วันพุธที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Japan : ASEAN : East Asia Communuty

              หลังจากนโยบายฟูคูดะ จะดสำคัญในความสัมพันธ์ญีปุ่นอาเซียนคือการประกาศปฏิญญาโตเกียว ซึ่งปฏิญญาโตเกียวมีวัตถุประสงค์ในระยะยาวในการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก ขึ้นมแต่ผลปรากฎว่าการดำเนินการของประชาคมเอเชียตะวันออกนั้นขาดความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างญี่ปุ่นและอาเซียนในลักษณะที่จะเป็นตัวแปรในการสร้างประชาคมเอเชยตตะวันออกให้มีความเข้มแข็งได้อย่างไรจึงเป็นสิ่งที่น่ำศึกษาเป็นอย่างยิ่ง
              ญี่ปุ่นกับแนวนโยบายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คำถามนี้ได้รับความสนใจเป้นอย่างมาก เนื่องจากถึงแม้ว่าญี่ปุ่นจะได้เข้ามาเกี่ยวข้องในภุมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มาหลายทศวรรษแล้วผ่านทากงารต้าและการใหความช่วยเหลือในด้านต่างๆ แต่แนวนโยบายของญี่ปุ่นในภูมิภาคนี้ยังคงไม่ชัเเจนมากนัก กระทั่งทศวรรษที่ 1980 บรรษัทข้ามชาติขนาดใหญ่ของอญีปุ่นน้นเข้ามาลงทุนในภุมิภาคนี้อย่างมหาศาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากการทำข้อตกลงพลาซา Plaza Accord ระหว่างญีปุ่นกับชาติมหาอำจาจตะวันตกซึ่งได้ส่งผลทางอ้อมในการกระตุ้นเศรษฐกิจของภูมิภาคนี้โดยรวม แต่อย่างไรก็ตามการทูตของญีปุ่นต่อภูมิภาคนี้ก็ยังคงถูกพิจารณาว่าเป้นในลักษณะที่ยังไม่ใ้ความสำคัญเด่นชัดนัก สำหรับญีปุ่นภูมิภาคนีจัดได้ว่ามีผลประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจกับญีปุ่นในการหาวัตถุดิบราคาถูกรวมถึงเป้ฯตลาดขาดใหญ่ในการขายสินค้าของตนด้วย สำหรับการเน้นการเข้ามาในเชิงเศรษฐกิจของญีปุ่นนั้นได้ส่งผลให้มุมมองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มองญี่ปุ่นในเชิงลบว่าเข้ามาแสวงหาประดยชน์ทางด้านเศรษฐกิจมากกว่าจะเข้ามาสร้างความเข้มแข็งร่วมกันและยิ่งผสมผสานกับประสบการณ์ที่ประเทศในภูมิภาคนี้ได้รับจากการกระทำของญีปุ่น่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ยังไม่ลืมเลือนไปจากอดีต
              สำหรับประสบการณ์ในการรวมกลุ่มแบบภูมิภาคนิยม ของอาเซียนนั้นเริ่มขึ้นในค.ศ. 1967 ซึ่งการวมกลุ่มในครั้งนั้นไม่ได้ส่งผลกระทบต่อแนวนโยบายของญีปุ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงเร่ิมต้นเท่าใดนัก เนื่องจากญี่ปุ่นในขณะหนั้นได้ดำเนินแนวนโยบายตามสหรัฐฯที่ได้ประกาศแนวนโยบายนิกสัน ที่ได้ประกาศในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1969 หลังจากการถอนตัวของสหรัฐฯ จากภุมิภาคอันเนื่องมจากความพ่ายแพ้ในสงครามเวียดนาม จากปัจจัยนี้เองทำให้ญีปุ่นและอาเซียนมีความจำเป้ฯจ้องสร้างกรอความร่วมมือในระดับภูมิภาคระหว่างกันขึ้นมา นี่เป้นเหตุผลสำคัญที่ทำให้แนวนโยบายฟูคูดะได้ถูกเสนอขึ้น และอีกเหตุผลเพื่อที่จะลบภาพในเชิงลบของญี่ปุ่นที่ถูกมองจากกลุ่มอาเซียนว่าเปรียบเสมือน "สัตว์เศรษฐกิจ economic animal" ที่ได้กล่าวในข้างต้นมาแล้ว โดยญีป่นุดำเนินนโยบายกับอาเซียนในลักษณะที่ให้อาเซียนเป็นตัวขับเคลื่อนนโยบายสร้างความร่วมมือระหว่างกันอยางไรก็ดีญี่ปุ่นมิได้่งเสริมความร่วมมือในด้านเศรษฐกิจแต่เพียงด้านเดียว แต่ญีปุ่่นยังพยายามในการแสดงบทบาททางการทุตและการเมืองระหว่างประเทศในการเป็นตัวเชื่อมระหว่างประเทศในภุมิภาคที่เป้นคอมมิวนิสต์กับประเทศที่ไม่ได้เป็นคอมมิวนิสต์ซึ่งในจุดนี้ไม่ค่อยประสบผลสำเร็จเท่าใดนัก เนื่องจกาสาเหตุที่ญีปุ่นปรับนโยบายสนับสนุนอาเซียนในช่วงท่เวียดนามนั้นรุกรามกัมพุชาในเือนธีนวาคม ค.ศ. 1978 และในช่วงสิบปี ระหว่าง ค.ศ. 1978-1988 ญี่ปุ่นได้ร่วมกับสาธารณรัฐประชาชนจีน สหรัฐฯ และอเารเซียนการคัดค้านการกระทำดังหกล่าวของเวียดนามตลอดมา จากการดำเนินการอย่างตั้งใจของญีป่นุในด้านต่างๆ จะพบว่าในช่วงเวลานี้สามารถตอลรับได้กับการดำเนินแนวทางทางการทุตของอาเซียนในการสร้างความเช้มแช็งในแก่กลุ่มของตนเองโดยเฉพาะในช่วงวิกฤตการณ์กัมพูชาเป็นอย่างดี
             อย่างไรก็ดีนสถานการณ์ปัจจุบันในยุคหลังสงครามเย็นันเป้นที่ชัดเจนว่าแนวนโยบายของญีปุ่นต่ออาเซียนในปัจจุัยอันหนึ่งได้แก่ การขึ้นมาเป็นมหาอำนาจคู่แข่งของจีน โดยญีปุ่่นจะมีการตอบสนองกับจีนอย่างไรและขีดข้อสรุปใดความเป็นข้อสรุปที่นำมากำหนดนโยบายของญีปุ่นต่อจีนนั้นเป็นส่วนสำคัญที่ญีป่นุต้องให้ควาในใจในขณะนี้ถ้าญีปุ่นมองว่าการขึ้นมาเป้ฯมหาอำนาจขอจีนนั้นเป้นภัยคุกคามต่อตนเองและมองวาการสร้างความสัมพันธ์กับสหรัฐฯ เป็นสิ่งที่สามารถนำมาถ่งงดุลกับจีนได้ จาแนวคิดนี้ที่ได้รับการยอมรับการผุ้กำหนดนโยบายคนสำคัญของญีปุ่นหลายท่านตั้งแต่อดีตนายกรัฐมนตรีนายจุนอิชิโร โคอิซุมิ นายกรัฐมนตีคนปัจจุบันนายชินโซ อาเบ รัฐมนตรีต่างประทเศญ๊ปุ่นนายทาโร อาโซะ โดยแนวคิดให้ความสำคัญกับสหรัฐฯเป็นลำดับแรกและเอชียเป็นลำดัต่อมา เป็นแนวทางที่ถูกวิพากวิจารณือย่างหนักว่าทำให้เกิดความขัดแย้งกับจีนอย่างหลีกเลี่ยงมิได้รวมถึงยังไมเป้นการส่งเสริมในการสร้างการรวมกลุ่มให้เกิดขึ้นในเอเชียนตะวันออกได้อย่างแท้จริงอีกด้วย ตแ่ความเป้นแนวทางที่นำสหรัฐฯและจีนเข้ามาร่วมกันในการสร้างความเข้มแข็งให้กับภุมิภาคจะเป้นประดยชน์กว่า เนื่องจากโดยพื้นฐานของความเป็นจริงนั้นการสร้างความสัพมันธ์อันดีระหว่างสหรัฐฯ ญีปุ่นและจีนจะเพิ่มมูลค่าในด้านการต้าและการลงทุนซึ่งส่งผลในเชิงบวกกับภาพรวมทางเสณาฐกิจของโลกและการทำให้จีนอ่อนแอหรือไม่มั่นคง ในทางกลับกันก็คงจะทำให้เกิดความเสียหายหรือชะลอตัวทางเศณาฐกิจโดยรวมเช่นเดียวกัน จากตัวเชขทางสถิติการต้าระหว่างจนกับญี่ปุ่นใน ค.ศ. 2004 นั้นคิดเป็ฯร้อยละ 20 ของการต้าระหว่างประเทศของญีปุ่นโดยมีมุลค่าเกือบ 17,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ทำให้จีนจัดได้ว่าเป้ฯคุ่ต้าสำคญในลำดับต้นๆ ของญีปุ่น
 แนวนโยบายของญีปุ่นในยุคปัจจุบันจึงไมควรเน้นการให้ความสำคัญแก่ชาติตะวันตก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัญฯ มากจนเกินไป ญี่ปุ่นควรที่จะหใ้ความสำคัญกับสหรัญ และประเทศในเอเชียตะวันออก เอชียตะวันออกเฉียงใต้ในสถานที่เท่าเทียมกัน การผูกพันกับจีนนั้นสามารถที่จะกำหนอให้กระบวนการรวมกลุ่มของเอเชียตะวนออกนั้นเป้นเป้าหมายในระยะยาวที่สามาถทำให้ในอนาคตและยังช่วยสร้างความเขชื่อใจและเชื่อมั่นระหว่งกันทั้งยังสามารถทใไ้ภาพในเชิลบของญีปุ่น่นที่มีอยุ่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้นเบาบางลงไปอีกด้วย เมื่อนดังกรณีของความขัดแย้งระหว่างจีนและญี่ป่นุในกรณีของการเยือนศาลเจ้ายาวูโคนิ ของฝ่ายบริหารญีปุ่นหลายครั้งที่เป้นประเด็นระหว่างกันหลายครั้ง ได้มีข้อเสนอจาก เสนอว่าญีปุ่่นควรสร้างอนุสรณ์สถานของผุ้ที่เสียชีวิตในสงครามดลกครั้งที่ 2 เพื่อจะเป็นทางเลือกในการเข้าไปเคารพสัการะอย่งเป็นทางการของฝ่ายบริหารและยังสามรถที่จะหลีกเลี่ยงความขัดแย้งกับต่างชาติได้ในระดับหนึ่งอีกด้วย และในขณะที่ญีปุ่่นให้ความสำคัญแก่การสร้างสัมพันธ์กับจีนญี่ปุ่นก็ยังคงต้องเดินหน้าในการสร้างความสัมพันธ์กับอาเวียนไปอย่างต่อเนื่องซคึ่งสิ่งน้ลั้ไม่เพียงแต่จะสร้างสันติภาพและความมั่งคั่งให้เกิดขึ้นให้กับความสัพมันธ์ญ๊่ปุ่นแลอาเวียนโดยรวมเท่านั้น แต่ยังเป็นตัวขับเคลื่อนในแผนการรวมกลุ่มของภุมิภาคเอเชียนตะวันออกและเอเชยตะวันออกเฉียงใต้อีกด้วย แถลงการณ์ ในค.ศ. 2003 จึงเป็นการสร้างกรอบความร่วมมือและการพัฒนาระหว่างญีป่นุแลอาเวียน เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายตระหนักถึงความสำคัญของทั้งสองฝ่ายในการทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดเพื่อสเริมสร้างความสัมพันธ์กับภูมิภาคเอเชียตะวันออกในการสร้างปรชาคมเอเชียตะวันออกให้แข็งแกร่งต่อไป
              อาเซียนกับการก่อตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก เมื่ออาเวียนก่อตั้งข้ชั้นในค.ศ. 1967 หรือเมื่อ 40 ปีมาแล้วนันวัตถุประสงค์หลักของอาเซียนนั้นได้แกการสร้างความเจริญเติบโตทางเสณษฐกิจ สังคม และการพัฒนาทาวัฒนธรรมอย่างไรก็ดีในช่งแรกของการก่อตั้งอาเซียนนั้นไม่ค่อยที่จะประสบความสำเร็จเท่าใดนักเนื่องจากอุปสรรคเดิมที่เคยเกิดขึ้นในกลุ่มของอาเซียน อันได้แก่ ความไม่เชื่อใจและหวาดระแวงระหวางกัน และจากวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเวียนนั้นจะไม่ได้เน้นถึงในเรื่องของการเมืองเท่าใดนัก แต่ในความเป้นจริงนั้น เหตุผลหลักที่แบแฝงอยู่่ของอาเซียน ได้แก่ความพยายามที่จะเปลี่ยนสถานะของความวุ่นวายและความไม่มีเสถียรภาพให้เป็นภุมิภาคที่มีสันตุภาพและความสบงเกิดขึ้น ในช่วง  ทศวรรษแรกอาเวียนตัดได้ว่าประสบความสำเร็จในการดำเนินากรทางการทุตระหว่างกัน ในขณะที่ด้านเศรษฐกิจซึ่งจัดได้ว่าเป็ฯเหตุผลหลักที่ได้กล่าวไว้ในวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งไว้ไม่ก้าวหน้านักใน 2 ทศวรรษนี้เนื่องจากเหตุผลหลักสองประการ
             ประการที่หนึ่ง เนหื่องจากประเทศสมาชิกของอาเวียนส่วนใหญ่นั้นเป็ฯคู่แข่งในางเศราฐกิจกันเอง เนื่องจากประเทศส่วนใหญ่ผลิตสินคึ้าและส่งออกสินค้าที่มีลักาณะเป้ฯวัตถุดิบในการปลิต และเป้นสินึคาแบบปฐมภุมิ เชน สินึ้าเกษตรที่ยังไม่ได้แปรรุแ เป็นต้น ทั้งยังมีการกีดกันางการค้าระหว่างกันในระดับที่ยังสูงอย่ง ยิ่งไปกว่านันการขาดการส่งเสริมซึ่งกันและกันในะระบบเสณาฐกิจของเอาเวียนก็จัดเป็นสากเหตุสำคัญอีกประการในการทำให้มูลค่าการต้าภายในกลุมอาเซียน นันอยุ่ในระดับที่ต่ำอยยุ่ ประการต่อมาประเด็นปัญหารกัพุชาที่มีอยุ่ในภมุิาคในช่วนั้นถุกนำมาใช้เป้นขออรงในการขาดความรวมมือระหว่างกันในเชิงเศรษบกิ แย่างไรก็ดีในช่วงหลักงที่การแก้ปัญหากัมพุชาคลี่ลายไปก็ทำให้อาเซียนมีภาพลักษณ์ในการเป้นภุมิภาคที่ความเชื่อถือมาขึ้นในเวลทีโลกได้ ส่งผลถึงการส่งเสริมความร่วมอทางเสณาฐกิจของประเทศสมาชิกอาเซียนอีกทางหนึ่งในเวลาต่อมาด้วย
            เมื่อสงครามเย็นสิ้นสุดลงและปัญหาของกัมพูขที่หสข้อยุติได้ในค.ศ. 1991 ความสัพมัีะ์ในเชิงการเมืองและการทูตระหว่งกันที่เคยเป้นตัวประสาาติสมาชิกอาเซียนทั้งหลายเข้าด้วยกันได้ดีเหมือนในชวงสงครามเย็นันมีการเปลี่นแปลงไปจากเดมโดยไม่สามารถทำหน้าที่ได้ดีเหมือนก่อน จากสถานะของเหตุการณ์และช่วงเวลาที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้เหิดโอกาสให้เื้อแก่การให้ความสำคัญแก่ประเด็นทางเสรษฐกิจมากขึ้นจัดได้ว่าเป็นยุคแรกที่อาเวียนสามรถหาแนวกลยุทธ์การพัฒนาร่วมกันได้ โดย่งเสริมแนวทางการเปิดเสรีและเปิดการต้าระว่งกันรวมถึงกำจัดอุถปสรรคต่างที่มีต่อการรวมกลุ่มระหว่างกัน โดยในการประชุมสุดยอดผุ้นำอาเซียนครั้งที่ 4 ที่สิงคโปร์ ในค.ส. 1992 มีการก่อตั้งเขตการต้าเสรีอาเวีียนขึ้นจัดได้ว่าเป็นข้อตกลงประวัติศาสตร์ของอาเวียนในการขยายความร่วมมืออย่างเป็นรูปธรมทางเศราฐกิจนอเหนือจากกรอบทางด้านการเมืองและการทุต
              อาเซียนงยังได้มีการสร้างความสัพมัธืกับจีนหลังจากจนได้มีการพัฒนาทางเศรษกิจอย่างรวดเร็วในทศวรรษที 1990 เป้นต้นมาโดยมีการดำเนินการสร้างความร่วมมือในหลายกรอบเจรจาในระดับพหุภาคี จากการสร้างความสัพมันะ์กับมหาอำำนาจอย่างจีนเป้นการพัฒนาบทบาทของอาเวียนที่สำคัญในการพัฒนาโครงสร้างทางความาั่นคงและเศรษฐกิจของภูมิภาคต่อไป ซึ่งจีนก็ให้การตอบรับและความร่วมมืออันดีย่ิงในกานสงสเริมความสัพมันะ์ทางการทูตกับอาเซียนเป้นการส่งเสริมความสัมพันะ์แบบทวิภาคระหว่งอาเวียนและจีนที่มีประสิทธิภาพย่ิง
           
ถึงแม้อาเวียนนั้นจะประสบกับวิกฤตกาณ์ทางเสณาฐกิจในค.ศ. 1997 ซึ่งทำให้อาเซียนสูญเสียความมั่นใจและนำไปสุ่การวิพากวิจารณ์อาเวียน ถึงการขาดความร่วมมือระหว่างกันและความไร้ประสิทธิภาพในการหามาตรการร่วมกันในการแก้ไขวิกฤตการณ์ครั้งทนีจากจุดนี้เป้นตัวเร่งให้อาเซียนมีความจำเป็นต้องหามาตรการเพื่อป้องกันวิกฤตการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยในอาเซียนอาเศัยความสัมพันธ์ที่มีกับประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจของเอชเียตะวันออกได้แก่ ญีป่นุ จีนและเกาหลีใต้ โดยมีการหารือกันในระดับผุ้นำประเทศของประเทศสมาชิกอาเวียนและผุ้นำของญีปุ่นจีนและเกาหลีใต้เป็นครั้งแรก ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. 1997 จัดได้ว่าเป้นจุดเริ่มต้นของการประชุมสุดยอดอาเซียน+3 ที่ได้จัดขึ้นเป้ฯประจำปีในช่วงเดียวกับการประชุมสุดยอดอาเซียน ในความเป็นจริงแล้วในช่วงของวิกฤตเศรษฐกิจนั้น ญีปุ่นได้มีความพยายามที่จะจัดตั้งกองทุนการเงินเอเชีย ขึ้นมาเพื่อเป็นองค์กรในการให้ความช่วยเหลือทางการเงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ เนื่องจากมีเงื่อนไขที่ทำให้ประเทศในเอเชียได้รับความลำบากอย่างมาก แต่กองทุนการเงินเอเชียนั้นก็ไมได้มีการจัดตั้งขึ้นเนื่องจากคำคัดค้านของสหรัฐฯ ที่ให้เหตุผลว่าการจัดตั้งกองทุนการเงินเอเชียนันจะส่งผลให้ระบบการเงินโลกนั้นไม่มั่นคง อย่างไรก็ตามหลังจาก ค.ศ. 1999 นั้นกรอบของอาเซียน +3 นั้นได้มีแนวคิดที่จะขยายกรอบนี้ออกไปซึ่งส่วนนี้เป้นการเสนอแนวความคิดของเกาหลีใต้ให้มีการประชุมสุดยอดเอชียตะวันออกขึ้นมาโดยมีแนวคิดที่จะดึงอินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ขึ้นมา เพื่อเป็นแนวทางที่จุะถ่วงดุลการขึ้นมามีอำนาจของจีนที่อาจจะส่งผลต่อการเข้ามามีอิทธิพลในกรอบของอาเซียน +3 ขึ้น ทำให้อาเซียนสามารถเป็นพลังในการผลักดันให้กรอบของอาเซียน +3 นั้นเป้นแหล่งที่สมารถนำญี่ปุ่น จีนและเกาหลีใต้ที่มีความขัดแย้งในหลายประเด็นและทำให้ความร่วมมือของทั้งสามชาตินั้นเป็นได้ยากอย่างยิ่งในอดีตเป็นไปได้ในเวทีนี้ นับได้ว่าเป็นศักยภาพของอาเซียนที่สำคัญในเวทีโลก
               ญีปุ่น อาเซียน กับการขับเคลื่อนประชาคมเอเชียตะวันออก วิกฤตเศรษฐกิจในค.ศ. 1997 นั้นอาจส่งผลกระทบในด้านลบหลายๆ ประเทศในอาเซียนและภูมิภาคเอเชียตะวันออกแต่ในอีกมุมมองหนึ่งวิกฤตครั้งนี้กลับกลายเป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญที่ทำให้ญี่ปุ่นหันเข้ามาร่วมมือ เกี่ยวข้องและสร้างความสัมพันธ์กับอาเซียนมากขึ้น ดดยการเข้าร่วมในการรวมกลุ่มแบบภูมิภาคนิยม ในเอเชียตะวันออก โดยแนวคิดของการรวมกลุ่มแบบภุมิภาคนิยมในเอเชียตะวันออกนั้นเริ่มจากรูปแบบของการก่อตั้ง  East Asian Economic Caucus (EAEC) ที่เริ่มในทศวรรษที่ 1990  โดยมหาเธ โมฮัมหมัด ในช่วงนั้นปฏิกิริยาของญี่ปุ่นนั้นเป็นลกษณะไม่ผูกมัดและค่อนข้างวางเฉย เนื่องจากสไรับญีปุ่นนั้นความสัมพันะ์กับสหรัฐฯ ถือว่าเป็นความสำคัญลำดับแรกของญี่ปุ่นในนโยบายต่างประเทศ โดยญ๊ปุ่นตระหนักว่าการรมกลุ่มแบบภูมิภาคนิยมในเอเชียตะวันออกนั้นจะเป้นอุปสรรคและอาจจะทำให้เกิดความขัอแย้งกับสหรัฐฯ ได้ในที่สุดถ้าญีุ่่ปุ่นจะเปลี่ยนลำดับความสำคัยในนโยบายต่างประเทศญีปุ่น
         
ถึงแม้ญี่ปุ่นจะมีแนวนโยบายที่ให้ความสำคัญแก่สหรัญฯเป็ฯลำดับแรก จากที่ได้กล่าวมาในช่วงต้นการเกิดวิกฤตเศรษกบิจส่งผลในการกดดันให้ญีปุ่นต้องเข้ามเกี่ยวข้องในการรวมกลุ่มของภุมิภาคเอเชียตะวันออกมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับอาเซียน ภายใต้ผนการ  "มิยาซาวา อินนิติทีฟ" ญี่ปุ่นมีแผนในการให้การสนับสนุนทางการเงินเป็นจำนวนถึงสมหมื่อนล้านดอลลารสหรัฐฯ เพื่อช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจให้กับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในขณะที่จีนให้การสนับสนุนในลักาณเดียกันเป็นจำนวนเกือบสี่พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และคงอัตราการแลกเปลี่ยนของเงินหยวนไวอย่างเดมโดยไม่ลดค่าลงเพื่อมิให้ส่งผลกระทบต่อการส่งสินคึ้าออกของอาเวียนแลป้นการช่วยสภาพของการต้าและากรลงทุนในอาเซียนในระดับหนึ่งอีกด้วย รวมถึงกรอบของเซียน +3 ที่ทั้งญี่ปุ่นและจีนมีความกระตือรอืล้นที่จะเข้ามาสร้างความแข้.แกร่งยังทำให้เกิดความร่วมมือด้วยการสร้างความร่วมมือในระดับภุมภาคทางการเงินและการธนาคารผ่านทาง "เชียงใหม่ อินนิเทียทีฟ"
            จากความร่วมมือของญีป่นุกับอเาซียนในช่วงนีภายใต้นายกรัฐมนตรี โอบูชิ ไคโซะ ช่วงเสริมสร้างควมแข็.แกร่งให้กับญีปุ่นและอาเซียนอยางมาก แต่สำหรับอาเซียนแล้วเพื่อหลีกเลี่ยงการเข้ามาครอบงำของมหาอำนาจไม่ว่าจะจากญี่ปุ่นหรือจีน ส่งผลให้อาเวียนจำเป็นต้องสร้างสมดุลในความสัมพันธ์กับทั้งสองฝ่าย ซึ่งในความเป็นจริงแล้วทั้งนักวิชาการและนักวิเคราะห์เห็นตรงกันว่าจีนนั้นได้เปรียบกว่ามนการ
มีความสัมพันธ์กับอาเซียนในหลายทศวรรษที่ผ่านมา เนื่องจากมีการเดินทางเพื่อพบปะหารือกันในระดับผุ้บริหารประเทศเพื่อสร้างความร่วมมือ ไกล่เกลี่ยและแก้ไขปัญหาร่วมกันในหลายประเด็นด้วยกัน อาทิ เรืงของเส้นแบ่งเขตแดน การต้า ความร่วมือทางทหาร เป็นต้น เนื่องจากจีนนั้นมีแนวทางและความตั้งใจที่ชัดเจนในกาเปิดสัมพันธ์กับอาเซียน กรณีนี้ญีปุ่นแตกต่างจากจีนเนื่องจรากย๊่ปุ่นมักจะมีความไใ่ชัดเจนเมื่อต้องเพ่ิมระดับความสัพมัะน์กับอาเซียนและการรักษาสมดุลในความสัมพันธ์กับสหรัฐฯ เนื่องจากในปัจจุบันที่ญี่ปุ่นกลายเป็นมหาอไนาจทางเศรษฐกิจของโลกทำให้ญีปุ่่นแม้จะมีที่ต้งอยุ่ในทวีปเอเชียแต่ได้มีการกำหนดตนเองให้เป็นกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วและมีแนวทางแบบประเทศตะวันตกที่พัฒนาแล้วทำให้เมื่อจะต้องสร้างสัมพันธ์มากขึนกับประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งแทบทุกประเทศ(ยกเว้นสิงค์โปร์)จัดเป้นประเทศที่กำลังพัฒนาทั้งสินทำให้อาจจะเกิดความลังเลที่จะเข้าไปอย่างเต็มตัวโดยเฉพาะต้องเข้าไปในความสัมพันธ์ที่มีความเท่าเทียมกับกลุ่มอาเซียนอีกด้วย
                อย่างไรก็ดี หลังจากที่อาเวียนสามารถฟื้นฟู รวมตัวแลร่วมมือกันได้ทำให้อาเซียนกลายเป็นพันธมิตรที่มีประสิทธิภาพสำหรับญีปุ่นในการร่วมกันสร้างประชาคมเอเชียตะวันออกได้ ซึ่วสวนนี้ได้สะท้อนให้เห็นเป็นรูปธรรมในการประชุมสุดยอดผุ้นำอาเซียน ญี่ปุ่น โดยนาย จุนอิชิโร โคอิซูมิ ได้ให้การรับรองเงินเป็นจำนวน 70 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เพือ่สนนับสนุในการรวมกลุ่มครั้งนี้ญีป่นุยังได้เริ่มย้ายการลงทุนของตนเองจากจีนเข้ามาลงทุนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากขึ้น แม้ว่าการกระทำดังกล่าวอาจจะทำให้เกิดความขัดแย้งขึ้นระหว่างญี่ปุ่นกับจีนแต่อาเซียนนั้นก็สามารถเป็นตัวเชื่อมโยงทำให้กความขัดแย้งดังกล่าวไม่รุนแรงเกินขอบเขตและยังสร้างบบาทที่สำคัญแก่อาเซียนในการช่วยเร่งและผลักดันกระบวนการรวมกลุ่มในประาชมเอเชียตวะันออกให้ประสบความร่วมมือมากและรวดเร็วขึ้นถึงแม้ว่าสิ่งต่างๆจะดำเนินไปในลักษณะที่ทำให้อาเซียนมีบทบามสำคัญในการสร้างประชาคมเอเชียตะวันออกให้
แข็งแกร่งย่ิงขึ้น แต่ในปัจจุบันก็ยังคงไม่มีแผนงานหรือแนวความคิดหลักในการกำหนดวิสัยทัศน์ของประชาคมอาเซียนตะวันออก เนื่องจกาในปัจจุบันยังมีแนววคิดที่ยังคงมีกาถกเถียงกันเกียวกับวัตถุประสง์ของการร่วมมือในภูมิภาคและประชาคมเอเชียตะวันออกควรจะมีสมาชิกกีประเทศและประเทศใดบ้าง ดังนั้นอเซียนจึงจึงจำเป็นที่จะต้องหให้ความสนใจอย่าต่อเนื่งอในการพัฒนาความร่วมมือในระดับภุมิภาคซคึ่งมีแนวทางในปัจจุบันดังนี้ั ประการแรก ส่งเสริมความก้าวหน้าการรวมกลุ่มในระดับภูมิภาคโดยการพยายามส่งเสริมความแข็งแกร่งของชาติสมาชิกระหว่างกัน ประการต่อมา ความจะพยายามรักษาผลประโยชน์ระหว่างกันให้สมดุลกันมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพื่อรักษามิให้เกิดความไใ่ไว้วางใจซึ่งกันและกันในกรณีที่จะต้องเผชิญหน้ากับปัญหาร่วมกันรวมถึงการสร้างความร่วมมือระหว่างกันในภุมิภาคอีกด้วย ประการสุดท้ายพยายามส่งสรเิมความร่วมมือทางเศราฐกิจในเชิงชึก ของภูมิภาค รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์ทั้งในเชิงทวิภาคีและพหุภาคี
             หนทางของประชาคมเอเซียตะวันออก ในขณะที่อาเซียนสามารถใช้เวทีของอาเซียน +3 ในการแสดงบทบาทสำคัญในการรวมกลุ่มในระดับภูมิภาค แต่การจะดำเนินการสำเร็จหรือไม่เป็นอีกปัจจัยหนึ่งก็ขึ้นอยุกับความ่วมมือของมหาอำนาจที่เข้าร่วมดดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของญีป่นุและจีน ในกรณีของจีนนั้นค่อนข้องมีความชัดเจนในเรื่องของบทบาทของตนเองในอาเวียน +3 แต่ในกรณีของญีปุ่นนั้นควรต้องพิจารณาบทบาทของตนเองในชัดเจนว่าจะเำเนินนโยบายอยางไรในอาเซียน+3 ถุวแม้ว่าที่ผ่านมาญี่ปุ่นจะแสดงให้เห็นถึงการพยายามเข้ามาในสวนนี้ไม่ว่าจะเป้นการใหความช่วยเหลือในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจที่ผ่านมา เรื่องของความพยายามในการจะจัดตั้ง AMF แต่สิงที่ญ๊ปุ่่นควรจะต้องดำเนินการด้วยการพิจารณรอย่างรอบคอบคือการดำเนินความสัมพันธ์กับสหรัฐฯ หลังการเข้าร่วมในอาเซียน +3 เนื่องจากรเื่องความสัมพันธ์ระหว่างญีปุ่่นกับสหรัฐฯ เป็นส่ิงที่ทราบกันดีว่าจะต้องดำเนินต่อไปย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ซึ่งในจุดนี้ก็คงไม่มีชาติใดที่ต้องการให้ญีปุ่นปรับลดระดับความสัมพันธ์ของญีปุ่น่กับสหรัฐฯลง แต่ญีปุ่นมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วนที่จะต้องแสดงแนวทางของตนเองให้ชัดเจนในอาเซียน +3 ซึงแน่นอนว่าไม่ควรจะนำเรื่องนี้ไปขึ้นอยุ่กับหรืออยุ่บนพื้นฐานของความสัมพันธืระหว่างญีปุ่นกับสหรัฐฯ ซึ่งการกระทำอย่างนั้นจะทำให้บทบาทของญีปุ่่นและความร่วมมืออาเซียน +3 นั้นไม่สามารถดำเนินอย่างมีประสิทธิภาพแท้จริงได้ และอาจเกิดสิ่งที่ทุกชาติให้ความร่วมมือนี้ไม่อยากให้เกิดคอการถูกชี้นำจากจีนที่มีสถานะและแนวทางที่ชัดเจนและสามารถดำเนินการได้ อีกอย่างถ้าญี่ปุ่นยังลังเลในบทบาทของตนเอง ซึ่งอาเซียนเองก็หวังมิหใเกิดเหตุการณ์เช่นนั้น เนื่องจกาอาเซียนพร้อมที่จะแสดงบทบาทเป็นตัวเชื่อมระหว่างมหาอำนาจที่เข้ามาในอาเซียน +3 เพื่อสร้างให้การวมกลุ่มในประชาคมเอเชียตะวันออกนั้นสามารถพัฒนาได้อย่างยั่งยืนต่อไปในอนาคต...(บทความ "ญี่ปุ่น อาเซียน และการสร้างประชาคมเอชียตะวันออก, สาธิน สุนทรพันธุ์)
         

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...