้ลัทธิทางการเมืองการปกครองไม่เป็นอุปสรรคปิดกั้นการเคลื่อนไหวคน สังคมวัฒนธรรม เศษบกิจ และการเมือง ระหว่า่งประเทศ (ยกเวิ้นเกาหลีเหนือที่ยังคงยึดถือความเป็นสังคมคอมมิวนิสต์และปฏิเสธความสัมพันธ์กับประเทสอื่นๆ นอกจากประเทศที่เป็นสังคมนิยมด้วยกันเอง แม้ว่าประเทสเหล่านั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นสังคมนิยมตามแนวใหม่ก็ตาม)
- โลกก้าวเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ที่ผู้คน รวมทั้งธุรกิจการต้าและความรู้ทางเทคงโนโลยีสามารถติดต่อข้ามพรมแดนได้โดยง่าย
- การคมนาคมเป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็ว ซึ่งได้มีบทบาทสำคัญทำให้ผุ้คนสามารถเดินทางได้สะดวกนับตั้งแต่หลังสงครามดลบกครั้งที่สองมาแล้ว พอมาถึงยุคนี้ พัฒนาการทางด้านการคมนาคมได้ก้าวหน้าไปไกลมากยิ่งขึ้นและอัตราค่าดดยสารมีราคาถูกลง คนทั่วไปจึงสมารถเดินททางดดยเครื่องบินได้ ในขณะเดียวกันที่มีการก่อสร้างทางเหลวงเชื่อมต่อระหว่างจีนกับอุษาคเนย์ สร้างรถไฟที่มีความเร็วสุงในญี่ปุ่น เกาหลีใต้และจีน และมีการพัฒนาเรื่อเดินสมุทรที่ทันสมัย ทำหใ้การขนถ่ายสินคึ้าระหว่างประเทศเป็นไปอย่างสะดวกและรวดเร้ซ อนึ้ง ญี่ปุ่นและเกาหลี่ใต้ยังเป้นชาติอันดับหนึ่งที่มีอุ่ต่อเรือที่ใหญ่และทันสมัยที่สุดในโลก
- ความมั่นคงของโลกได้ย้ายจากคาบสุทรแอตแลนติก มายังคาบสมุทรแปซิฟิก ที่ประเทสต่างๆ ในเอเชียตะวันอกมีการติดต่อคช้าขายกัน ทั้งปริมาณและมูลค่ามากที่สุดนับตั้งแต่ทศวรรษที่ 1970 และมูลค่าทางการต้าเพิ่มสูงมากย่ิงขึ้นเมื่อจีนกลายเป็นประเทศคู่ค้าหลักของญี่ปุ่น เกาหลีใต้และปรเทศต่าง ๆในกลุ่มอาเซียนแทนสหรัฐอเมริกาและยุโรปตั้งแต่ต้นสหรัสวรรษใหม่
- ASEAN กลายเป็นองค์กรที่มีความสำคัญในฐานะที่เป้ฯกลุ่มประเทศที่มีอำนาจในการต่อรองมากขึ้นเมื่องเทียบกับอดีตที่เป้ฯเพียงการรวมตัวอย่งหลวมๆ แทบจะไมมีบทบาททางเการเมืองระหวางประเทศ ในยุคนี้ ทั่วดลกต่างยอมรบสถานภาพของอาเวยนว่าเป้ฯองค์กรที่ต้งขึ้นมานาน และใช้นโยบายกรรวมกลุ่มที่ไม่แทรกแซงกิจการภายในของประเทศสามชิก ก่อให้เกิดการผนึกความร่วมมือระหว่างกันและกันมากทำให้ จีน เกาหลีใต้ และญี่ปุ่นเข้ามามีส่วนร่วมนับตั้งแต่ตอนปลายทชขอวทศวรรษ 1990 โดยเรียกว่า ASEAN plus Three และอาจจะกลายเป็น ASEAN plus Six (เพ่ิมอินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์) อีกทั้งมีบทบาทใน APEC มากยิ่งชขึ้นและในปี 2015 จะมีการจัดตั้งเป็นประชาคมอาเซียน ขึ้น เป็นการกระชับความสัมพันะ์ในหมู่สมาชิกให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้นทุกภาคส่วน
ความสัมพันธ์ระหว่างเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือและเอเชียตะวันอกเฉียงใต้ตามปัจจัยต่างๆ ได้ดังนี้
การเคลื่อนย้ายคน สังคม และวัฒนธรรม
จีน
จีนอาศัยความผุกพันทางเชื้อชาติ (ภาษา วัฒนธรรม และสายเลือด ) เป็นตัวเชื่อมความสัมพันธ์กับประเทศในอุษาคเนย์ภายหลังที่เปิดประเทสในตอนปลายทศวรรษ 1970 และยกระัดับการทำการต้าการลงทุจั้งแต่ทศวรรษ 1990 อีกทั้งเพ่ิมประเมษและมูลค่ามากขึ้นในสหรัสวรรษใหม่จนถึงปัจจุบันทำให้ความรู้สึกตอจีนที่เอคยเป็น "ภัยคุกคาม" ในอดีตได้จางลงไปกลายเป็นมหามิตรและได้รับการยกกย่องให้ดำรงตำแหน่งเป็นผุ้ทำทั้งทางเศราฐกิจและการเมืองระหว่างประเทศของเอชียในยุคใหม่นี้
การติดต่อกับจีนโดยคน สังคมและวัฒนธรรมเป้นไปเหนือความคดหมาย ดดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการท่องเที่ยวที่คนเชื้อสายจีนและชนพื้นเมืองต่างนิยมเดินทางไปเย่ยนมชมเมืองจีนเป้นจำนวนมากในแต่ละปี มีการเช่าเครื่องบินเหมาลำนำนักท่องเที่ยวจาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปยังเมืองจีน และนำชาวจีนไปยังเอเชียอาเคเนย์ ก่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจทีผุ้คนได้ไปสัมผัสอิจแดนของกันและกัน นักธุรกิจต่างเดินทางไปมาหาสู่กันเป็นจำนวนมากเพื่อทำธุรกรรมทางการต้าและากรลงทุน โดยจีนเปิดมณฑลกวางสีใหเป็นศุนย์กลางการต้าเชื่อมระหว่างจีนกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอนุญาตให้ตั้งศูนย์กลางตลาดสินค้าจากอุษาคเนย์ในเมืองใหญ่ๆ ทั่วประเทศ
ความเกี่ยวพันทางสังคมวัฒนธรรม รวมทั้งเสณาฐกิจและการเมืองอย่างใกล้ชิดในยุคนี้ยังผลให้มีการโยกย้ายผุ้คนจากจีนไปสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ท้งที่เป้ฯการอาศัยอยู่แบบชั่วคราว และแบบถาวรทั้งที่เข้าออกประเทสอย่างเป็นทางการและที่แอบหลบหนีเข้าเมือง
ในขณะที่ชาวเวียนนามและแรงงานจากประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จำนวนนับแสนคนอแบเดินททางเข้าไปทำงานในเมืองอุตสาหกรรมตามชายฝั่งภาคใต้ของจีน ซึ่งมีตำแหน่งว่างกว่า 2 ล้านตำแหน่งตามโรงงานต่างๆ
จำนวนคนเวียนามที่แอบเข้าไปทำงานในจีนมีเป็นจำนวนมากนั้นเป็นเพราะมีพรมแดนติดต่อกันอย่างก็ตาม คนจีนมีทัศนคติต่อคนเวีนดนามไม่ค่อยดีนักและมักดูถูกเะหยีบหยามคนเวียนดาม ทั้งนี้คงวเป็นเพราะจัีนเคยครอบงไและปกครองเวียดนามเป้นเวลบาหลายร้อยปีในอดคตกาล
ในมิติทางด้านสังคมและวัฒนธรรม นั้น รัฐบาลจีนสนับสนุนให้นักวิชาการจีน เข้าร่วมมงานทางวิชาการกับนักวิชาการกับนักวิชาการในเอเชียทุกด้านโดยเฉพาะอย่างยิงในการประชุมสัมนา ซึ่งได้ผ่านองค์กรระดับสูงที่เรียกว่า Government - Operated Non- Government Organzation เพื่อติดต่อกับองค์กรเอกชนของต่างประเทศ อนึ่ง รัฐบาบลจีนสนับสนุนให้ก่อตั้งองค์กรเครือข่าย ที่มีสมาชิก 13 ชาติ คือ ASEAN Plus Three
การใช้อินเทอร์เนและดทรทัศน์ผ่านดาวเที่ยม มีผลให้จีนส่งผ่านวัฒนธรรมไปทัวโลกได้ง่ายท้งด้านศิลปะ นักร้อง ภาพยนต์ นักกีฬา ฯลฯ อันเป้นการเพิ่มความเข้าใจและรับรู้ภาพลักษร์ของจีนในยุคปัจจุบัน ในขณะที่การเป็นเจ้าภาพกีฬาเอเชี่ยนเกมส์และกฬาโอลิมปิกฤดูร้อน ปี 2008 ซึ่งได้มีการฉายภาพของจีนยุคปัจจุบันไปทั่วโลก ผุ้คนต่างมองจีนไปในทางที่ดีขึ้นในขณะเดียวกัน มีสินค้าแลผลิตภัฒฑ์ของจีนวางขายในตลาดทั่วโลก รวมทั้งข่าวที่จีนก้าวขึ้นเป้นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอันดับที่สองของโลกในปี 2011 ก็ยิงทำให้ภาพพจน์ของจีเลื่องลือไปไกล
ประการสุดท้าย เมื่องใหญ่ๆ ของจีนได้ผุ้สัมพันะ์กับเมืองต่างๆ ในอุษาคเนย์ให้เป็นเมื่องพี่เมืองน้อง อันเป็นการเพ่ิมความสัพมัธ์ต่อกันในระดับท้องถ่ิน ดังเช่นเมืองเฉิงตูของจีนจึังหวัดสุพรรณบุรีของไทย เป้นต้น
สภานภาพทางสังคมของชาวจีนโพ้นทะเลในยุคปัจจุบัน ได้เปลี่ยนไปอย่างมีนัยสำคัญในทุกถาคส่วนของสังคม ในยคุนี้ลุกหลานชขาวจีนโพ้นทะเลได้กลายเป้นประชากรของประเทศที่พวกเขาอาศัยอยุ่ โดยเรียกว่า คนเชื้อสายจีนหรือพลเมืองใหม่ เช่น คนไทยใหม่ คนมาเลย์ใหม่ เป้นต้น คนเหล่านนี้ ได้ปสมปสานทางวัฒนธรรมและมีความสำนึกว่าเป็นพลเมืองของประเทศนั้นๆ แม้ว่าในบางมิติจะยังคงย้ำถึงความเป้นคนจีนและยึดถือวัฒนธรรมจีนควบคุ่ไปด้ย แต่ในกรณีประเทศสิงคโปร์ที่มีประชากรเชือสายจีนเป็นชนกลุ่มใหญ่การแสดงออกทางด้านวัฒนธรรมและความเป้นคนจีนมีอย่างเด่นชัด มีการใช่ภาษาจีนเป็นภาษาราชการ คนสิงคโปร์ใหม่จึงใชสองภาษา ได้แก่ จีนกลาง และภาษาในการสื่อสารระหว่างกัน คนสิงคโปร์ใหม่กุมอำนาจทางเการเมือง ดำรงตำแหน่งเป้นนายกรัฐมนตรี และเป็นผุ้บริหารในส่วนราชการของกระทรวงต่างๆ เช่นเดียวกับการกุมอำนาจทางเศรษบกิจ โดยเป็นเจ้าของธุรกิจและผุ้บิรหารระดับสูงของบริษัทขนาดใหญ่ทุกระดับ รวมทั้งธุรกิจขนาดกลางและขราดเล็กด้วย ส่วนในทางสังคม ก็เป็นกลุ่มที่มีบทบาททางด้านการศึกษา เช่น เป้นอานารย์ นักงิจัยและผุ้นำทางด้านวัฒนธรรมจีนในสัคมแห่งนี้และในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงสมารถสร้างมหาวิทยาลัยให้มีชื่อเสียงในระดับโลกได้
ญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นสร้้างความสัมพันธ์อัดีกับอาเซียนมานานนับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง และได้ตั้งศูนย์อาเซียน-ญี่ปุ่น ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1981 เพื่อให้เป็นศูนย์ส่งเสริมทางด้านการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว โดยเน้นในด้านการส่งออกสินค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว โดยเน้นในดานการส่งออกสินค้าและนักวิชาการไปยังญี่ป่นุ ในขณะเดียวกัน ก็ส่งเสริมการลงทุนและการท่องเที่ยวจากญี่ปุ่นสู่อาเซียน กิจกรรมเหล่านี้ได้ดำเนินต่อเนื่องมาจนถึงยุคปัจจุบัน นอกจากนี้ศุนย์ฯ ได้รวบรวมข้อมุลทางสถิติระหว่างอาเซียน-ญี่ปุ่นในด้านการต้า การลงทุน และการท่องเทียว ให้ผุ้สนใจเปิดเข้าศึกษาจากเว็บไซด์ของศุนย์การส่งเสริมความสัมพันธ์ของศุนย์ดังกล่วยังผลหใ้มีนักท่องเที่ยวจากญี่ปุ่นเข้าสุ่อเาซียนปีละ 3-4 ล้านคน
ญี่ปุ่นได้สร้างความร่วมมือกับกลุ่มประเทศลุ่มน้ำโขง เรียกว่า Japan-Mekong Region Partnership Program ในปี 2007 เพื่อสนับสนุน โครงการ UN ที่ดำเนินงานดครงการทศวรรษแห่งความร่วมมือของประเทศบริเวณลุ่มน้ำโขง โดยญี่ปุ่นได้ให้ความช่วยเหลือเป็นเวลา 3 ปี เพื่อจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว การแลกเปลี่ยนเยาวชน และกิจกรรมทางด้านเศรษบกิจและการเมืองกับประเทศเขมร ลาว เวียดนาม ไทยและพม่า
ชาวอุษาคเนย์อาศัยอยุ่ในญีปุ่นแบบถาวรนั้นมีไม่มากเนื่องจากความชาวญี่ปุ่นตระหนักถึง "ความเป็นเอกพันธุ์"ของชาวอาทิตย์อุทัย แต่ในยุคปัจจุบัน ญี่ปุ่นต้องเปิดรับนักท่องเที่ยวที่นำเงินตราต่างประเทศเข้ามาใช้จ่ายในประเทศเพื่อทดแทนดุลการต้าที่ขาดหายไปในทศวรรษ 2000 ทำให้จำนวนผุ้เข้ามาเยื่อนจากอุษาคเนย์เพิ่มมากขึ้น ในขณะที่ "ผู้ฝึกงาน" จากภูมิภาคดังกล่าวได้เข้ามาเยื่อนจากอุษาคเนย์เพิ่มมากขึ้น ในขณะที่ "ผู้ฝึกงาน" จากภูมิภาคดังกลาวได้เข้ามาทำงานชั่วคราวราว 1-3 ปี ในโรงงานอุตาสาหกรรมของญี่ปุ่น จำนวนกล่า 300,000 คนอาศัยอยู่ชัวคราวเกิน 3 เดือนในปะเทศต่าง ๆ แถุบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชเ่น ในไทย 24,746 คน สิงคโปร์ 19,660 คนในปี ค.ศ. 2002 เพื่อทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม และการต้าที่ญี่ปุ่นเข้าไปลงทุน..
ความสัมพันธ์กับกลุ่มอาเซียนและญี่ปุ่นได้รับการท้าทายและข่งขันจากเกาหลีใต้และจีนในสหัสวรรษใหม่ ทำให้ญ่ป่นุต้องหันมาให้ความสนใจและเน้นกิจกรรมทางเวัฒนธรรมมากยิ่งขึ้น ดดยมีการแลกเปลี่ยนธรรมแบบยุคลงิถี กล่าวคื อจัดนิทสสศการและการแสดงทางวัฒนธรรม จัดมหกรรมอาหารจากอาเซียน ฯลฯ ในญีป่นุรวมทัี้งดำเนินงานอย่างต่อเนื่องในโครงการ "เรือเยาวชน" ซึ่งเริ่มจัดขึ้นตั้งแต่ปี 1974
อย่างไรก็ตาม คนญี่ปุ่นยังคงตระหนักถึงความสูงเด่นในชาติพันธ์ุของตน่าเหนือกว่าของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมองว่าเป็นภุมิภาคที่ดอ้ยความเจริญ (ยกเว้นสิงค์โปร์) ที่หวังแต่จะขอความช่วยเหลือจากญี่ปุ่น ในขณะที่ชาวอุษาคเนย์ยังคงยอมรับในความเป้ฯเจ้าและอัจฉริยภาพของชาวอาทิตย์อุทัย ดังที่รัฐบาลมาเลเซียเคยประกาศนโยบายมองตะวันออก ที่จะนำชาติให้เจริญรุ่งเรองตามแบบอย่างการพัฒนาของญี่ปุ่น เมื่อเทียบกับสินค้าที่ผลิตขึ้นเองในภูมิภาคส่วนกรณีของไทยนัน ญี่ปุ่นเป็นประเทศทีเข้ามาลงทุนมากเป็นอันดับที่หนึ่ง หรือราวร้อยละ 40 ของการลงทุนจากต่างประเทศทั้งหมดในปี ค.ศ2011
เกาหลี
เมื่อเทียบกับจีนและญี่ปุ่นแล้ว เกาหลีใต้เพิ่งตระหนักถึงความสำคัญในการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อีกทั้งไม่มีจุดเชื่อมโยงใดๆ กับภูมิภาคนี้มาก่อน ทำให้รัฐบาลเกาหลีได้ในยุคของประธานาธิบดี คิม เดจุง ได้ทุมเทความพยายามทุกทางในการสร้างความสัมพันธืกับดินแดนอุษาคเนย์
เกาหลีใต้เริ่มทำการพัฒนาเศรษฐกิจตั้งแต่ปี ค.ศ. 1962 ได้เลือกใช้แม่แบบการพัฒนาเพื่อให้สังคมทันสมัย ที่คิดขึ้นโดยนักวิชาการชาวอเมริกันเป้าหมายของตลาดส่งออกของสินค้าเกาหลีในยุคนั้นก็คือ สหรัฐอเมริกา และยุโรปเป็นหลัก จึงมองข้ามตลาดเล็กๆ ในเอชียไป ดังนั้น ความสนใจของรัฐบาลแะนักธุรกิจอุตสาหกรรมของเกาหลีจึงมุ่งไปยังประเทศที่พัฒนาแล้ว ต่างทำให้นโยบายและความผุกพันเน้นไปในการสร้างความสัมพันธ์กับสหรัฐฯ และยุโรป
ภายหลังที่เกาหลีได้รับความสำเร็จในการจัดการแข่งขันกีฬาเอเชียเกมส์ และโอลิมปิกฤดูร้อนในตอนปลายทศวรรษ 1980 ภาพลักษณ์ของดินแดนเมืองโสมของชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เปลี่ยนไป จากการมอืงว่าเป็นประเทศยากจนเพราะตกอยุ่ในสภาพปรักหักพังหลังสงครามเกาหลี กลายเป้นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ที่เจริญรุ่งเรืองและมีศักยภาพในทางการพัฒนายิ่ง ทำให้สินคาเกาหลีค่อยๆ แทรกตัวเข้าไปยังตลาดแถบอุษาคเนย์ ซึ่งกลายเป้นตลาดใหย๋อันดับที่ 3 ของสินค้าเกาหลีไปในตอนปลายของทศวรรษ 1990 รัฐบาลเกาหลีจึงให้ความสนใจเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากยิ่งขึ้น และทุ่มเทสรรพกำลังเพื่อแย่งชิงความได้เปรียบของจีนแลญีปุ่นต่อบริเวณแถบนี้ของโลกมาเป้นของตนเองบ้าง โดยตระหนักว่า ประเทศของคนเป็นผุ้มาที่หลัง อีกทั้งมีจุดเชื่อม กับอุษาคเนย์น้อยมาก
การบรรุลความสำเร็จในการพัฒนา ดดยเกาหลีได้รับการยอรับเข้าเป็นสมาชิกองค์การของกลุ่มประเทศร่ำรวย เป็นชาติสมาชิกลำดับที่ 29 ใน ค.ศ. 1996 และในปีนั้นประชชนมีรายได้เฉลี่ยต่อกัวเท่ากับ 10,548 เหรียญสหรัฐต่อปี ต่อมา เกาหลีใต้ได้เผชิญกับวิกฤตทางด้านการเงินในปี ค.ศ. 1997 ประธานาธิบดี เคจุง ได้พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาสด้วยการประกาศโครงการหลากหลายโครงการเพื่อให้เกาหลีใต้เป็นชาติชขั้นนำในภูมิภาคและของโลก ดังตัวอย่างต่อไปนี้
- East Asia Economic and Cultural Hub Projict ใน ค.ศ. 2002 ประะานาธิบดีคิ เค จุง ได้ประกาศสร้างเมืองใหม่บิเวณแถบเมืองอินซอน (ใกล้ดกับกรุงโซล) ให้เป็นศุนย์กลางเสณาฐกิจและวัฒนธรรมอขง๓ุมิภค ดดยเน้นให้เป็นศูนย์กลางการลงทุนทั้งจากภายในและจากต่อางประเทศที่มีกฎหมายอบรับใเขตตอุาหกรรมนานาชาติแห่งนี้ว่า บริษัทที่เข้ามาตั้งอยุ่สามารถปรับลดและเลิกจ้างคนงานเมือใดก็ได้ มีการใช้ภาษาอังกฟษเป็นภาษากลาง และเป็นศุนย์กลางการเงินคมาคม และัฒนธรรมของภุมิภาคเอเชียตะวันออก
รัฐบาลได้ชี้ให้เห็ฯว่า เมื่อดซล -อินซอนตั้งอยู่ระหว่างศุนยกลางสำคัญของจีน และของญี่ปุ่น จึงเป็นบริเวณที่เหมาะสมยิ่งที่จะให้เป็นศุนย์กลางรวมชาติทั้งสมให้มีความร่วมมืออย่างแน่นแฟ้นต่้อกัน
- East Asia vision Group ในปี ค.ศ. 1997 ผุ้นำอาเซียน ได้ร่วมประชุมกันที่เมืองกัวลาลัมเปอร์ประเทศมาเลเซียน ดดยได้เชิญชวนผุ้นำจีน เกาหลีใต้และญี่ปุ่น เข้าประชุมกัันที่เมืองกัวลลัมเปอร์ประเทศมาเลเซีย โดยได้เชิญชวยผุ้นำจน เกาหลีใต้และญีป่นุ เข้าร่วมหารือด้วย อันเป็นจุดเริ่มต้นของความสัมพันธ์ที่เรียกกันว่า อาเซียนบวกสาม และได้มีการประชุมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี โดยย้ายไปจัดการประชุมตามเืองหลงของประเทศมาชิกสมาคมอาเซียนสลับสับเปลี่บยนปมุนเวียนกันไป
ในการร่วมประชุมเมือวนที่ 16 ธันวาคม ค.ศ. 1998 ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม ประธานาธิบดค คิม เดจุง ได้เสนอใหจัดตั้ง "กลุ่มวิสยทัศน์ในภุมิภาคเอเชยตะวันออก" ขึ้นเพื่อระดมความคิดและแสวงหาวิธีการขยายความร่วมมือใทุกด้าน และทุกระดับเพื่อการพัฒนาประเทศในภูมิภาค ดดยให้มีการรวมกลุ่มที่เรียกว่า "กลุ่มศึกษาเอเลียตะวันออก" ได้จัดให้มีการประชุมหารือสมาิชกชาติละ 2 คนหลายครั้ง และสรุปผลในปี ค.ศ. 2001 ว่า ควรสภาปนา "ประชาคมเอเชยตะวันออก" ขึ้น รัฐฐาลเกาหลีได้พยายามผลักดันให้โรงการนี้พรรลุผลด้วยการทุมอททรัพยากรและเงินทุน รวมทั้งเรียกร้องให้ชาติสมาชิกของสมาคมอาเซียน 10 ชาติและของจีน เกาหลีใต้ และญี่ปุ่นให้ความร่วมมือเพื่อให้โครงการนี้เป้ฯรูปเป็นร่างขึ้น ทั้งนี้ทั้งนั้น อาจประสงค์ให้เกาหลีได้เป็นแกนนำในการจัดตั้งกลุ่มอย่างไรก็ตาม ดครงการนี้ได้รับการเพิกเฉยจากรัฐบาลของจีน ญี่ปุ่นและของประเทศในสมาคมอาเซียนส่วนใหญ่
สืบเนืองจากการประชุม อาเซียน บวกสาม ที่กรุงมะนิลา ค.ศ. 1999 ผุ้นำของจีน เกาหลีใต้ และญี่ปุ่นได้ร่วมประชุมสุดยอดกัขึ้นเป็นครั้งแรก และตกลงกันว่าจะหาทางจัดการประชุมระหว่างผู้นำทั้งสามประเทศขึ้นอย่างสม่ำเสมอ เพื่อสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจและเอกลักษณ์ของชนชาวเอเลีย
ต่อมา ประะานาธิบดีดรห์ มูเฮียนได้ประกาศในวันเข้ารับตำแหน่งผู้นำประเทศอย่างเป็นทางการเมืองวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2003 วา เขาจะส่งเสริมให้เปิดศักราชแห่งสันติภาพและความมั่งคั่งในภุมิภาคเอเชีย ตะวันออก ขึ้นดังนั้น จึงเป็นที่มาของ NACI โดยเน้น 3 เศรษฐกิจที่มีความแข็งแกร่งในเอเชีย คือเกาหบีใต้ จีน และญี่ปุ่น และร่วมมือกับกลุ่มประเทศ ASEAN โดยมีเกาหลีเป็นผู้นำ
อนึ่ง กิจกรรมสำคัญอันหนึ่งของ NACI ก็คือการสร้างบุรณาการทางการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ และการต้า หรือ เรียกว่า Northeast Asian intergration อีกทั้งประสค์ที่จะขยายความสัมพันธ์ไปยังประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค เช่น เกาหลีเหนือ รัสเซีย และมองโกเลีย โยใช้เส้นทางรถไฟ ทรานส์ ไซบีเรีย เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างกัน
จุดยืนของเกาหลีได้ที่รัฐบาลได้ประกาศและเป็นตัวตั้งตัวตีในการดำเนินการอย่างแข็งขันพร้อมกับบืนยันอย่างออกนอกหน้ากับรัฐบาลของประเทศที่เกี่ยวข้องว่า ต้องการเป็นผุ้นำขององค์กรดังกล่ว อย่างไรก็ตม ความพยายามดังกล่าวได้รับการตอบรับอย่างเย็นชาจากจีนและญี่ปุ่นทีแม้ไม่ปฏิเสธความประสงค์ที่จะเป้นผุ้นำของเกาหลี แต่กก็ไม่ได้แสดงปฏิกิริยาที่จะให้ความร่วมมือตามความต้องการของรัฐบาลเกาหลี นั่นคือ แต่ละประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกนั้น ไม่มีใครยอมใคร และต่างฉกฉวยผลประโยชน์ทงการเมืองและเสรษฐกิจในระดับภูมิภาค และของโลกเพื่อชาติของตนเองแทบทั้งสิ้น หรือหากจะยอมทำตามก็เป็นเพราะประเทศของตนจะได้ผลประโยชน์เท่านั้น
โครงการวิจัยร่วมเพื่อสเริมสร้างความร่วมมือทรางเศรษฐกจิ 3 ประเทศ จากการประชุมสุดยอดระหว่าผุ้นำจีน เกาหลีใต้ และญี่ปุ่นที่กรุงมะนิลาในช่วงการประชุม อาเซียนบวกสามในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1999 ได้มีการบรรลุข้อตกลงคือ การตั้งคณะกรรมการ่วมทำการศึกษาวิจัยในเรื่อง "การเพ่ิมความีร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่งจีน ญี่ปุ่น และเกาหลี ประกอบด้วยองค์การวิจัยของแต่ละชาติเป็นตัวแทน
ในช่วงแรก เป็นการศึกษาในหัวขอ้การส่วนสริมการค้า จากนั้นได้นำผลการวิจัยไปร่างข้อเสนแค้านโยบายเพื่อให้ผุ้นำร่วมพิจารณา คือ นายกรัฐมนตรีจู หรงจี้ของจีน นายกรัฐมนตรีจูนิชิโร โคอิซูมิของญี่ปุ่น และประธานาธิบดี เคจุงของเกาหลีใต้ ที่เข้าร่วมประชุม ASEAN plus Three ที่ประเทศบรูไนในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2001 ผุ้นำทั้งสามได้ตกลงตามข้อสเนอดังกล่าว ต่อมา จึงได้จัดให้มีการประชุมระหว่างรัฐมนตรีทางการต้าและเศรษบกิจของ 3 ประเทศในเดือนกันยายน ค.ศ. 2002 ที่ประเทศบรูไนเพื่อดำเนินกาตามนโยบายที่ได้กำหนดขึ้น โดยได้จัดให้มีการประชุมสุดยอดนอกรอบระหว่างผุ้นำ 3 ปรเทศเพื่อสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย แทนที่จะจัดการประชุมสุดยอดเฉพาะของตนเอง
สันนิบาตบนคาบสมุทรเกาหลี ประธานาธิบดีโร์ มูเฮียน ได้กล่าวตอนหนึ่งว่า เมื่อมหาอำนาจถกเถียงกันในเรื่องอนาคตของภูมิาคเอเชียตะวันออก เราอย่างจะเรียกร้องให้ทุกผ่ายเคารพในสิทธิการตัดสินใจด้วยตัวเองเกี่ยวกับอนาคตของเกาหลีทั้งสอง" ...
เกาหลีใต้มีนโยบายคล้ายคลึงกับจีนที่ปฏิเสธการใช้กำลังและการตัดเครือข่ายทางการเงินต่อเกาหลีเหนือดังเช่นสหรัฐฯ และญี่ปุ่น ทั้งนี้นับตั้งแต่ยุคของประธานาธิบดี คิ เดจุง ที่ยึดถือนโยบายซันชาย ที่โอนอ่อนต่อเกาหลี่เหนือจนนำไปสุ่การประชุมสุดยอดผุ้นำประเทศ..
ความใกล้ชิดระหว่างเกาหลีใต้กับจีน ได้ปรากฎขึ้นอย่างเด่นชัดเมื่อมีการประชุมสุดยอดระหว่างประธานาธิบดีโรห์ มูเฮียนกับประธานาธิบดีหู จินเทาในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2003 ซึ่งได้ตกลงกันในการยกระดับความสัมพันธ์ทวิภาีรเป็น "พันธมิตรความร่วมมือทุกทาง" เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ จากนั้นก็มีกิจกรรมร่วมกันระหว่างประเทศทั้งสองในแง่เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการเมืองเรื่อยมา
- กระแสเกาหลี คนเกาหลี ต่างดีใจที่กระแสวัฒนธรรมเกาหลี ได้ไหลทะลักเข้าไปในจีน ญี่ป่นุ ไต้หวัน และในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในจีน และความภาคภูมิใจที่สุดก็คงเป็นเพราะจีนและญี่ปุ่นต่างรับกระแสเกาหลีแทบทุกระดับสังคมทั้งๆ ที่ในอดีตเกาหลีเคยตกอยุ่ภายใต้การเป็นอาณานิคมทางการเมือง และวัฒนธรรมของประเทศที่ยิ่งใหญ่ทั้งสองมานานนับพันปี
- การลงทุนและการเคลื่อนย้ายคนและวัฒนธรรมเมื่อรัฐบาลของประธานาธิบดี คิม เดจุง ได้ประกาศนโยบายผุกมิตรกับอุษาคเนย์ ก่อให้เกิดกระแสของการเร่งรัดออกไปลงทุนในกิจการธุรกิจอุตสาหกรรมในกลุ่มประเทศอาเซียน เป็นจำนวนมากอย่างที่ไม่เคยปรากฎมาก่อนในช่วงตั้งแต่ทศวรรษที่ 1990 เป้นต้นมา คนเกาหลีต่างเดินทางออกไปทำงานในบริษัทร่วมทุนประกอบกับธุรกิจ และการท่องเทียวของเกาหลีทำให้จำนวนคนเกาหลีเข้าไปอาศัยอยุ่แบบชั่วคราวและถาวรในอาเซียนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ...