การค้าและการลงทุนของจีน เกาหลีใต้และญีปุ่่นต่ออาเซียนมีลักษณะเป็นแบบพหุภาคี ที่ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือต่างแข่งขันแย่งชิงตลาดตลาดอาเซียนอย่าเข้มข้นด้วยกานำนโยบายเชิงรุก เพื่อให้ได้รับประฌยชน์สูงสุดแก่ประเทศของตน ในทางกลับกัน อาเซียนต่างมีความเป็ฯอิสระและเปิดทางให้ เศรฐกิจที่แข็งแกร่งกว่าเข้าครอบงำ ก่อให้เกิดเป็นความสัมพันธ์ที่ไม่เท่าเที่ยสกัน ขึ้นดังตัวอย่างเช่น ญีปุ่นลงุทนในไทยมากกว่าร้อยละ 40 ของกาลวุทนจากต่างประเทศทั้งหมดทำให้ญีปุ่นเข้าครอบงำเศรษบกิจของไท และเป็นผลให้เกาหลีใต้หันไปลงทุนในเวียนนามและอินโดนีเซียนนที่ญี่ปุ่นมีอิทธิำลน้อยกบาวและเป็นประเทศที่มีแรงงานราคาถูกกว่าแม้จะมีปัจจัยพื้นฐานด้อยกว่าก็ตาม ส่วนจีนสร้างความสัมพันธ์กับคนเชื้อสายจีนในทุกหประเทศของอาเวียนใช้เป้นสายใยเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจและพาณิชยกรรมกับอาเวียน อนึ่ง ญีปุ่นแลเกาหลีใต้ต่างใช้มาตรการทั้งทางภาษีและมิใช้ภาษีอากร ใการปกป้องตลาดภายในของตนกีดกันสินค้าทางการเกษตรจาประเทศอื่น รวมทั้งไทย ทำให้การส่งสินค้าไปขายยังเกาหลีเต็มไปด้วยความยากลำบาก
ความรุ่งโรจน์ของจนในยุคใหม่ ในยุคแรกที่เปลี่ยนการปกครองเป็นคอมมิวนิสต์ ในปี ค.ศ. 1949 เหมา เจ๋อตุงและคณะรัฐบาลซึ่งเป็นผุ้นำรุ่นที่หนึ่งได้นำประเทศไปสู่ควาเท่าเทียมกันด้วยการยึดปัจจัยการผลิตมาเป้นของรัฐและยึดทรัพย์สินคขจองคนร่ำรวยและชนชั้นกลางมาแ่งปันให้คนในสังคมทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ในยุคนั้น สังคมจีนเป็นสังคมเกษตรกรรม ผุ้นำให้ความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจในชนบท ยกระดับวัฒนธรรมของชาวนาชาวไร่ และใช้อุดมการ์ของลัทธิคอมมิวินสต์ในการบริหารประเทศอยางจริงจัง ในการเกลี่ยความเจริญจาเหมืองไปสู่ชนบทนั้น ..ลดความแตกต่างระหว่างผุ้ใช้แรงกายกับผุ้ใช้แรงสมองให้น้อยลงส่งเสริมและผลักดัน "ระบบความรับผิดชอบ" และเน้นใหคนทำงานรู้สึกสำนึกถึงส่วนได้ส่วนเสียในการทำงาน..
ประวัติศาสตร์ของจีนตั้งแต่พรรคคอมมิวนิสต์เข้าบริหารประเทศ นั้น ปรากำหว่า ในด้านนหนึ่งสมารถนำประชาชนพัฒนาประเ?สไปตามระบบสังคมนิยม สร้างสรรค์เศรษบกิจแบบสังคมนิยมจนเจริญรุดหน้าไปในอัตราที่เร็วพอสมควร มีรากฐานด้านอุตสาหกรรมเป็นปึกแผ่น และมีเกษตรกรรมที่พอจะเลียงตัวงเองได้ ตลอดจนมีวิทยาศาสตร์และวัทยาการด้านการป้องกันประเทศค่อนข้างก้าวหน้าา ทั้งระเบิดนิวเคลียร์และเครื่องบินรบ และมีเกียรติภมูิทางสากล แต่อกด้านหนึ่งนั้น ประชานเกือบทั้งประเทศกลับมีชีวิตอยุ่อย่างยากจน มีรายได้ต่อหัวต่ำ ระดับการศึกษาไม่สูงขาความรุ้ความเข้าใจในเร่องต่างประเทศอย่างถูกต้อง ประสิทธิภาพการทำงานต่ำ เทคโนโลยีในการผลิตล้าหลัง และที่สำคัญคือเป็นเครื่องมือในการรณรงค์ทางการเมือง ประชาชนจนถุกปลุกระดมขึ้นมา ร่วมกันสร้างสรรค์สังคมนิยมอย่างคึกคัก..แต่ต่อมาเมือก้าวเข้าสู่ระยะก้าวกระโดดใหญ่ที่มุ่งจะให้จีนเป็นสังคมคอมมิวนิสต์อย่างรวดเร็ว และเริ่มมีการรณรงค์ทางการเมือง จึงมีการจำกัดอำนาจของฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยกับแนวคิดนี้จนกระทั่งพัฒนากลายมาเป้ฯ "การปฏิวัติวัฒนธรรมแห่งชนชั้นกรรมาชีพ"...ภายหลังอสัญกรรมของเหมา เจ๋อตุง ผู้นำรุ่นที่สอง เติ้ง เสียวผิง ซึ่งประกาศวาทะว่า "ความยากจนไม่ใช่สังคมนิยม" ความเท่าเทียมกันแบบยากจนเท่าๆ กัน ไม่อาจเรียกว่าเป็นสังคมนิยมที่จะก้าวไปสู่สังคมคอมมิวนิสต์ที่อุดมสมบูรณืได้" และ "ไม่ว่าแมวจะสีดำหรือสีขาว ขอให้จับหนู่ได้ก็เป็นพอ" เติ้ง เสี่ยวผิง จึงดำเนินการปฏิรูปประเทศตามนโยบายสี่ทันสมัย กล่าวคือ การพัฒนาจีนให้เป็นสังคมทันสมัยสี่ด้านได้แก เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การทหาร และวทิยาศาสตร์และ เทคโนโลยี หรือที่เรียกกันว่า "สังคมนิยมแบบจีน"
การปฏิรุปขยายไปถึงการต้าและกาลงทุนกับต่างประเทศ ปี ค.ศ. 1979 จีเปิดเขตเศราฐกิจพิเศษขึ้น 4 แห่ง คือ เซินเจิ้น จูไห้ ซ่านโถวหรือซัวเถา และเซียนเหมิน อนุญาตให้นักลุงทนุชาวต่างประเทศเข้าไปลงุทน ตั้งโรงานและกิจการทางการต้าหลากหลายประเภทต่อมา ใน ค.ศ. 1984 ได้เปิดอี 14 หัวเมืองชายฝั่งตั้งแต่เหนือจรดใต้โยหใ้มีบทบาทคล้ายกับเขตเศรษบกิจพิเศษรุ่นแรก อีกหนึ่งปีต่อมาได้เปิดเขตสามเหลี่ยนมปากแม่น้ำแยงซีเกียง ปากแม่น้ำจูเจียง และดินดอนสามเหลี่ยมทางตอนใต้ของมณฑลฟูเจี้ยน (ฮกเกี่้ยน) ขึ้นเป็นเขตเศษกบิจเปิด...
กลุ่มผุ้นำรุ่นที่สาม เจียง เจ๋อ หมิง ได้ผลักดันประเทศให้ก้าวไปสู่การเป็นประเทศสังคมนิยม ที่มีความรุ่งโรจน์ทางเศรษฐกิจต่อไปตามนโยบาย "สามตัวแทน" หมายความว่า พรรคคอมมิวนิสต์ต้องเป็นตัวแทนของพลังการผลิตที่ก้าวหน้า เป็นตัวแทนของวัฒนธรรมที่ก้าวหน้า และเป้นตัวแทนของผลประโยชน์ของมวลชนจีน แนวคิดสามตัวแทนนี้เปิดโอกาสให้พรรคคอมมิวนิสต์รับนักธุรกิจภาคเอกชนผุ้ประกอบการ และพนักงานระดับสุงของบริษัทเข้ามาเป็นสมาชิกพรรค ทำให้ฐานอขงพรรคหว้างยิ่งขึ้นในขณะที่นายกรัฐมนตรีจู หลงจี้ ผุ้ที่ได้รับฉายาวา "ซาร์แห่งเศรษฐกิจ" ได้สานต่อการปฏิรุปทางเศรษฐกิจของเติ้ง เสี่ยวผิง
กลุ่มผู้นำรุ่นที่ สี่ นาย หุ จินเทา เป็นประธานาธิบดี ได้เน้นการนำวิทยาศาสตร์มาใช้ในการพัฒนา กระจายการลงทุนและรายได้ไปยังภาคตะวันตกให้เจริญทัดเทียมกับภาคตะวันออก เนนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ทำให้ในช่วงต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 21 ประเทศจีนมีการขยายตัวทางเศณษฐกิจอย่างรวดเร็ว ได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ฤดูรอน ปี 2008 กลายเป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจของเอเชีย และแซงหน้าญี่ปุ่นขึ้นเป้ฯมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอันดับที่ 2 ของโลกในปี 2011
เกาหลีใต้ : กระแสเกาหลีเจิดจ้า นับตั้งแต่ปี 1962 เกาหลีใต้มีเป้าหมายการพัฒนาที่จะให้ประเทศเป็นสังคมอุตสาหกรรม โดยประธานาธิบดี จุงฮี ผุ้ซึ่งประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่หนึ่ง ปรับใช้นโยบาย "การมองไปสู่ภายนอก" ที่เน้นการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมที่ใช้แรงานมากเพื่อการส่งออก มีการใช้ลัทธิชาตินิยมปลุกระดมมวลชนให้เร่งรัดการพัฒนาและจูงใจให้ขยันขันแยงในการทำงาน ดดยรัฐผลักดันให้คนทำงานหนักสามารถเลื่อนชั้นทางสังคมได้อย่างรวดเร็ว ัฐและราษฎร์ร่วมกันหาตลาอขายสินค้าในต่างประเทศ และสร้างภาพพจน์เกาหลีได้ให้เป็นที่ชื่อนชอบแก่คนทั่วโลก เป้นต้น การพัฒนาของประเทศได้ดำเนินไปยอ่่างอต่อเนื่องเรื่อยมานับเป็นเวลาหว่า 40 ปี โดยไม่เปลี่ยนเป้าหมายและนโยบาย จะมีก็เพียงแต่เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมหนักและเคมีภัณฑ์ ในทศวรรษที่ 1970 และุอุตสาหกรรมเทคโนโลยีทางการสื่อสารในตอนปลายทศวรรษที่ 1980 ทั้งนี้ท้งนั้น ก็คือ มุ่งมัี่นที่จะให้เมืองโสมชาวเป็นประเทศชั้นนำของโลกให้ได้นันเอง
ด้วยเจตนารมณืัอนแน่วแน่ ประกอบกับการมีเป้าหมายที่ชัดเจน สภาพทางเศรษฐกิจของสาธารณรัฐเกาหลีไใต้ทะยานขึ้นแบบก้ายกระโดย จากากรเป็นประเทศที่ยากจนข้นแค้นอันเป็นผลมาจาการดูดดึงทรัพยากรและความมั่งคั่งโดยผุ้ปกคอรงอาณานิคมชาวญีปุ่น และการพังพินาศอยางสิ้นเชิงใช่วงสงครามเกาหลี กลายเป้นสังคมที่มีศักยภาพโดดเด่น เป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ในทศวรรรษที 1980 ผุ้คนต่างดีใจที่ประเทศของตนก้าวล้ำนำหน้าสมกับความานะพากเพียร ขยันทำงานแบบหามรุ่งหามค่ำ จนได้รับเกี่ยรติให้จัการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ในปี ค.ศ. 1986 และกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนใน ค.ศ. 1988 อีกทั้งได้รับการยอมรับเข้าเป็นสมาชิกอขงกลุ่มประเทศพัฒนา OECD - Orgranization for Economic Cooperation and Development ในปี ค.ศ. 1996 และเศราฐกิจที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 11 ของโลก ตลอดจนเป็นที่คาดหมายกันว่า ในศตวรรษที่ 21 เกาหลีใต้จะกลายเป็นชาติชั้นแนวหน้าในหมุ่ประชาคมโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไม่น้อยหน้ากว่าญีปุ่่นที่เป็นศัตรูคู่แค้นอีกต่อไป
เศรษฐกิจของเกาหลีสะดุดลงเมื่อเกิดวิกฤตทางด้านเศรษบกิจใปี 1997 จึงกุ้เงินฉุกเฉินจาอองค์กรการเงินระหว่างประเทศ IMF เป็นจำนวนว 20 พันล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาเพื่อใช้เป็นเงินทุนสำรองของประเทศ และต้องกู้เพิ่มต่อไปอีกจนมียอดเงินกุ้รวมถง 57 พันล้านเหรียญ ความโกลาหลจึงเกิดขึ้นทั่ววไป รัฐบาลได้พยายามแก้ไขปัญหาจนกระทั่งเหตุการณืร้ายได้บรรเทาเบาบางลง อีกทั้งได้เปลี่ยนวิกฤตให้เป็นโอกาส ผลักดันโครงการพัฒนาอุตาสหกรรมวัฒนธรรม อุตสาหกรรมไอที และอุตสาหกรรมเทคโนลโลยีทางชีวภาพ ภามนโยบาย "Dynamic Korea 21"
นายโรห์ มุเฮียน เป็นผุ้เปลี่ยนแนวทางการพัฒนาของประเทศที่เคยใช้เกือบครึงทศวรรษ โดยเน้นการพัฒนาที่ยึดความเปนธรรมทางสังคม มากกว่าการเน้นเฉพาะความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจเทานั้น รายได้ต่อหัวของคนเกาหลีเพิ่มขึ้นเปน 2 เท่าในขณะเดียวกันได้เพิ่มวบประมาณด้านการวิจัยพลังงาน/สิงแวดล้อมพัฒนาราว 12.5 ล้านเหรียญในอุตสาหกรรมหลักพื้นฐานสี่ประเภท คือ ไอที เทคโนดลยีชีวภาพ พลังงาน/สิ่งแวดล้อม และเครื่องบิน และได้เน้นอุตสาหกรรมสำหรับอนาคต อีก 10 ประเภท
การส่งออกได้เพ่ิมขึ้น โดยตลาดจีนกลายเป็นตลาดใหย่ที่สุดของเกาหลีแซงหน้าตลาดสหรัฐฯ อัตราการผลิตของโรงานอุตสาหกรรมเพ่ิมขึ้นเป็นร้อยละ 81.1 และในปี 2005 ผลผลิตมีอัตราเพิ่มร้อยละ 7.4 ซึ่งถือว่าสุงที่สุดในรอบ 78 เดือน
ปี 2007 นายลี มยองบัง อดีต CEO ที่ได้รับความสำเร็จของบริษัทชั้นนำ เป็นประธานาธิบดี นายลี ได้นำนโยบายอนุรักษ์นิยมกลับมาใช้ ประกาศใช้นโยบายหาเสียงโดยยึดแนวอนุรักษ์นิยม นายลีได้ดำเนินการตามนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจที่ได้ให้คำมั่นสัญญากับประชาชนในตอนหาเสียนงรื่อยมาตลอดช่วงเวลาของการดำรงตำแหน่งผุ้นำประเทศ 5 ปี ท่ามกลางความผันแปรและวิกฤตเศรษฐกิจโลกที่เรียกว่า "แฮมเบอร์เกอร์ ไครซิส" ผลสัมฤทะฺ์ที่ได้รับดังปรากฎในปีสุดท้ายของการเป็นประธานาธิบดี ของเขาก็คือ เกาหลีใต้มีอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ยเพียงปีละ 4-4.5 % ประชากรมีรายได้ต่อหวราว 20,000 เหรียญสหรัฐฯต่อปี และขนาดเศรษฐกิจของประเทศอยุ่ในลำดับที่ 13 ของโลก ซึ่งต่ำหว่าเป้าหมายของนโยบายหาเสียงเป็นอย่างมาก
สภานการณ์ญี่ปุ่น : อาทิตย์อัสดง ญี่ปุ่นเปิดคริสต์ศตวรรษใหม่ด้วยสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมทีไม่่อยสดใสนัก ทั้งนี้เป็นเพราะมีปัญหารุมเร้าตลอดช่วงตอนปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงในทุกภาคส่วน แต่เนหื่องจากเป็นชนชาติที่มีรากฐานทางวัฒนธรรมดั้งเดิมที่เข้มแข็งมีประวัติาศตร์และอารยธรรมสูงเด่นนามนับพันปี ทำให้รากเง้าวัฒนธรรมที่เก่าแก่ยังปรากฎให้เห็นในแทบทุกส่วนของการดำรงชีวิต แม้จะเปลี่ยนไปบ้างตามกระแสโลกาภิวัตน์และปัญหาที่เกิดขึ้นรอบข้างก็ตาม
ปัญหาหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ทำให้เกิดการล่มสลายของสถาบันการเงินในญ๊ปุ่น เริ่มจากการล้มของธนาคารโตโยโซโก ในเดื่อนเมษายน ค.ศ. 1992 ติดตามมาด้วยการล้มของะนาคารโตโยชนิคินในเดืนอตุลาคมปีเดียวกัน เมือเวลาผ่านไป ความรุนแรงและจำนวนสภาบันที่ล้มก็เพ่ิมมากขึ้นในปี 1995 สภาบันการเงินหลายแห่งล้มลง..ประชาชนทั่วไปตระหนักถึงความรุนแรงของปัญหาหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ และใเดือนพฤศจิกายน 1997 จากการล้มของธนาคารฮอกไกโดทะคุ โชคุ ซึ่งเป้ฯหนึ่งในธนาคารใหญ่ในเมืองหลักที่มีสาขาทั่วประเทศ และบริษัทหลักทรัพย์ยะมะอิจิจซึ่งเป็นหนึงใน 4 บริษัทหลักทรัพย์ยักษ์ใหญ่ของญีปุ่น ส่งผลให้ระบบการเงินญี่ปุ่นโยรวมตกเข้าสุ่ภาวะวิกฤตอย่างรุนแรง ยิ่งไปหว่านั้น 2 ใน 3 ของธนาคารเพื่อสินเชื่อระยะยาวของญี่ปุ่นก็มีหนี้สุเกินสินทรัพย์และต้องตกอยู่ในความดุลแของรัฐเป็นการชั่วคราว
ผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นมานานนับ 10 ปี และยังไม่มีทีท่าว่าจะฟื้นตัวในปี 2002 อีกทั้งยังคงสภาพนี้ต่อไปอีกลายปี ได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรมในวงกว้าง
ญี่ปุ่นได้ก้าวพ้นยุควิกฤตทงเศรฐกิจในทศวรรษที่ 1990 มาได้ ทำให้อัตราความเจริญเติบโตเป็นบวกนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 2004 เป็นต้นมา เป้นสัญญาณว่า ญ๊่ป่นุเริ่มฟื้นตัวและยังครอบตรองความเป็นมหาอไนาจทางเศรษฐกิจของโลกอันดับที่ 2 อยู่ต่อไป พ้อมกันนี้ความนิยมในการบริโภคสินค้าญี่ปุ่น เป็นไปอย่างกว้างขวาง เช่น รถยนต์โตโยต้า ซันโยเป็นต้น โดยได้สร้างผลกำไรให้แก่บริษัทเพิ่มสูงขึ้นทุกปี อันส่งผลให้ค่าเงินเยนสูงขึ้น ในขณะที่สินค้าอื่นต้องแข่งขันกับสินค้าที่ผลิตจากประเทศอื่น ปี 2008 ี่ปุ่นส่งออกได้ชะลอต้วลง และอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจลดลง
การฟื้นตัวอย่างเชื่องช้าภายหลังที่เกิดวกฤตเศรบกิจที่เรียกว่า "ทศวรรษที่หายไป" และโหมกระหน่ำให้เกิดปัญหาทางการเมืองที่ต้องเปลี่ยนรัฐบาลเกือบทุกปีใรตอนปลายของทศวรรษ 2000 ส่งผลให้หลุดจากากรเป็นประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอันดับที่ 2 ให้แก่จีนไป และตามมาด้วยเหตุการณ์คลื่นซึนามิซัดถล่มคร่าชีวิตผุ้คนกว่า 20,000 รายและทรัพย์สินเสียหายกว่าง 309,000 ล้านเหรียญสหรัฯ ต่อด้วย โรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกุชิมาไดอิชิ เกิดระเบิด ส่งสารกัมมันตภาพรังสีออกไปทั่ว จึงต้องอพยพโยกย้ายประชาชนซึ่งอาศัยอยู่ในรัศมี 20 กิโลเมตรรอบโรงงานไฟฟ้าฯ ความเสียหารที่เกิดขึ้นมีมุลค่ามากที่สุดท่าที่เคยบันทึกมา...(บางส่วนจาก " ไทย-เกาหลีใต้- อาเซียนบวกสาม" ศูนย์เกาหลีศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง, รศ.ดร. ดำรงค์ ฐานดี, 2555)
วันศุกร์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น