เขตการต้าเสรีอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี ลงนาม 27 กุมภาพันธ์ 2552(2009) เร่ิมลดภาษี 1 มกราคม 2553(2010) ลดภาษีเป็น 0
ในการประชุมผุ้นำอาเซียน-เกาหลี เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2003 อาเซียนและเกาหลีเป็นชอบให้จัดตั้งคณะผู้เชี่ยวชาญร่วมเพื่อศึกษาการขยายความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจและการพัฒนาระหว่างอาเซียนและเกาหลี ซึ่งรวมถึงการศึกษาควมเป้ฯไปได้ในการจัดทำเขตการต้าเสรี และกลุ่มผุ้เชียวชาญได้สรุปผลการศึกษาว่า การจัดทำเขตการต้าเสรีระหว่างอาเซียนและเกาหลีจะเพิ่มมูลค่าการต้าและการลงทุนระหว่างกัน รวมทั้งส่งผลดีต่ออาเซียนและเกาหลีในด้านอื่นๆ ด้วยในการประชุมผุ้นำอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี ครั้งที่ 8 เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2004 ณ กรุงเวียนจันทน์ สาธารณรับประชาธปิปตยประชาชนลาว ผุ้นำอาเซียนและเกาหลีเห็นขอบให้เร่ิมการเจรจาจัดทำความตคกลงเขชตกาต้าเสรีอาเซียน-เกาหลี ในช่วงต้นปี 2005 และกำหนดให้สรุปผลเจรจาภายใน 2 ปี โดยการเจรจาจะครอบคลุมการเปิดเสรีการต้าสินค้า การต้าบริการ การลงทุน และความร่วมมือทางเศราฐกิจภายในภูมิภาคอาเซียน-เกาหลี
กลไกการดำเนินการ
-จัดตั้งคณะเจรจาการต้าเสรี เป็นเวที่หารือระหว่างอาเซียนและเกาหลี และจัดตั้ง ASEAN Trade Negotiating Group (TNG) เป็นเวทีประชุมหารือระหว่างสมาชิกอาเซียน โดยมีสิงคโปร์เป็นประธารฝ่ายอาเซียน
- กำหนดกรอบและเงื่อนไขของการเจรจาการเปิดตลาดสินค้าทั้งในกลุ่มลดภาษีปกติ และกลุ่มสินค้าอ่อนไหว/สินค้าอ่อนไหวสูง
- จัดตั้งคณะทำงานด้านต่างๆ เพื่อยกร่างกรอบความร่วมมือทางเศณษฐกิจ ภาคผนวกที่เกี่ยวข้อง และความตกลงต่างๆ
- จัดตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ASEAN-Korea FTA Implementing Committee : AKFTA-IC เพื่อติดตามและดูแลการปฏิบัติตามพันธกรณีความตกลงต่างๆ ที่จัดทำขึ้นภายใต้เขตการต้าเสรีอาเซียน- เกาหลี
คณะเจรจาการต้าเสรีอาเซียน-เกาหลีสามารถสรุปกรอบความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างอาเซียนและสาธารณรัฐเกาหลี, ความตกลงว่าด้วยกลไกการระงับข้อพิพาท, และได้ลงนามในการประชุมสุดยอดอาเซียน-เกาหลี ครั้งที่ 9 เดือนธันวาคม 2005 สำหรับความตกลงว่าด้วยการต้าสินค้า อาเซียน 9 ประเทศ ยกเวนไทย สามารถตกลงกับเกาหลีในความตกลงนี้ได้แล้ว และมีการลวนามเมือเดือนสิงคหาคม 2006 โดยความตกลง TIG มีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2007 ในส่วนของการเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ นั้นอาเซียนและเกาหลี่สามารถบรรลุความตกลงได้แลว้ว ทัเ้งในเรื่องร่างข้อบทความตกลง ส่วนแนบท้ายว่าด้วยการบริการด้านการเงิน และตารางข้อผูกพันเฉพาะ ดโยทั้งสองฝ่าย ยกเว้นไทย ได้ลงนามความตกลงนี้ในระหว่างการประชุมผุ้นำอาเซียนเกาหลี เดือนพฤศจิกายน 2007 และมีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2009 ณ โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน และไทยได้เริ่มใข้บังคับกรอบความตกลงฯ ความตกลงว่าด้วยกลไกการระงับข้อพิพาท และพิธีสารฯ เฉพาะในส่วนของความตกลงว่าด้วยการต้าบริการแล้วตั้งแต่วันที่1 มิถุนายน 2009 รวมมั้งได้บังคับใช้พิธีสารการเข้าเป้นภาีของไทยในความตกลงว่าด้วยการต้าสินค้าเมื่อวันที่ 1ตุลาคม 2009 ความตกลงว่าด้วยการลงทุนเป็นความตกลงฉบบสุดท้ายที่กำหนดให้มการเจรจาจัดทำภายใต้กรอบความตกลงฯ ทั้งสองฝ่ายใช้เวลาเจรจานานกว่า 3 ปี และสามารถบรรลุผลการเจรจาเมื่อเดือนเมษายน 2009 โดยรัฐมนตรีเศรษฐกิจของท้งสองฝ่ยได้ลงนามความตกลงนี้เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2009 ทั้งนี้ความตกลงจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 กันยายน 2009
รัฐสภาเกาหลีให้ความเห็นชอบพิธีสารว่าด้วยการเข้าเป็นภาคีของไทยในความตกลงว่าด้วยสินค้าและพิธีสารว่าด้วยการเข้าเป็นภาคีของไทยใรคามตกลงว่าด้วยการบริการ เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2009 ทั้งนี้ความตกลงจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2009..(www.dtn.go.th/..เวทีการเจรจาการค้า,FTA อาเซียน-เกาหลีใต้)
รูปแบบการลดภาษี
- กลุ่มสินค้าปกติ เป็นกลุ่มสินค้าที่จะต้องลดภาณีลงเหลือร้อยละ 0 ภายใรระยะเวลาที่ได้ตกลงกันไว้โดยเริ่มลดภาษจาอัตราภาษีฐานในปี 2548(2005)
- กลุ่มสินค้าอ่อนไหว กลุ่มสินค้าอ่อนไหวสำหรบอาเซียนและเกาหลีจะมีจำนวนไม่เกินร้อยละ 10 ของจำนวนรายการสินค้าและมูลค่าการนำเข้าจากอาเซียน/เกาหลีทั้งนี้ กลุ่มสินค้าอ่อนไหวจะแบ่งออกเป็นอีก กลุ่มย่อย ได้แก่
รายการสินค้าอ่อนไหว : เกาหลีและอาเซียน 6 จะต้องลดภาษีของสินค้ากลุ่มนีลงเหลือร้อยละ 0-5 ไม่ช้ากว่าวันที่ 1 มกราคม 2559(2016) โดยเวียดนามจะต้องลดภาษีลงไม่ช้ากว่าวันที่ 1 มกราคม 2564(2021) และกัมพูชาพม่า และลาวจะต้องลอภาษีลงไม่ช้ากว่าวันที่ 1 มตราคม 2567(2024)
รายการสินค้าอ่อนไหวสุง : เกาหลีและอาเซียน 5 จะมีสินค้ากลุ่มนี้ได้ไม่เกินร้อยละ 3 ของจำนวนรายการสินค้าทั้งหมดและมูลค่าการนำเข้าจากอาเซียน/เกาหลี โดยไทยจะมีได้ไม่เกินร้อยละ 3 ของรายการสินค้าและไม่เกินร้อยละ 4 ของมูลค่าการนำเข้าจากเกาหลีเวียดนามจะมีได้ไม่เกินร้อยละ 3 ของรายการสินค้า และกัมพูชา พม่า และลาว จะมีสินค้าได้ไม่เกินร้อยละ 3 ของรายการสินค้า..
- การลดภาษีต่างตอบแทนสำหรับสินค้าอ่อนไหว ในความตกลงว่าด้วยการต้าสินค้าระหว่างอาเซียน-เกาหลี ได้กำหนดข้อบทการลดภาษีต่างตอบแทนเช่นเดียวกับที่ปรากฎในความตกลงอาเซียน-จีนโดยอาเซียนและเกาหลีตกลงให้ประเทศผู้ส่งออกสามารถได้รับสิทธิการลดภาษีต่างตอบแทนสำหรับสินค้าอ่อนไหว เมื่ประเทศผุ้ส่งออกลดอัตราภาษีศุลการของสินค้าที่อยู่ในกลุ่มสินค้าอ่อนไหวลงเหลือร้อยละ 10 หรือต่ำกว่า โดยประเทศผุ้นำเข้าจะเรียกเก็บภาษีนำเข้าสำหรัีบสินค้าดังกล่าวในอัตราตามที่กำหนดไว้ในตารางการลิภาษีของประเทศผุ้ส่งออก หรืออัตราที่กำหนดสำหรับสินค้ากลุ่มลดภาษีปกติของประเทศผุ้นำเข้าในพิกัดเดียวกัน ขึ้นอยุ่กับว่าอัตราใดสุงกว่าอย่างไรก็ตา อัตราดังกล่าวจะต้องไม่สูงกว่าอัตราที่เรียกเก็บทั่วไปของประเทศผุ้นำเข้า ยกเว้นสินค้าในกลุ่ม E ของายการสินค้าอ่อนไหวสุงจะไม่ได้รับสิทธิในกาลดภาษีต่างตอบแทน
กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า สินค้านำเข้าที่จะห้รับสิทธิพิเศษทางภาษีอากรภายใต้ความตกลงฯจะต้องเป็นสินค้าที่ได้รับถิ่นกำเนิดสินค้าตามกฎเกณฑ์ของกฎว่าด้วยถ่ินกำเนิดสินค้าที่กำหนดไว้เท่านั้น
สินึ้าที่ถือว่ามีถิ่นกำเนิดในประทเศามาชิก AKFTA จะต้องเป็นไปตามกฎดังนี้
- เป็นสินค้าที่ผลิตหรือใช้วัตถุดิบทั้งหมดในประเทศผุ้ส่งออก หรือ
- หากเป็นสินค้าไม่ได้ผลิตหรือใช้วัตถุดิบทั้งหมดในประเทศผุ้ส่งออกจะต้องเป็ฯสินค้าที่ผลติตามกฎเกณฑ์ทั่วไป โดยเป็นกฎทางเลือกระหว่าง สินค้าที่ผลิตในประทเศภาคี โดยมีสัดส่วนมุลค่าวัตถุดิบในประเทศภาคีไม่ต่ำกว่าร้อยละ 40, เป็นสินค้าที่ผลิตในประเทศภาคีโดยมีการเปลี่ยนแปลงพิกัดอัตราศุลกากรในระดับ 4 หลัก
- นอกจานี้ จะมีกฎเกณฑ์การได้ถ่ินกำเนิดเฉพาะสินค้า สำหรับสินค้าบางรายการ โดยสินค้ากลุ่มนี้ไม่สามารถได้ถิ่นกำเนิดตามกฎเกณฑ์ทัวไป ได้แก่ บางรายการของกลุ่มสินค้าเกษตร สินค้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม และสินค้าอื่นๆ ทั้งนี้ การพิจารณราถิ่นกำเนิดสินคึ้ายังมีเกณฑ์ือ่นๆ อีก...
หลักการเฉพาะเพื่อส่งเสริมการต้าภายใต้ความตกลง เนื่องจากากรต้าในปัจจุบันมีการซื้อขายโดยผ่านพ่อค้าคนกลาง หรือประเทศคนกลางที่มีสินค้าส่งผ่าน มากยิ่งขึ้นความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลี จึงกำหนดหลักการเพื่อส่งเริมการต้าแบบผ่านคนกลางดังนี้
- การออกหนังสือรับรองถ่ินกำเนิดสินค้าแบบ Back-to-Back CO โดยทั่วไป สินค้าจะได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร จะต้องได้ถ่ินกำเนิดจาประเทศผู้ผลิต ตามกฎว่าด้วยถ่ินกำเนิด และมีหนังสือรับรองถ่ินกำเนิดสินค้า กำกับในการส่งออก พร้อมด้วยใบกำกับราคาสินค้า และเอกสารการขนส่ง เมื่อประเทศผุ้นำเข้าได้รับสินค้า จะตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารที่มาพร้อมกับสินค้า จึงจะได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรขาเข้า ในกรณีที่ประเทศผุ้นำเข้าต้องการส่งออกสินค้าที่นำเข้าจะไม่สามารถออกหนังสือรับรองฯได้อีก เนื่องจกาสินค้านั้นไม่ได้ผลิตภายในประเทศตน
เมื่อการค้าในปัจจุบันมีรูปแบบที่เปลี่ยนแปลงไป คือ กาต้าตรงระหว่างผุ้ผลิตและผุ้ั่งซื้อ เร่ิมีพ่อค้าคนกลางเข้ามาเกี่ยวข้องโดยเป้นผุ้ประสานระหว่างผู้สั่งซื้อและผุ้ผลิต ดังนั้น ความตกลง AKFTA จึงออกแนวปฏิบัตเพื่อรองรับรูปแบบการต้าที่เปลี่ยนแปลงไปนี้โดยยอมให้ประเทศพ่อค้าคนกลางเหรือประเทศคนกลาวที่สินค้าส่งผ่าน สามารถออก Form AK ฉบับที่ 2 เพื่อกำกับสินค้าที่ส่งออกต่อ โดยต้องคงรายละเอียดในเรื่องถ่ินกำเนิดสินค้าเดิมสินคึ้าเดิมไว้ เรียกว่าเป็นการออกหนังสือรับรองสินค้า แบบ Back to Back ในการนี้ประเทศคนกลางที่สินค้าส่งผ่านสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมุลและราคา FOB ของสินค้าได้โดยประเทศคนกลางที่สินค้าส่งผ่านต้องเป็นสมาชิกในความตกลงเท่านั้น
- หลักปฏิบัติในการส่งออกโดยใช้ Third Country Invoicing เป็นหลักการเพื่อสนับสนุนการต้าผ่านคนหลางเช่นกัน ตามกฎของหลักากรนี้ ผุ้ส่งออกส่งสินค้าจาประเทศผุ้ผลิต ตรงไปยังประเทศผุ้นำเข้าโดยไม่ผ่านประเทศคนกลาง(ประเทศที่สาม) แต่ผ่อนปรนให้ศุลกากรในประเทศผุ้นำเข้า สามารถยอมรับเอกสารใบกำกับสินค้า ที่ออกโดยประทเศที่ 3 โดยราคา FOB ในใบกำกับสินค้าฉบับ Third Country อาจแตกต่างจากที่ระบุใน Foam AK ของสินค้านำเข้านั้นได้
- ความแตกต่างระหว่าง Back to Back CO และ Third Country Invocing ประเด็นที่ Third Country Invoicing เหมือนกับ Back to Back คือ ประเทศผุ้นำเข้าปลายทางต่างไม่รู้ราคาต้นทุนสินค้าที่ขายจากประเทศผุ้สงออกเนื่องจากประเทศคนกลางสามารถปลี่ยนราคาสินคค้าใน ฟอร์ม ได้แต่ประเด็นที่แตกต่างกันคือ ฺBack to Back ประเทศคนกลางต้องเป็นประเทศในภาคีความตกลง แต่ Third Country Invoicing ประเทศคนกลางอาจอยุ่ในหรือนอกความตกลงก็ได้...(คุ่มือการใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้าภายใต้ความตกลง อาเซียน-เกาหลี)
การจัดทำความตกลง FTA อาเซียน-เกาหลีใต้ คาดว่าจะช่วยให้สินค้าส่งออกของอาเซียนรวมทั้งไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันด้านราคาที่ดีขึ้นในเกาหลีใต้ โดยเฉพาะการแข่งขันกับสินค้าราคาถูกจากจีนที่แย่งส่วนแบ่งตลาอของอาเซียนในเกาหลีใต้ในช่วงที่ผ่านมา(2545-2549) และคาดว่าจะส่งผลให้ส่วนแบ่งตลาดสินค้าของอาเวียนในเกาหลีใต้เพิ่มขึ้น เนื่องจากภายใต้ความตกลง FTA อาเวียน-เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ต้องยกเลิกภาษีศุลกากรสินค้าในสัดส่วนร้อยละ 90 ของรายการสินค้าทั้งหมดที่เกาหลีใต้นำเข้าจากอาเซียนภายในปี 2553 สำหรับไทย ผุ้ประกอบการไทยควรเร่งเตรียมความพร้มเพื่อใช้ประโยชน์จากความตกลง FTA อาเซียน-เกาหลีใต้ ซึ่งการเจรจาเปิดตลาดสินค้าระหว่างไทยกับเกาหลีใจ้ได้ข้อยุติแล้ว คาดว่าจะเริ่มลดภาษีภายใต้ FTA ได้ภายในปี 2551 หลังจากที่อาเวียนอื่นๆ เร่ิมใ้ประโยชน์จากการเปิดตลาดของเกาหลีใต้ภายใต้ FTA ไปก่อนแล้วในช่วงกลางปี 2550
ด้านการลงทุนของเกาหลีใต้ในอาเซียน การลงทุนโดยตรงของเากหลีใต้ในอาเวียนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากปัจจัยที่สนับสนุนที่สำคัญ ได้แก่
- สิทธิประโยชน์ด้านภาษีศุลกากรสำหรับการต้าภายในอาเวียนตมความตกลงเขตการต้าเสรีอาเซียน ที่ทำให้เกาหลีใต้เล็งเห็นถึงผลดีของแารเข้ามาลงทุนในอาเวียน และสามารถนำเข้าวัตถุดิบหรือส่วนประกอบจากอีกประเทศอาเซียนหนึ่งได้โดยเสียภาษีในอัตราที่ต่ำ ภายใต้กรอบ AFTA
- การเปิดเสรีด้านกาต้าสินค้าและภาคบริการในกรอบความตกลง FTA อาเซียน-เกาหลีใต้ ที่ส่งผลให้การนำเข้าวัตถุดิบ/กึ่งสำเร็จรูปและสินค้าทุนจากเกาหลีใต้เขาอาเวียนมีอัตราภาษีต่ำลงภายใต้การเปิดเสรีด้านสินค้าระหว่างอาเซียนกับเกาหลีได้นอกจากนี้ เกาหลีใต้สามารถขเ้าไปจัดตั้งฑุรกิจบริการในอาเซียนได้มากขึ้น เช่น บริการด้านการศึกษา สุขภาพ และท่องเที่ยว จากการลดกฎระเบียบ/เงือนไขของอาเซียนตามข้อตกลงเปิดเสรีภาคบริการระหว่างอาเซียนกับเหาหลีใต้..(www.kasikornresearch.com/..จับตาเกาหลีใต้ใช้ประโยชน์จาก FTA : ขยายการลงทุนในอาเซียน-ไทย,กระแสทรรศน์ฉบับที่ 2029)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น