วันจันทร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

East Asean Summit : EAS

              การจัดการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก East Asia Summit : EAS ในปี พ.ศ. 2548 เป็นพัฒนาการที่สำคัญในความรน่วมมือเอเชียตะวันออกเนื่องจากเป็นการเปิดมิติใหม่ของความสัมพันธ์และความร่วมมือในภูมิภาคและมีการเปิดโอกาสให้ประเทศนอกภูมิภาคเข้ามามีส่วนร่วมด้วย ดดยประเทศอาเซียน + 3 ที่ผลักดันให้ประเทศนอกูมิภาคได้เข้าร่วมใน EASแม้จะมีเหตุผลแตกต่างกันไป แต่ก็มีเป้าหมายตรงกัน คือ ไม่ต้องการให้ EAS จำกัดอยู่เฉพาะแค่ประเทศอาเซียน +3เนื่องจากยังมีความหวาดระแวงกันเองทั้งที่จุดประสงค์ดั้งเดิมของ EAS จะเป็นวิวัฒนาการของการประชุมสุดยอดอาเซียน +3 ซึ่งจะจัดขึ้นเมื่อประเทศอาเซียน +3 มีความไว้เนื้อเชื่อใจกันมากพอ
             ปัจจุบัน EAS ประกอบไปด้วยสมาชิก 16 ประเทศ ซึ่งได้แก่ ประเทศอาเซียน +3 และประเทศที่เข้ามาใหม่ 3 ประเทศ ได้แก่ อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ซึ่งมักเรียกกันว่าอาเซียน +6 โดยในมุมมองของอาเซียน EAS จะเป็นเวทีใหม่อีกเวทีหนึ่งที่อาเซียนปรารถนาจะมีบทบา นำ แต่ในมุมมองของประเทศภายนอกอาเซียนโดยเฉพาะประเทศที่เข้ามาใหม่ทั้ง 3 ประเทศ EAS เป็นเวทีที่ประเทศทั้ง 16 ประเทศมีความเท่าเทียมกัน
           EAS จะเข้ามาแทนที่กรอบอาเซียน +3 หรือจะพัฒนาคู่ขนานกันไปจะทำให้ความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเข้มแข็งหรืออ่นแอลงเป็นสิ่งที่ต้องศึกษากันต่อไป อยางไรก็ดี EAS อาจเป็นผลดีต่อความร่วมมือในเอเชียตะวันออกในระยะยาวเพราะช่วยให้ความร่วมมือในเอเชียตะวันออกมีพลงัตมากขึ้น การที่เป็นเวทีความร่วมมือที่เปิดกว้างไม่จำกัดเฉพาะประเทศในเอเชียตะวันออกทำให้ EAS สามารถปรับตัวให้เข้ากับการปลี่ยนแปลงของโครงสร้างทางเศราฐกิจและการเมืองของโลกไ้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ ยังอาจใช้เป็นเครื่องมือสำคัญควบคุมจีน หากในอนาคตจีนมีท่าที่เปลี่ยนไปในทางที่พยายามจะแสดงอิทธิพลมากขึ้น ทั้งนี้ ในปัจจุบัน EAS มีการประชุมมาแล้ว 5 ครั้ง ในการประชุม EAS ครั้งที่ 5 ในเดือนตุลาคม 2553 ที่กรุงฮานอย ได้มีการออกเอกสาร Ha Noi Declaration on the Commemoration of 5th Anniversary of the EAS เพื่อแสดงเจตนารมณ์และพันธะทางการเมืองในการส่งเสริมควารมร่วมมือและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ EAS ต่อไป อย่างไรก็ดีกรอบอาเซียน +3 เป็นกรอบที่มีความเป็นไปได้มากว่า EAS เนื่องจากมีความร่วมมือที่มีความก้าวหน้าไปแล้วในหลายๆ ประเด็น

            ญีุ่่ปุ่นมีผลประโยชน์ทั้งทางเศราฐกิจและการเมืองอย่างสูงในการรวมตัวกันในเอเชียตะวันออก โดยการรวมตัวกันแบบ EAS (อาเซียน + 6 ) จะทำให้ประโยชน์ทางเศราฐกิจของญี่ป่นุเกิดขึ้นสูงที่สุด เนื่องจากจะมีการเติบโตทางเศราฐกิจสูงกว่าการรวมตัวในแบบอาเซียน +3 สำหรับด้านการเมืองการขัเคลื่อนประเด็นเกี่ยวกัยประชาคมเอเชียตะวันออกจะช่วยให้ญี่ปุ่นสามารถรักษาสถานภาพการมีบทบาทนำในภูมิภาคไว้ได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานภาพนำต่อจีนโดยญี่ปุ่นมองว่าการดำเนินนโยบายการต่างประเทศในประเด็นนี้ จะสามารถตอบสนองผลประดยชน์ของญี่ป่นุได้ใน 3 ประการ คือ 1. กระบวนการความร่วมมือนี้มีประโยชน์ในเนื้อหาสาระในตัวของมันเอง 2. การพบปะหารือกันแบบพหุภาคีเป็นโอกาศที่จะสามารถหารือในประเด็นอื่นๆ ที่นอกเหนือจากเรื่องประชาคมได้ทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี 3. เป็นโอกาสดีที่ญี่ปุ่นจะสามารถมีนโยบายต่อเอเชียอย่างรอคลุมเป็นครั้งแรกตั้งแต่สิ้นสุดสงคราดลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา
            ทั้งนี้ ญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะใช้เอเชียตะวันออกเป็นฐานเพื่อมีบทบาทในการปฏิรูรประบบการบริหารจัดการโลกเพื่อแก้ไขปัญหาการเกิดวิกฤตพลังงาน วิกฤติอาหาร และวิกฤติการเงินโลกในปี 2551 อย่างยั่งยืนตลอดจนเดื้อต่การสร้างระบบการบริหารจัการเศราฐกิจโลกใหม่ที่เหมาะสมขึ้นมา
            ญี่ปุ่นเน้นแนวทาง EAS (ASEAN +6 ) ที่มีออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดียเข้าเป็นสมาชิกด้ยโดยนโยบายและบทบาทของญี่ปุ่นมักจะขึ้นอยู่กับนโยบายและบทบาทของจีนในประชาคมเอเชียตะวันออกเป็นอย่างมาก หลายฝ่ายในญี่ปุ่นมองว่า เอเชียตะวันออกจะไม่สามารถพัฒนาเป็นประชาคมในลักาณะเดียวกับสหภาพยุโรปได้เพราะมีเงื่อนไขที่ต่างกันทั้งในเชิงสถาบันแลค่านิยมไม่ว่าจะเป็นการขาดองค์การระหว่างประเทศที่จะเป็นกลไกในการประสานความร่วมมือค่านิยมที่แตกต่างกันในประเด็นประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนตลอดจนความรุ้สึกชาตินิยมที่ยังคงเข้มข้นในหม่ชาติเอเชีย อย่างไรก็ตามเอเชียตะวันออกน่าจะสามารถรวมตัวกันได้ในลักษณะเฉพาะแบบเอเชีย ที่ผ่านมา ญี่ปุ่นยงขาดการบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประชาคมเอเชยตะวันออกเนืองจากการแบ่งแยกกันสูงระหว่างการทำงานของกระทรวงต่างๆ โดยนโยบายประชาคมเอเชียตะวันออกของญี่ผ่นุมุ่งเน้นไปที่การแก้ไขปัญหาความสัมพันธ์กับจนเป้ฯหลักโดยเฉพาะอย่างอยิ่งในสมัยนายกรัฐมนตรีจุอิจิโร โคอิสึมิ อย่างไรก็ดี หลังจากที่ญี่ปุ่นมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งใหญ่ หลังพรรคประชาธิปไตยญี่ปุ่นได้รับชัยชนะการเลือกตั้งทั่วไปเหนือพรรคเสรีประชาธิปไตยซึ่งเป็นรัฐบาลมายาวนานกว่า 50 ปี และนายยูกิโอะ ฮาโตยามา เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีดดยได้ประกาศอย่างแข็งขันที่จะผลักดันการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกทั้งยังได้กล่าวเชิญจีนให้มาร่วมมือกันสร้างประชาคมอยางแข็งขัน
           แสดงให้เก็นถึงท่าที่ใหม่ของรัฐบาลญี่ปุ่นในการดำเนินนดยบายการต่างประเทศศที่ให้ความสำคัญกับเอเชียมากยิ่งขึ้นโดยนายฮาโตยามาต้องการผลักดันการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์และความเจริญรุ่งเรื่องในภุมิภาค บนพื้นฐานของการเปิดกว้าง โปร่งใส และครอบคลุม และเน้นหลักการความเป็นพี่น้องกันเริ่มจากความร่วมมือด้านเศราฐกิจก่อน แล้วค่อยๆ ขยายไปในสาขาอืนๆ นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงการมีเงินสกุลเดียวกันอีกด้วย ทั้งนี้ นายฮาโตยามามิได้กล่าวถึงประเทศที่จะเป็นสมาชิกของประชาคมเอเชียตะวันออก แต่เป็นที่เข้าใจได้ว่าญี่ป่นุต้องการให้ครอบคลุมประเทศที่เข้าร่วมใน EAS แต่หลีกเลี่ยงที่จะกล่างถึงเรื่องจากไม่อยากจะเผชิญหน้ากับจีน ซึ่งมีท่าที่ที่ชดเจนว่าประชาคมเอเชียตะวันออกควรเร่ิมจากกรอบอาเซียน +3 ก่อน

          โดยในปี พ.ศ. 2553 สำนักเลขาะิการคณะรัฐมนตรีของญี่ป่นุได้เผลแพร่เอกสารเกี่ยวกับการดำเนินการในอนาคตเกี่ยวกับแนวคิดประชาคมเอเชียตะวันออก ซึ่้งเน้นการดำเนินการในก้านต่างๆ ได้แก่ 1) ด้านเศรษฐกิจโดยการส่งเสริมการจัดทำความตกลงเขตการต้าเสรี และหุ้นส่วนเศราฐกิจและการส่งเสริมการลงทุนในภูมิภาค และส่งเสริมความเชื่อมโยงในภูมิภาคด้านการแก้ปขปัญหาการเปลี่นแปลงสภาพภูมิอากาศ 2) ด้านการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศดดยเสนอที่จะแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยเสนอที่จะแก้ไขปัญหาด้วยการส่งเสริมให้มีกรใช้เทคโนดลยีที่ก้าวหน้าของญี่ป่นุรวมทั้งถ่ายทอดความรุ้แลประสบการณ์ของตนให้แก่ประเทศอื่นๆ 3) ด้านการป้องกันภัยพิบัติและโรคระบาดโดยเสนอให้มีการตั้งศูนย์ป้องกันภัยพิบัติแห่งเอเชียเพื่อเป็นจุดศูนย์กลางในการให้ความรุ้แลถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง และสร้างเครือข่ายเพื่อป้องกันและสร้างมาตรการในการรับมือกับโรคระบาด 4) ด้านความมั่นคงทางทะเล ดดยส่งเสริมการแก้ไขปัญหาโจรสลัด รวมทั้งส่งเสริมความมั่นคงและความปลอภัยทางทะเล 5) ด้านการศึกษาและวัฒนธรรม ดดยส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนบุคลากรทั้งนักเรียน เยาวชน และนักวิจัย
                ในกรอบอาเซียน + 3 ญี่ป่นุแสดงบทบาทแข็งขันไม่ว่าจะเป็นบทบาทในความร่วมือทางการเงินโดยเฉพาะในส่วนของข้อตกลงความริเริ่มเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี 2543 หรือการประกาศที่จะจัดทำความตกลงหุ้นส่วนทางเศราฐกิจระหว่างอาเซียนกับญี่ป่นุ ในปี 2545 เป็นต้น โดยในทางปฏิบัติ ญี่ปุ่นมีเครื่องมือทางนโยบายที่สำคัญอยุ่ 3 ประการ เพื่อผลักดันนโยบายและแสดงบทบาทของตน ได้แก่ 1) การจัดทำและใชบังคับ AJCEP ซึ่งเป็นความตกลงเชตการต้าเสรีระหว่งญี่ปุ่นกับอาเซียนซึญี่ป่นุถือว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญในการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกเนื่องจากมีส่วนในการส่งเสริมสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทสที่จะส่งผลต่อญี่ป่นุในการกำหนดกลยุทธ์ทางการทูตกับประเทศอื่นๆ เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการก่อตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก  2) การช่วยเสริมสร้างสมรรคภาพ ให้แก่ประเทศกำลังพัฒนาในอาเซียน ด้วยการให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนเพื่อลช่องว่าของระดับการพัฒนาในภุมิภาค ซึ่งที่ผ่านมาเป็นอุปสรรคต่อการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจและการรวมตัวกันฃของประชุาคมเอชียตวะันออกโดยญีปุ่นได้ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศต่างๆ ในอาเซียนโดยเฉพาะประเทศในอนุภุมิภาคลุ่มน้ำโขงในหลายรุปแบบ เช่น การพัฒนาสาธารณุปโภคและเทคโนดลยี การพัฒนการศึกษาและทรัพยากรบุคคล และการเสริมสร้างสมรรถนะ 3) ความร่วมมือด้านการเงินภายในภูมิภาค เพื่อสร้างเสถียรภาพของค่าเงินและเศราฐกิจในภูมิภาค เช่น นโยบายการทำให้เิงนเปยเป็นสากล ตลอดจนเพื่อตอบสองผลประโยชน์ของของญี่ปุ่นเองทั้งในสวนของภาคเอเชนและภาครัฐ เน่องจากการพึ่งพาอาศยทางเศราฐกิจระหว่างประเทศในภุมิภาคที่มีเครือข่ายการต้าการลงทุนของญี่ป่นุมีเป็นจำนวนมาก อีกทัี้งสถาบันการเงินของญี่ป่นุได้ปล่อยเงินกุ้จำนวนมหาศาลแก่ประเทศเหล่านี้เมื่อประเทศที่เป็ฯฐานการผลิตและลูกหนี้เวินกุ้ของญี่ปุ่นประสบวิกฤติ ญี่ป่นุก็ย่อมได้รับผลกระทบด้วยเชิ่นกัน ญี่ป่นุจึงต้องเข้าไปให้ความช่วยเหลือด้านการเงินเพื่อรักษาเสถียรภาพทางการเงินและกระตุ้มเศรษฐกิจของประเทศในภุมิภาค นอกจานี้ญี่ป่นุยังเล็งเห็นว่าการผูกติดค่าเงินสกุลต่างๆ ของเอเชียกับค่าเงินคอลลาร์สหรัฐไม่เป็นผลดีประเทศในภูมิภาคควรมทีกลไกช่ยเลหือตนเอง ดังนั้น การทำให้เงินเยนเป็นสกลจึงเป็นการทำให้เงินเยนเป็นเงินสกุลหลักที่ใ้ในธุรกรรมทางเศราฐกจิระหว่างประเทศซึ่งจะช่วยสร้างระบบลทางการเงินที่มีเสถียรภาพ ไมุ่กติดกับเงินสกุลเดียวและลดความเสี่ยงด้านเิงนทุนที่เป็นเงินสกุลต่างประเทศซึ่งจะเห็นได้ว่าญี่ปุ่นมีทั้งวิสัยทัศน์และบทบาทเด่นในการผลักดันการรวมตัวของเอเชยตะวันออกซึ่งบทบาทดังกล่าวย่อมเป็นการตอบสนองผลประโยชน์ของญีปุ่เองทั้งในส่วนของธุรกิจภาคเอกชน และภาครัฐที่ต้องการสร้างเกี่ยติภูมิขิงญี่ป่นุนประชาคมโลก แต่ในขณะเดียวกันถือได้ว่าบทบาทดังกล่าวจะก่อให้เกิดความเข้มแข็งทางเศราฐกิจอขงญีปุ่่นปละภูมิภาคในลักษณะผลประดยชน์ร่วมมือจากการพึงพาอาศัยกันระหวางประเทศในูมิภาค

            ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก ได้แก่ 1 นโยบายและบทบาทของญี่ปุ่และจีนในประเด็นการรวมตัวในภุมิภาคซึ่งต่างขึ้นอยุ่กับนโยบายและบทบาทของอีกฝ่ายหนึ่งเป็นอย่างมากโดยต่างฝ่ายต่างช่วงชิงบทบาทนำในการริเริ่มข้อเสนอต่างๆ 2. ทัศนะและท่าที่ที่แตกต่างกันของประเทศในอาเซียน +3 และความสนใจอย่างมากของประเทศภายนอกที่มีต่อความร่วมมืแอละการรวมตัวกันในเอเชียตะวันออก และ 3. ปัจจัยพื้นฐานของประเทศภายในภุมิาคซึ่งมีควาหลากหลายและแตกต่างกันมาก
           จากปัจจัยสำคัญข้องต้นการรวมตัวเป้นประชาคมเอเชียตะวันออกจะมีความแตกต่างจากสหภาพยุโรปที่มีการรวมตัวกันในเชิงลึกจนพัฒนาก้าวหน้าจนเป็นสหภาพทางการเมืองซึ่งเอเชียตะวันออกคงไม่สามารถเจริญรอยตามนั้นได้อย่างไรก็ตาม เอเชียตะวันออกจะรวมตัวและร่วมมือกันด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ เขตการต้าเสรี ความร่วมมือด้านการเงินและความร่วมมือเชิงหน้าที่ โดยท้ง 3 ส่วนนี้ มีพัฒนาการทีค่อนข้างดีในกรอบอาเซียน + 3 ซึ่งในปี 2550อาเซียน +3 ได้ออกแผนงานเพื่อความร่วมมืออาเซียน +3 ระหว่างปี 2550-2560 เพื่อกำหนดทิศทางในการเพิ่มความร่วมมือต่างๆ อีก้ดวยซึ่งเอเชียตะวันออกน่าจะมีการรวมตัวกันในลักษณะเฉพาะของัวเอง เนื่องจากยังมีความแตกต่างและข้อจำกัดอยู่มากแต่ก็ถือได้ว่า เป็นประบวนการความร่วมมือละภูมิภาคนิยมที่มีนัยสำคัญอันจะก่อให้เกิดประเดยชน์แก่ประเทศในภุมิาภคได้... ( บทความ "บทบาทของญี่ปุ่นในประชาคมเอเชียตะวันออกและนัยต่อประเทศไทย")

วันอาทิตย์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

ฺBuilding East Asia Economic Community

           การบูรณาการในเชิงลึกของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือ อาเซียน ยังไม่สามารถสร้างศักยภาพทางด้านการแข่งขันทางเศราฐกิจให้ทัดเทียมกับสหภาพยุโปห้อาเซียนจึงควรเริ่มต้านาร้างการบูรณาการในเชขิงกว้างอย่างจริงจังเป็นลำดับแรก โดยการขยายกรอบความร่วมมือไปสู่ ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวนออก เพื่อที่จะสามารถสร้างอำนาจต่อรองใเวทีเศรษฐกิจโลก ละสามารถพึ่งพากันและกันภายในภูมิภาคได้เองยามเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ทั้งนี้แนวทางการไปสู่การเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้น ต้องอาศัยการบูรณาการทางเศราฐกิจ เป็นตัวขัยเคลื่อน ต้องมีการจัดตังองค์กรที่มีกลไกในการดำเนินงานทางด้านเศราฐกิจและการเงินที่มีประสิทธิภาพ ตลาดจนถึงต้องสร้างจิตสำนึกในการเป็นประชาคมเศรษฐกิจและการเงินที่มีประสิทธิภาพ ตลาดจนถึงต้องสร้างจิตสำนึกในการเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก อย่างไรก็ดี หนทายงในการก้าวไปสู่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้นยังมีปัญหาอุปสรรคที่สำคัญอยู่หลากประการ ไม่ว่าจะเป็นปัฐหาความขัดแย้งของประเทศสมาชิก + 3 ปัญหาความเหลื่อมทางเศษฐกิจของประเทศสมาชิก ปัญหารการแย่งชิงความเป็นผุ้นำในระหว่างจีนและญี่ป่นุ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อการรวมกลุ่มในภุมิภาคซึ่งหากประเทศในภุมิภาคเอเชียตะวันออก และประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สามารถก้าวพ้นอุปสรรคปัญหาเหล่านี้ได้จะนำไปสู่การบูรณาการในเชิงลึกภายในภูมิภาคและระว่างภูมิภาคในด้านอื่นๆ ต่อไป
            ด้วยข้อจำกัดของสมาคมเศราฐกิจอาเซียน จากวิกฤตเศรษฐกิจ ค.ศ. 1997 ที่อาเซียนยังขาดความร่วมมือทางเศราฐกิจและกลไกทางการิงนที่มีประสิทธิภาพ ทำให้อาเซียนต้องหันไปขอความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นองค์กรที่ถูกควบคุมโดยชาติตะวันตก ส่งผลให้เมื่อประเทศในภูมิาคเอเชียและอาเซียนกุ้ยืมเงินจาก IMF แล้วต่างก็ถูกครอบงำทางเศรฐกิจจากชาติตะวันตก
            เอเชียตะวันออกต้องสร้างการบูรณาการที่เข้มแข็งและเป็นเอกภาพกว่าที่เป็นอยุ่โดยจะตองสร้างสำนึกร่วมกันและการเป็นเจ้าของร่วมกันที่มีจากภัยคุกคามทางวิกฤติเศราฐกิจด้วยกัน ดดยจะต้องมีการจัดตั้ง Asian Monetary Fund AMF เพื่อจะสามารถนำเงินกองทุนของเอเชียมาชวยเหลือประเทศเอเชียที่จะประสบกับปัญหาสภาพคล่องทางเศรษฐกิจ และเป็นการป้องกันไม่ให้วิกฤตการณ์ทางเศราฐกิจลุกลามเหมือนปี ค.ศ. 1997 ประกอบกับจะต้องผลักดันให้เกิดการรวมกันระหว่างเขตการต้าเสรีของจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ กับ AFTA เพ่อเป็นเขตการต้าเสรีเอเชีย
       
การเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก นั้นจะทำให้ภูมิภาคนี้กลายเป็นภูมิภาคที่มีศักยภาพทางเศราฐกิจที่ทัดเทียมกับสหภาพยุโรป สามารถที่จะพึ่งพาซึ่งกันและกันภายในภุมิภาคได้เอเงในยามที่เกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ
          การรวมกลุ่มที่สำคัญๆ ในภูมิภาคเอเชีย
          1. เอเปค APEC Asia Pacific Economic Cooperation เป็นองค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากการผลักดันของออสเตรเลียที่ต้องการสร้างพื้นที่บนเวทีเศราฐกิจของเอเชีย โดยมีวัตถุประสงค์พื่อเป็นเวทีในการหารือ แลกเปลี่ยน และสร้างความร่วมมือทางเศราฐกจิในภูมิภาค ซึ่งมีสามาชิกทั้งหมด 21 ประเทศ ที่มาจากหลากหลายภุมิภาคมีทั้ง เอเชีย ยุโรป โอเซียเนีย อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ จึงทำให้เป็นการยากที่จะสร้างความรุ้สึกร่วมกันของประเทศสมชิก อัน่งผลต่อการสร้างความเป็นประชาคมได้ เพราะแต่ละประเทศนั้นต่างก็มีความแตกต่างกันทั้งในด้านชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ที่ขาดความเป็นมาร่วมกัน ด้วยเหตุนี้จึงเป็นไปได้ยากในการที่จะสร้างการบูรณาการในเชิงลึกภายใต้กรอบความร่วมมือเอเปค..เอเปคกลายเป็นเวทีที่สหรัฐฯ เข้ามากดดันขยายอิทธิพลสมาบิกต้องยอมรับแนวทางของสหรัฐฯ และภายหลังวิกฤตเศราฐกิจเอเชีย เอเปคและสหรัฐฯ ไม่สามารถช่วยเหลือประเทศสมาชิกได้ ยิ่งไปกว่านั้น สหรัฐฯกลับเป็นแกนหลักในการต่อต้านแนวคิดการตั้ง Asian Monetary Fund AMF
           2. ACD Asia Cooperation Dialogue เป็นกรอบความร่วมมือที่เกิดึ้นจากการผลักดันของรัฐบาล ทักษิณ ชินวัตร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะให้เวทีในการสร้างความร่วมมือ และหารือกันในทางเศราฐกิจสำหรับภุมิภาคเอเชีย และหารือกันในทางเศราฐกิจสำหรับภุมิภาคเอเชีย ซึ่งโดยเมื่อพิจารณาถึงจำนวนสมาชิกของ ACD ในเอเชียทั้งหมดที่เข้ามาเป็นสมาชิกนั้นจะเห็นได้ว่า ACD มีสถานะเช่นเดียวกับ APEC ในประเด็นของการบูรณาการด้วยเหตุที่วาสมาชิกประเทศในเอเชียนั้นมีจำนวนรวมกันหลายสิบประเทศ และแต่ละประเทศถึงแม้ว่าจะมีความสัมพันธ์กันบ้างในทางด้านการต้าแต่ในด้านความร่วมมือทางเศราฐกิจนั้น ทั้งภุมิภาคเอเชียยังไม่มีการเชื่อมโยงความร่วมมือที่แนบแน่นและยาวนานทำให้ ACD ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ก็เนื่องจากว่า ACD นั้นเกิดมาจากความริเริ่มของไทย ซึ่งในมุมมองของประเทศเอเชียด้วยกันก็มองว่าไทยนั้นไม่มีศักยภพและอิทธิพลในการผลักดันและแสดงบทบาทนำบนเวที จึงส่งผลให้ไม่สามารถชักจูงประเทศในเอเชยเข้ามาร่วมมือภายใต้กรอบ ACD ได้อย่างจริงจัง
             APEC และ ADC เป็นกรอบความร่่วมมือที่มีข้อจำกัดอยุ่มาก เมื่อเปรียบเทียบกับการเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้น ในแง่ที่มองถึงความเป็ฯประชาคม นั่้นคือความรุ้สึกร่วมกันหรือความรู้สึกเป้นเจ้าของผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งผุ้เขียนเชื่อว่าจากประสบการณ์เกี่ยวกับวิกฤตเศราฐกิจทั้งในปี ค.ศ. 1997 และวิกฤตเศราฐกิจโลกในปัจจุบันจะสร้างในเอเชียตะวันออก ตระหนักถึงการปกป้องผลประโยชน์ทางเศราฐกิจร่วมกัน ดดยการสร้างการบูรณาการในเชิงบลึก คือ การมีเขตการค้าเสรีตะวันออกการเป็นตลาดร่วมการมีกลไกทางการเงินที่มีประสทิะิภาพ เช่น การมี AMF เพื่อแก้ไขปัญหาทางการเงินของภูมิภาค ส่วนในการบูรณาการเชิงกว้างนันมีความเห็นว่าจะต้องเริ่มจากรากฐานของ ASEAN +3 ..
           
  หากพิจารณาข้อจำกัดขงอการจัดตั้งประชาคมเศราฐกิจอาเซียนบนเวทีเศรษฐกิจโลกนั้นมีอยู่หลายประการ กล่าวคือ ศักยภาพเศรฐษกิจของประเทศสมาชิก โดยเฉพาะระหว่างกลุ่มสมาชิกดั้งเดิมกับกลุ่มสมาชิกใหม่ที่เข้ามาภายหลัง จอกจากนีการที่อาเซียนพึ่งพาตลาดนอกภูมิภาคเป็นส่วนใหญ่ส่งผลต่อการก้าวไปสู่การเป็นตลาดร่วมของอาเซียน ซึ่งอาจจะทำให้เป้าหมายในกาดำเนินการดัะงกล่าวมีความล่วช้าออกไป ทั้งนี้อาเซียนจะต้องเร่งสร้างกระบวนการบูรณาการทางเศราฐกิจ โดยแสวงหาความร่วมมือจากกลุ่มประเทศภายนอกขอบเขตของอาเซียนเอง โดยเฉพาะจากจีน ญี่ป่นุ และเกาหลี ซึ่งจะเป็นการบูรณาการทั้งเชิงกว้างและลึก เพื่อสร้างกลุ่มเศราฐกิจที่มีขนาดใหญ่ที่สามารถแข่งขขันบนเวทีเศราฐกิจโลกได้ ซึ่งแม้ว่าอาเซียนจะมีกรอบความร่วมมือในด้านเศราฐกิจกับประเทศจีน เกาหลี และยี่ปุ่น ภายใต้กรอบ ASEAN +3 หากแต่โครกงสร้างดังกล่าวก็ยังไม่มีศักยภาพเพียงพอที่จะชับเคลื่อนพลวัตรทางเศราฐกิจที่สามารถแข่งขันกับกลุ่มเศราฐกิจอื่นๆ บนเวทีโลกได้
               จากสถานการณ์ดังกล่าว การก้าวไปสุ่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกจึงเป็ฯอีกทางเลือกหนึ่งที่จะสร้างความเข้มแข็งทางเศราฐกิจให้แก่กลุ่มประเทศในภุมิภาค ดดยการจัดตั้งเขตการต้าเสรีเอเชียตะวันออก และการเป็นตลาดร่วมซึ่งนอกจากจะเป้นการเพ่ิมศักยภาพและอำนาจในการต่อรองแล้ว ยังเป็ฯการพึ่งพาซึ่งกันและกันภายในภูมิภาคได้เป็นอย่างด ดดยอาศัยกลไกการเงินที่มีประสิทธิภาพโดยผ่าน AMF ทั้งนี้การจัดตั้งประชาเศรษฐกิจเอเชียตะวันออกจะต้องสร้างความรู้สึกของการเป็นเจ้าของ
ร่วมกัน หรือความรุ้สึกร่วมมกันภายต้ภัยคุกคามจากวิกฤตเศรษฐกิจ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจหใ้แก่ประเทศสมาชิกอยากเข้ามามีส่วร่วมมากขึ้น อันจะเป็นพลังขึบเคลืื่อนองค์กรให้มีความเข้มแข็.และมีพลงัตรอย่างต่อเนื่องมิฉะนั้นแล้วแาจจะมีสถานภาพเช่นเดียงกับ APEC หรือ ACD ที่ไม่มีบทบาทเด่นชัดในทางปกิบัติ เนื่องจากประเทศสมาชิกขาดความรุ้สึกเป็นเจ้าของร่วมกัน จึงไม่มีแรงผลักดันในการสร้างความร่วมมือให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
                อย่างไรก็ดี การก้าวไปสู่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้นจำเป้นต้องอาเศัยกรอบความร่วมมือ ASEAN + 3 เป็นพื้นฐานเหนื่องจากภายใต้กรอบความร่วมมือ ASEAN +3 นั้นมีกระบวนการพัฒนาที่จะนำไปสู่การจัดตั้งเขตการต้าเสรีเอเชียตะวันออก นอกจากนี้ภายใต้กรอบความร่วมมือ ASEAN +3 นั้นมีกลไกการดำเนินงานที่เปิดโอกาศใหผุ้นำประเทศ เจ้าหน้าที่ระดับสุง ตลอดจนคณะทำงานได้ร่วมประชุมเพื่อปรึกษาหารือถึงประเด็นสำคัญๆ ทั้งทางด้านการเมือง เศรษบกิจและสังคม อันเป็นสวนความสำคัญในการสร้างความเข้าใจระหว่างกันให้ดีขึ้น และนำหปสู่การปรับโครงสร้างภายในเพื่อรองรับการบูรณาการไปสู่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก
                 สำหรับแนวทางการบูรณาการทางเศรษฐกิจ นั้นปัจจัยสำคัญสองปะการที่เป็นตัวเร่งในการรวมตัวกันระหว่าง อาเซียนและ อาเซียนบวกสาม นั้นคือ แนวโน้มของวิกฤตเศราฐกิจดลกในปัจจุบันที่กำลังทวีความเลงร้ายจนกลายเป็นแรงผลักดันให้เกิดประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกขึ้น และอีกประการคือ กระแสการรวมกลุ่มทางเศราฐกจิที่เป็นตัวเร่งให้ อาเซียนบวกสาม ต้องรวมกลุ่มกันให้แข็งแกร่งมากขึ้น เพื่อสร้างอำนาจต่อรองที่มีประสิทธิภาพ

         - "ความเป็นไปได้แลข้อจำกัดของการสร้างประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก" ,วรางคณา ก่อเกี่ยรติพิทักษ์.

             

วันเสาร์ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Economic Institute for ASEAN and East Asia : ERIA

           บทบาทของญี่ปุ่นในการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการสร้างความเย้มแบ็งและการบูรณาการทางเศราฐกิจของเอเซียตะวันออก ดดยผ่านการใหความช่วยเหลือจาก "สภาบันวิจัยทางเศรษฐฏิจเพื่ออาเซียนและเอเซียตะวันออก" ซึ่งเป็นองค์การระหว่างประเทศที่สำคัญที่มีหน้าที่นการทำวิจัยเพื่อสนับสนุนและเสริมสร้างความเข้มแข็งของประชาคมเอเชียตะวันออก
         ญี่ปุ่นได้เสนอให้มีการก่อตั้ง EARI และให้วงระมาณสนับสนุนเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเผยแพร่องค์ความรุ้เกี่ยวกับการพัฒนาที่สอดคลอ้งไปกับผลประโยชน์ทางเศราฐกิจของญี่ป่นุ ดดยเฉพาะอย่างยิ่งบริษัทเอกชนของญี่ป่นุที่ดำเนินการลงทุนอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มานานแล้ว
           
 สถาบันวิจัยทางเศราฐฏิจเพื่อเซียนและเอเชียตะวันออก มีสถานะเป็นองค์การระหว่างประเทศและมีเป้าหมายในการสนับสนุนการทำงานของสำนักเลขาธิการอาเซียนในการทำงิจัยและออกข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย รวมไปถงการจัดทำโครงการเพ่ิมศักยภาพ เพื่อเพิ่มระดับความสามารถด้านการทำวิจัยเชิงนโยบายให้กับประเทศพัฒนาน้อยที่สุด บทบาทของ ERIA ด้านการทำวิจัยนั้นครอบคลุมหลายมิติ ทั้งเรื่งเศราฐกิจ แารเปิดเสรีทางการต้าประชาคมเศราฐกิจอาเซียน ความตกลงหุ้นส่วนทางเศราฐกิจระดับภุมิภาค ระบบสาธารณูปโภค วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พลังงาน และด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นเหล่านี้ครอบคลุมหลักสำคัญของการพัฒนาด้านเศรษฐกิจทั้งระดับรัฐและระดับภุมิภาค และทำให้เราเห็ฯาพกว้างว่ายุทธศาสตร์ของ ERIA นันเนิ้นไปที่เรื่องการสนับสนุนการก่อตั้ง AEC การสนับสนุนให้อาเซียนเป็นผุ้ขับเคลื่อนหลักของกระบวนการบูรณาการทางเศราฐกิจระดับภุมิภาค การพยายามลดช่องว่างของการพัฒนาในเอเชียตะวันออก และการพยาบามเพ่ิมความรู้สึกของประชาคมในเอเชียตะวันออก ประเด็นด้านการวิจัยเหล่านี้นั้นสอดคล้องและสนับสนุนซึ่งกันและกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่า่ว แต่ ERIA ก็ยังถูกตั้งำถามต่อสถานะความเป้ฯกลางและความเป็ฯอิสระขององค์กรที่จะไม่ขึ้นกับประเทศใดประเทศหนึงเป็ฯสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นที่เป็นผุ้เสอนให้มีการจัดตั้ง ERIA และการให้งบประมาณสนับสนุนจำนวนมหาศาลเพื่อใช้ในการดำเนินกิจการและการทำวิจัยขององค์กร
               ผลงานด้านการวิจัยของ ERIA ได้รับการยอมรับในเวทีระหว่างประเทศ สภาบันวิชาการอย่าง มหาวิทยาลัยเพนนิวาเนีย ประเทศสหรัฐฯ ได้จัดอันดับคลังสมองที่อยู่ในกลุ่ม Top International Economics Think Tanks อันดับที่ 31 ของดลก อีกทั้งยังได้จัดให้ ERIA เป็ฯอันดับที่ 24 ของ Best Think Tank Network  และเป็นคลังสมองอันดับที่ 17 ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแถบแปซิฟิก การได้รับการยอมรับถึงบทบาทของ ERIA ในเวทีระหว่างประเทศดดยเฉพาะด้านความสามารถในการเป็นคลังสมองในระดับโลกและระดับภูมิภาคสะท้อนให้เห็นความสำคัญในฐานะที่เป็นคลังสมองที่สำคัญที่ช่วยสนับสนุนการทำงานของประชาคมเอเชียตะวันออกโดยเแพาะในมิติเศรษฐกิจและการพัฒนา...
               การก่อตั้ง ERIA นั้นเป็นความพยายามของญี่ปุ่นในการที่จะแสดงบทบาทนำในฐานะที่เป็นผู้นำทางปัญญาของภูมิภาคเอเชียตะวันออก ก่อนจะมีการจัดตั้ง ERIA อย่างเป็นทางการ อาจารย์จามหาวิทยาลัยและบุคลากรจากหน่วยงานราชการของประเทศญี่ปุ่นที่มีส่วนอย่างมากในการวาแผนและจัดตั้ง ERIA ได้เดินทางมาติดต่อกับอาจารย์ในมหาวิทยาลัยในประเทศต่างๆในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อขอความเห็นด้านวิชาการ รวมไปถึงการสนับสนุนด้านวิชาการจากอาจารย์ในมหาวิทยาลัยว่าจะสนับสนุนการก่อตั้ง ERIA หรือไม่ และจะเข้าไปมีส่วนร่วมในการทำงิจัยของ ERIA ได้อย่างไร รวมไปถึงการประชุมเพื่อวางแผนออกแบบองค์กร และวางเป้าหมายขององค์กร
             ERIA ยังถูกมองว่าเป็นความพยายามของรัีฐบาลญี่ป่นุในการเสนอให้มีการก่อตังเพื่อมาคามอำนาจด้านการแสดงบทบาทเป็นผุ้นำทางด้านความรุ้ ซึ่งในปี 2003 รัฐบาลจีนได้สนับสนุนให้มีการก่อตั้ง The Network of East Asian Think - Tanks (NEAT) ซึ่งอยุ่ภายใต้กรอบความร่วมมือ ASEAN +3 ที่่รัฐบาลจีนให้ความสำคัญ เป้าหมายหลักของ NEAT คือการพยายามให้การสนับสนุนด้านความรู้และการให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในประเด็นที่เกี่ยวข้องเพื่อประสานความร่วมมือในเอเชียตะวันออกภายใต้ NEAT นี้เองที่ทำให้รัฐบาลญี่ป่นุมองว่า NEAT เป็นความพยายามของจีนในการแสวงหาตำแหน่งและบทบาทในการเป็นผุ้นำทางความรุ้แลปัญญาของเอเชียตะวันออกดังนั้นญี่ป่นุจึงจำเป็นต้องมีบทบาทในจลักาณเช่นเดียวกันเพื่อคานบทบา ของจีนในมิติด้านการให้การสนับสนุนการทำงิจัยเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเอเชียตะวันออก
            อาจกล่าวได้ว่า สถาบนวิจัยระหว่างประเทศหรือคลัวสมองเปรียบเสมือนสมองและแขนขาของรัฐใดรัฐหนึ่ง หรือเป็นหน่วยงานที่ทำวิจัยให้กับประเทศสมาชิกที่ให้การสนัยสนนุสถาบันนั้นๆ ความมีอิสระทั้งทางการบริหารและการทำวิจัยของสถาบันวิจัยเช่นนี้แม้จะเป็นประเด็นหลักที่ทุกสภาบันให้ความสำคัญในฐานะที่มันเป็นเงื่อนไขเบื้องต้นของการกล่าวอ้างว่าตนเองนั้นมีอิสระ เป็นกลาง มีความชอบธรรม และมีคุณสมบัติของความเป็นวิชาการเชิงสถายันเหนือการเมืองใดๆ แต่ในความเป็นจริงข้อคิดเห็นหรือข้อกล่าวอ้างดังกล่าวอาจถูกปฏิเสธจากบุคคลภายนอกที่มองเข้าไปยังองค์กรนั้นๆ หรือแม้แต่คนภายในองค์การกันเอง
         บทบาทของ ERIA ที่มีใน EAS เพื่อสนับสนนุการก่อตั้ง EAC และการจัดการประเด็นปัญหาต่างๆ ระดับภูมิภาคได้ทำให้ ERIA ได้รับการยอมรับมากขึ้นจากประเทศสมาชิกและสังคมระหว่างประเทศ แต่ ERIA ได้รับการยอมรับมากขึ้นจากประเทศสมาชิกและสังคมระหว่างประเทศ แต่ ERIA ก็ไม่ใช่ข้อยกเว้นพิเศษที่ปราศจากการวิพากษ์วิจารณ์จากรัฐ องค์กา หรือบุคคลอื่นๆ เพราะภาพที่สะท้อนออกมาให้เห็นต่อสังคมระหว่างประเทศก็คือ ERIA เป็นเครื่องมือที่รัฐบาลญี่ป่นุก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นแขนขาในการทำงิจัยหาข้อมูลส่งไปให้รัฐบาลญี่ปุ่น หรือเพื่อเผยแพร่องค์ความรุ้วิจัยที่มีลักษณะที่เอื้อต่อผลประโยชน์ของญี่ปุ่น และนำมาเป็นกรอบคิดหลักเพื่อใช้พัฒนาเอเชียตะวันออก
           บทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นในฐานะผุ้ที่ให้การสนบสนนุการจัีดตั้ง ERIA เพื่อแสดงบทบาทเป็นผุ้นำทางปัญญาและความรุ้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกจึงสะท้อนให้เห็นความพยายามของญี่ปุ่นในการเป็นเจ้าแห่งปัญญาระดับภุมิภาค ในการสนับสนนุนการก่อตั้งสถาบันวิจัยที่มีหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลและเสนอแนะนโยบายต่ออาเซียน และการให้การฝึกอบรมกับปรเทศสมาชิกที่ยังมีความพร้อมน้อยกว่าประเทศสมาชิกอื่นๆ ด้วยบทบาทนี้เองทำให้ ERIA ถูกมองว่าไม่มีความเป็นกลางเพราะมุ่งสนับสนนุการวิจัยที่เอื้อต่อประโยชน์ของระบบเศราฐกิจของญี่ปุ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อบริษัทเอกชนของญี่ป่นุที่ทำงานอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทำให้รัฐบาลญี่ป่นุมีช่องในการที่จะเข้ามาแสดงบทบาทเป้ฯผุ้นำในการพัฒนเอเชียตะวันออก
           นักวิชาการที่ทำงานอยู่ใน ERIA และที่ทำงานอยุ่ในหน่วยงานอื่นๆ ทั้งในญี่ป่นุและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่างตระหนักดีถึงภาพลักษณ์ที่ญี่ป่นุมีเหนือ ERIA และได้กลายเป็นข้อเสนอที่ถูกสะท้อนออกามาว่าควรจะมีการปรับปรุงหรือเปิดโอกาสให้ตัวแสดงอื่นๆ ได้เข้าไปมีบทบาทในการบริหารองค์กรหรือการทำวิจัยของ ERIA มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อเป็ฯการปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์ของ ERIA ให้มีความเป้นกลางและเป็นการทำให้ ERIA เป็นองค์การระหว่างประเทศของเอชียตะวันออกที่จะสร้างประดยชน์ให้กับประเทศสมาชิกทุกประเทศอย่างแท้จริง... ( "ประชาคมเอเชียตะวันออกภายใต้ ERIA : บทบาทของญี่ป่นุต่อคลังสมองกับการพัฒนาประชาคมเอเชียตะวันออก", นรุตม์ เจริญศร๊, คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่"

วันศุกร์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

The Effect of ASEAN And The ASEAN + 6

              ผลจากการรวมกลุ่มทางการค้าของกลุ่มอาเซียนและกลุ่ม +6 พบว่า ผลติตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศของประเทศผุ้ส่งออกและประเทศผุ้ำเข้ามีต่าเพ่ิมขึ้นกว่าก่อนรวมกลุ่มทางการต้า แสดงว่าเกิดการเพิ่มปริมาณทางการค้า ส่วนตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับมูลค่าการส่งออก คือ ผลิตภัณฑฺ์มวลรวมภายในประเทศของประเทศผุ้ส่งออกและผุ้นำเข้า รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผู้ส่งออกและประเทศผู้นำเข้าและอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศผุ้ส่งออก ส่วนตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับมูลค่าการส่งออกคือ ระยะทางระหว่างประเทศ การนับถือศาสนาเดียวกัน ประเทศที่มีภุมิศาสตร์เป็นเกาะและการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ ส่วนตัวแปรที่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ประเทศที่มีพรมแดนติดกันและวิกฤตเศรษฐกิจ
            ในปัจจุบันเกือบทุกประเทศ รวมถึงประเทศไทย เป็นประเทศที่มีระบบเศราฐฏิจแบบเปิดการบริโภค การลงทุน การต้าทั้งในประเทศ และระหว่างประเทศ ต่างมีบทบาทสำคัญต่อระบบเศราฐกิจของแต่ละประเทศเป็นอย่างมาก ทุกประเทศต้องพึ่งพาและร่วมมือกัน โดยเฉพาะหากมีกรรวกลุ่มทงเศราฐกิจ จะทำให้กลุ่มประเทศสมาชิกมีอำนาจต่อรองกับกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วมากยิ่งขึ้น สามารถช่วยลดอุปสรรคในการกีดกันทางการต้าของกลุ่มประเทศใหญ่ๆ ได้ อีกทั้งเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน ทางการค้ากับกลุ่มประเทศอื่นๆ ได้เป็นอย่างดี....
            การตกลงทางการค้าของกลุ่มอาเซียน +6 ประกอบด้วยสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ + จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ และอินเดีย
             ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 กลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ได้มีการลงนามทำความตกลงเปิดเสรีทางการค้า โดยลดภาษีสินค้าเหลือร้อยละ 0 นั้น ทำให้การลงนามทำความตกลงเปิดเสรีทางการต้า โดยลดภาษีสินค้าเหลือร้อยละ 0 นั้น ทำให้มูลค่าการส่งออกของกลุ่มประเทศอาเซียนมีมูลค่าุขึ้นหากไม่นับรวมวิกฤติสนเชื่อซับไพรม์หรือวิกฤตแฮมเบอร์เการ์ในประเทศสหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. 2550-2551 ซึ่งเป็นประเทศมหาอำนาจทางเศราฐกิจของโลก แลเป็นประเทศคุ่ค้ารายใหญ่ของกือบทุกประเทศรวมถึงประเทศอาเซียนเกือบทุกประเทศทำให้กำลังซื้อสินค้านำเข้าของสหรัฐอเมริกาลดลง ผลกระทบนี้ส่งผลต่อเศราฐกิจโลกเป็นอย่างมาก
             เมื่อเรียบเทียบมุลค่าและสัดส่วนการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 พบว่า มุลค่าการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนมีมุลค่าสุงสุดเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ส่วนประเทศนอกกลุ่มอาเซียนที่มีมูลค่าการส่งออกสูงสุด คือ สาะารณรัฐประชาชนจีน ญี่ป่นุ เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ตามลำดับ ดดยมูลค่าการส่งออกของสาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศ ญี่ปุ่นใกลเคียงกัน เนื่องจากทั้งสองประเทศเป็นประเทศคู่ค้าหลักอันดับต้นๆ ของทุกประเทศดในกลุ่มอาเซียน รวมถึงมีการลงทุนตั้งฐานการผลิตในเกือบทุกประเทศของอาเซียน เพราะฉะนั้นการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมมีปริมาณการค้าสูงที่สุด ส่วงนประเทศที่มูลค่าการส่งออกลำดับถัดมา คือ ประเทศเกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ หากเปรียบเทียบสัดส่วนมูลค่าการส่งออกของแลุ่มประเทศอาเซียน +6 มีสัดดส่วนเพ่ิมขึ้นและอยู่ในทิศทางบวก ยกเว้น พ.ศ. 2552 ซึ่งอยุในช่วงรับผลกระทบของวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ ของสหรับอเมริกา ทำให้มูลค่าและสัดส่วนกานส่งออกของทุกประเทศลดลง และอยุ่ในทิศทางบล หลังจาก พ.ศ. 2552 ผลกระทบของเศราฐกิจสหรัฐอเมิรกาที่มีต่อประเทศต่างๆ มีแนวโน้มฟื้นตัวขึ้นทำให้เศราฐกิจของประเทศนั้นๆ ดีขึ้น ดังนั้นมูลค่าการส่งออกแลสัดส่วนการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนไปกลุ่มอาเซียน +6 เร่ิมกลับเชข้าสู่สภาวะปกติ และในอนาคตมีแนวโน้มดีขึ้นกว่าปัจจุบัน
             มูลค่าและสัดสวนการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ในปี พ.ศ. 3555 สัดส่วนการส่งออกเมื่อเทีียบกับมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของปี พ.ศ. 2555 กลุ่มประเทศอาเซียนมีสัดส่วนการครองตลาดของการส่งออกสูงสุดรองลงมา คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ป่นุ เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ตามลำดับ
            เมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนมุลค่าการส่งออกแยกตามรายประเทศระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 พบว่า สัดส่วนมูลค่าการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนมากว่ากลุ่มอเซียน +6 และสัดส่วนมูลค่าการส่งออกไปสาธารณรับประชาชนจีนและประเทศญี่ปุ่น มีสัดส่วนการส่งออกมากที่สุด เนื่องจากทั้งสองประเทศนี้ทำการต้ากับกลุ่มประเทศอาเว๊นมานาน รวมถึงมีฐานการผลิตอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน ดังนั้นมูลค่าและสัดส่วนการนส่งออกจึงมีมกว่าอีก 4 ประเทศที่เหลือ ในอนาคตเมื่อรวมกลุ่มประชาคมเศราฐกิจอาเซียนจะสามารถเพ่ิมปริมาณการสน่งออกได้อีก
           กลุ่มประเทศ + 6 จึงเป้ฯกลุ่มปะเทศคู่ค้าที่มีความสำคัญต่อกลุ่มอาเซียนเป็นอย่างย่ิงเนื่องจากประเทศเหล่านี้มีฐานการผลิตกระจายตามกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นจำนวนมาก อีกทั้งมีภูมิศาสตร์ใกล้ชิดกับภุมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถลดต้นทุนการขนส่ง จึงทำให้สัดส่วนมูลค่าการส่งออกกับกลุ่มอาเซียน +6 ถือเป็นสัดส่วนที่สุง รองจากสัดส่วนระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนและกลุ่มอาเซียน +6  โดยเฉพาะวิเคราะห์ผลของก่อนการรวมกลุ่มและหลังการรวมกลุ่มเศราฐกิจ ซึ่งได้ลงนามทำความตกลงเขตการต้่าเสรีอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ซึ่งลดภาษีการนำเข้าและการส่งออกของสินค้าจำนวนหลายรายการ..
            ทฏษภีการต้าระหว่างประเทศ มีบุคคลหลายท่านได้เขยนถึง แวคิดการต้าระหว่างประเทศ ดดยพัฒนาแนวคิดมาจากนักเศราฐกศาศตร์สำนักคลาสสิก คือ อดัม สมิธ และเดวิด ริคาร์โด้ กล่าวถึงข้อสมมติฐานของทฤษฎีการต้าระกว่างประเทศ ดังนี้
       
- ตลาดการแข่งขันอย่างสมบูรณ์
           - ปัจจัยการผลิตที่ใช้คือมีเพียงแรงงานเท่านั้น และต้องเป็นแรงงานที่มีประสิทธิภาพใหนกาผลิตเท่ากันหมด ต้นทุนในการผลิตคิดจาแรงงาน ส่วนราคาสินค้าที่แลกเปลี่ยนภายในประเทศ ขึ้นอยุ่กับจำนวนชั่วโมงการผลิตสินค้าของแรงงาน
           - การต้าระหว่างประเทสเกิดขึ้นระหว่าง 2 ประเทศ และสินค้าที่ซื้อขายแลกเปลี่ยนกันมีเพียง 2 ชนิด
           - ไม่มีข้อจำกันทางการต้าและไม่มีค้าขนส่ง...
            ทฤษฎีการได้เปรียบอย่างสมบูรณ์ แนวคิดทฤษฎีการได้เปรียบอย่างสมบูรณ์หรืออย่างเด็ดขาดนี้ เป็นแนวคิดของ อดัม สมิธ  ซึ่งได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับหลักแบ่งงานกันทำ กล่าวคือ แต่ละคนมีหน้าที่ในการผลิตสินค้าเฉพาะอย่างแทนที่ จะทำหน้าที่ผลิตปมกทุกอย่าง การแบ่งงานกันทำ ช่วยให้เกิดความชำนาญ และสามารถผลิตสินค้าได้ในปริมาณที่ีมากขึ้น การต้าระหว่างประเทศภายมต้ทฤษฎีการได้เแรียบอย่างสมบูรณ์ได้อธิบายว่า ประเทศใดประเทศหนึ่งจะผลิตสินค้าที่ตนมีความได้เปรียบอย่างสมบุรณ์แล้วนำมาแลกเปลี่ยนสินค้าของอีกประเทสหนึค่ง การที่ประเทศมีควารมได้เปรียบอย่างสมบุรณืในการผลิตสินค้าชนิดใด แสดงว่า ประเทศนั้นสามารถผลิตสินค้าชนิดนั้นด้วยต้นทุนการผลิตที่ถูกกว่าอีกประเทศหสึ่ง จากทฤษฎีสามารถสระปได้ว่า ประเทศใดผลิตสินคึ้าที่ตนได้เปรียบอย่างสมบูรณ์ได้นั้น ต้องมีต้นทุนการผลิตสินค้าชนิดนั้นด้วยต้นทุนที่ถูกกว่าประเทศอื่น
            ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ ตามแนวคิดของ ริคาโด้ ได้ อธิบายถึง ทฤษฎีการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบว่า สาเหตุของการต้าระหว่างประเทสไม่ได้ขึ้นอยู่ว่า ประเทศนั้นได้เปรียบดดยสัมบูรณ์เสมอไป แต่สามารถขึ้นอยู่กับการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ โดยอธิบายแนวคิดว่า ประเทศ 2 ประเทศ เมื่อมีการต้าขายระหว่างประเทศสามารถเกิดขึ้นได้ หากประเทศนั้นเลือผลิตสินต้าที่ตนถนัดมีประสทิะิภาพสูงกว่าและเสียยเปรียบน้อยที่สุด เมื่อเทียบกับสินค้ัาชนิดนั้นในอีกประเทศหนึ่ง สามาารถสรุปได้ว่า การได้เปรียบโดยเปรียบยเทีนบ หมายถึง ความสามารถของประเทศใดประเทศหนึ่งในกาผลิตสินค้า และบริการด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่าประเทศอื่นการต้าระหว่างประเทศช่วยให้ประเทศคู่ค้าทั้งสองได้ประโยชน์มากขึ้น ก็ต่อเมื่อแต่ละประเทสมุ่งผลิตสินค้าทีตนมีความเชี่ยวชาญเฉพาะ และ้วนำมาแลกเปลี่ยนกัน
             การต้าระหว่างประเทศตามทฤษฎีความได้เปรียบดดยสัมบุรณ์นีั มีผลให้ทุกประเทศได้รับผลประดยชน์เพ่ิอมขึ้น คือ มิสินค้าบริโภคแทบทุกชนิดราคาถูก จำนวนผลผลิต โดยรวมของโลกสูงขึ้น เกิดจากการแบ่งงานกันทำระหว่างประเทศต่างๆ ในโลกเกิดความชำนาญเฉพาะอย่างและสวัสดิการของประชากรโลกสูงขึ้น ในทรรศนะของ อดัม สมิธ แตกต่างจกาสมัยคลาสสิก ในเรื่องแรงงานระหว่างประเทศต่าง ๆ ซึ่งสมัยคลาสสิก มีปัจจัยการผลิตและทรัพยากรในแต่ละประเทศอย่างมาก....
            ผลก่อนและหลังการรวมกลุ่มทางการค้าระหว่างประเทศอาเซียน มีดังนี้
            - ก่อนรวมกลุ่มทางการค้า ตัวแปรที่มีอทิศทาเดีวชยวกับมูลค่าการส่งออก คือ รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผุ้ส่งออก รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผุ้นำเข้า อัตราแลกเปลี่ยนของประเทศผุ้ส่งออก และประเทศที่มีพรมแดนติดกัน โดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ตัวแปรที่มีทิศทางตรงกันข้ามกับมุลค่าการส่งออก คือผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศของผุ้ส่งออก ระยะห่างระหว่างสองประเทศ และประเทศที่มีภุมิศาสตร์เป็นเกาะ ดดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ตัวแปรที่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ผลิตภัณฑฺ์มวลรวมภายใรปะเทศของผู้นำเข้า การนัถือศานาเดียวกัน และวิกฤตเศรษฐกิจ
            - หลังรวมกลุ่มทางการต้า ตัวแปรที่มีทิศทางเดี่ยวกับมูลค่าการส่งออก คือ ผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายใรปะเทศของผุ้ส่งออก รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผุ้ส่งออก รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผู้นำเข้า และประเทศที่มีพรมแดนติดกันโดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ส่วนตัวแปรที่มีทิศทางตรงกันข้ามกับมูลค่าการส่งออก คื ผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายใรปะเทศของผุ้นำเข้า ดดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 90 ระยะทางระหว่างสองประเทศ และประเทศที่มีภุมิศาสรตร์เป็ฯเกาะ โดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ส่วนตัวแปรที่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ คือ อัตราแลกเปลี่ยนของผู้ส่งออก การนับถือศาสราเดียวกัน และวิกฤติเศรษฐกิจ
           - การเปลี่ยนแปลงก่อนและหลังรวมกลุ่ทางการต้า ผลการศึกษาการรวมกลุ่มทางการต้าระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน พบว่า เกิดการเพ่ิมประมาณทางการต้า โดยดูจากค่าสัมประสิทธิ์หรือค่าความยืดหยุ่นของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของผุ้ส่งออก ว่าค่าสัมประสิทธิ์หลังรวมกลุ่มทางการต้ามากว่าก่อนรวมกลุ่มทางการต้า จากผลการศึกษาพบว่า ค่าสัมประสิทธิ์ของหลังรวมกลุ่มทางการต้ามากว่าก่อนรวมกลุ่มทางการต้าร้อยละ 0.94 อีกทั้งเมื่อเปรียบเทียบมุลค่าการต้ากับประเทศคู่ค้าอาเซียนค้าขายระหว่างกันเป็นสัดส่วนมากที่สุด ส่วนตัวแปรที่สะท้อนต้นทุนค่าขนส่ง คือ ตัวแปรหุ่น ประเทศที่มีพรมแดนติดกัน และประเทศที่มีภุมิศาสตร์เป็นเกาะ หลังรวมกลุ่มทางการต้ ค่าสัมประสิทธ์ของตัวแปรทั้งสองลดลง แสดงว่า การรวมกลุ่มทางการค้า ช่วยลดอุปสรรคทางการค้าทด้านต้นทุนขนส่งได้เป็นอย่างดี
             การประมวลผลความแตกต่างก่อนและหลงรวมกลุ่มทางการค้า พบว่า หลังรวมกลุ่ทางการต้าระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียน ส่งผลให้เกิดการเพ่ิมปริมาณทางการต้า โดยตัวแปรที่สะท้อนกำลังการผลิตของผุ้ส่งออก และอำนาจการซื้อของประเทศผุ้นำเข้าสูง คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของประเทศผุ้ส่งออกและประเทศผุ้นำเข้า โดยดุจาค่าสัมประสิทธิ์ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของผุ้ส่งออกและผุ้นำเข้า เพิ่มขึ้นกว่าก่อนรวมกลุ่มทางการค้าร้อยละ 0.10 และร้อบละ 0.0016 ตามลำดับ ดดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 และร้อยละ 90 ตามลำดับ
           ผลสรุปจากการวิจัยพบว่า ก่อนและหลังรวมกลุ่มีควาแตกต่างกน เต่ค่า F ที่ได้จากการคำนวณใกล้เคียงกับค่า F ที่เปิดจากตาราง เนื่องจากการทำควารมตกลงเขตการต้าเสรีอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ได้ลงนามความตกลงเขตการต้าเสรีเพียง 5-6 ปี เท่านั้น มีเพียงประเทศจีนที่ได้ลงนามความตกลงเขตการต้าเสรีมา 10 ปี ดังนั้นความแตกต่างของก่อนและหลังการรวมกลุ่มทางการค้าจึง "ไม่เห็นความแตกต่างที่ชัดเจน"...
       
                - "ผลของการรวมกลุ่มทางการค้าระหว่างประเทศอาเซียนกับกลุ่มประเทศ +6", วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง, โดย "เพชรไพลิน สายสิงห์", 2557.

วันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

ASEAN-India Free Trade Agreement - AIFTA

                ปี พ.ศ. 2545 ผู้นำประเทศอาเซียนและอินเดียเห็นขอชให้มีการเจรจาจัตั้งเขตการต้าเสรีอาเซียน-อินเดีย และใน ปี พ.ศ. 2546 ทั้งสองฝ่ายได้ลงนามกรอบความตกลงวาด้วยความร่วมมือทางเศราฐกิจที่ครอบคลุมด้านต่่าง เพื่อเป็นกรอบแนวทางและแผนงานในการจัดตั้งเขตการต้าเสรีอาเซียน-อินเดีย ที่จะครอบคลุมถึง กาเรเเปิดเสรีการต้าสินค้ากรต้าบริการ การลงทุน และกลไกระงับข้อพิพาท รวมทั้งส่งเสริมควาร่างมมือในการอำนวนทางการต้า ดดยเร่ิมเจรจาจัดทำความตลงว่าด้วยการต้าสินค้าเป็นฉบับแรกในในพี พ.ศ. 2552 อาเซยนและอินเดียได้ลงนามความตกลฃงเขตการต้าเสรีและมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม พงศ. 2553 อาเซียนและอินเดียได้ลงนามความตกลงเขตการต้าเารีและมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2553 กับประเทศอินเดีย ไทย สิงคโปร์ และ มาเลเซียน ส่วนประเทศที่เหลือ คอื อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน เวียดนาม ลาว กัมพูชา และพม่า มีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2553
              แนวทางการเจรจา ในปี พ.ศ. 2559 อินเดียและประเทศอาเซียนจำนวน 5 ประเทศประกอบดวย ประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีน และบรูไน จะยกเลิกภาษีศุลกากรของสินค้าโดยรวมประมาณร้อยละ 80 ของรายการสินึ้าทั้งหมด ส่วนประเทศสมาชิกอาเซียนที่เหลือ คือ กลุ่ม CLMV ประกอบด้วย ประเทศกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม จะยกเลิกภาษีภายหลัง ปี พ.ศ. 2564 ส่วนระหว่างประเทศฟิลิปปินส์ และอินเดีย จะยกเลิกภาษีภายน ปี พ.ศ. 2562 ข้อผูกพันทางภาษีไทย-อินเดีย
              ประเทศสมาชิกอยู่ระหว่างการรอลงนามความตกลงด้านการต้าบริการและการลงทุนเพื่อให้มีลผลบังคับใช้โดยเร็ว ทางด้านการต้าบริการ ไทยเสนอเปิดตลาดให้อินเดีย ถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 49 ในขณะที่อินเดียเสแนเปิดตลาดให้ต่างชาติถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 50 ในบางสาขาหรือบางกิจกรรม แต่กรณีที่ต้องดำเนินการร่วมกับรัฐวิสาหกิจหรือกับรัฐบาลในลักษระ Joint Venture Partner ต่างชาติต้องเสนอโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วยทางดานการลงุทน อาเซียนและอินเดีย สามารถสรุปผลการเจรจาความตกลงการลงุทนครอบคลุมการเปิดเสรีการลงทุน การคุ้มครอง การส่งเสริมและการอำนวยการความสะดวกด้านการลงทุน โดยระดับการให้ความคุ้มครองการลงทุนเทียบเท่ากับความตกลง เพื่อการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน (BIT) ของไทย โดยตกลงเจรจาข้อสงวนให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปี นับจากวันที่มีผลใช้บังคับ
               ประเทศอินเดียเป็นประเทศที่มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 2 ของโลก และในปี พ.ศ. 2557 อินเดียเป็ฯประเทศที่มีขนาดเศณาฐกิจใหญ่อันดับ 3 ของโลก อินเดียเป็นประเทศที่มีศักยภาพในการผลิต และส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมไปทั่วดลก ดดยเฉพาะสินค้าไอที อินเดียเป็นประเทศที่มีการวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมไอทีอันดับต้นๆ ของโลก อีกทั้งเป็นประเทศคู่ค้าของอาเซียน 10 อันดับแรก รวมถึงมีความต้องการวัตถุดิบนำเข้าเป็นจำนวนมากขึ้นทุกปี
              เมื่อพิจารณามูลค่าและสัดส่วนการสงออกและการนำเข้าของกลุ่มประเทศอาเซียนไปประเทศอินเดีย พ.ศ. 2544-2555 กลุ่มประเทศอาเซียนทั้ง 10 ประเทศมีการส่งออกไปประเทศอินเดียอยู่ระหว่างร้อยละ 1.7-3.8 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 ซึ่งเป็นปีที่อาเซียนลงนามทำความตกลงการต้าเสรีอาเซียนขอินเดีย ทำให้สัดส่วนการส่งออกของอาเซียนไปอินเดียมูลค่าการนำเข้ามีปริมาณเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าเมื่อเทียบกับมูลคาการนำเข้าจากทั่วดลกอยุ่ระหว่างร้อยละ 1.1-2.3 หลังจาก พ.ศ. 2552 สัดส่วนการนำเข้าเพ่ิมขึ้นมากกว่าร้อยละ 2 เมื่อดูดุลการต้าระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับประเทศอินเดีย พบว่า กลุ่มประเทศอาเซียนเกินดุลอกับอินเดียทุกปี
            เมื่อพิจารณาสัดส่วนมูค่าการส่งออกแยกของกลุ่มประเทศอาเซียนไปประเทศอินเดียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544-2555 กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหมดสงออกไปประเทศอินเดีย คิดเป็ฯร้อยละ 2.8-3.9 ประเทศอินโดนีเซียส่งออกสินค้าไปประเทศเกาหลีใต้ คิดเป็นร้อยละ 2.1-3.1 ประเทศมาเลิเซียส่งออกสินคึ้าไปประเทศอินเดีย คิดเป็นร้อยละ 1.6-2.1 ประเทศไทยส่งออกสินคึ้าไปประเทศอินเดียคิดเป็ฯร้อยละ 0.8-0.9 ประเทศฟิลิปปินส์ส่งออกสินึ้าไปประเทศอินเดีย คิดเป็นร้อยละ 0.4-0.9
            สถานการร์การต้าไทย-อินเดีย
            รายการสินค้าที่ประเทศไทยได้ประโยชน์จากอินเดีย คือ เครื่องรับโทรทัสน์สี เตาไม่โครเวฟ ตุ้เย็ สิงปรุงรสอาหาร สายไฟฟ้า เคเบิล ลิฟท์ บันไดเลื่อน เครื่องจักร ของเล่น อะลูมิเนียม เม็ดพลาสติก เฟอร์นิเจอร์และส่วนประกอบ น้ำผลไม้ และผลไม้แปรรูป ส่วนสินค้าอ่อนไหวที่อินเดียจะลดภาษีลงเหลือร้อยละ ในปี พ.ศ. 2559 ได้แก่เครื่องปรับอากาศของอืนๆ ที่ทำด้วยเหล็ก เครื่องยนต์ดีเซล ส่วนประกอบอื่นๆ ของ รถยนต์ เครื่องเปลี่ยนไฟฟ้าชนิดคงที่ ปูนซีเมนต์ เคมีภัฒฑ์ เครื่องนุ่งห่ม รองเท้าชิ้นส่วนจักรยานยนต์/จักรยานยนต์และลวดทองแดง
             เมื่อพิจารณามุลค่าส่งออก 10 อันดับแรกสินค้าไทยไปประเทศอินเดีย สินค้าอันดับแรกที่ส่งออกมากที่สุด คือ เคมีภัณฑ์ รองลงมา คือ เม็ดพลาสติก อัญมณีและเครื่องประดับ เครื่องปรับอาเกาศและส่วนประกอบ เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบลูกสูลและส่วนประกอบ รถยนต์อุปกรณ์และส่วนประกอบตามลำดับ ความต้องการสินค้าไทย 10 อันดับแรกส่วนใหญ่เป็นสินค้าอุตสาหกรรม สินค้าเกษตรแปรรูป ในแต่ละปี ความต้องการสินค้าบางรายการมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น เมื่อเปรียบเทียบตามสัดส่วนการส่งออกสินค้าไทย 10 รายการแรกในปัจจุบัน ประจำเดือนมกราคมถึงพฤษภาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2557 สัดส่วนการส่งออกสินค้าไทยไปประเทศอินเดียที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ เคมีภัณฑ์ฺ เม็ดพลาสติก เครื่องปรับอากาศและส่งนประกอบ ยางพารา รวมถึงเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์และส่วนประกอบ ประเทศอินเดียเป็นประเทศคุ่ค้า 10 อันดับแรกของกลุ่มประเทศอาเซียนและประเทศไทย มีศักยภาพในการผลิตและพัฒนาสินค้าอุตสาหกรรมป้อนสู่ตลาดดลกเป็นจำนวนมาก ดังนั้นมีความต้องการในสินค้าอุตสาหกรรมจาประเทศไทย เพื่อนไปผลิตสินค้าขั้นสุดท้ายเป็นอย่างมาก

                  - "ผลของการรวมกลุ่มทางการต้าระหว่างประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6" วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต เสนอต่อมหาวิทยาลัยรามคำแหง, โดย "เพชรไพลิน สายสิงห์"ฅ, 2557.
               

วันพุธที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

ASEAN + 6

           ความตกลงหุ้นส่วนเศราฐกิจระหว่างอาเซียนกับ 6 ประเทศ Comprehensive Economic Partnership in East Asia : CEPEA
           ในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น และ เอเซียตะวันออก ซัมมิท +3 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลิเซียน เมื่อปี พ.ศ. 2549 ญี่ปุ่นเสนอให้กลุ่มผู้เชี่ยยวชาญภาควิชาการ ของกลุ่มประเทศ เอเซียตะวันออก ซัมมิท ประกอบด้วย จีน ญี่ป่นุ เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซี่แลนด์ และอินเดีย ทำการศึกษาความเป็นไปได้ในการัดตั้ง เขตการค้าเสรีระหว่างอาเซียน +6
          ทีป่ระชุม เอเซียตะวันออก ซัมมิท ครั้งที่ 2  เมื่อปี พ.ศ. 2550 ณ เมืองเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ มีมตรเห็นชอบให้ดำเนินการศึกษาดังกล่าว โดยญี่ปุ่นจะจัดให้มีการประชุมร่วมกันระหวางนักวิชาการซึ่งเป้นตัวแทนของแต่ละประเทศครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2550
          กลุ่มผู้เชี่ยวชาญฯ ของ CEPEA (รศ.ดร. สุทะิพันธ์ จิราธิวัฒน์ ประธานศุนย์วิจัยเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็ฯผุ้เชี่ยวชาญฯ ฝ่ายไทย) ได้ทำการศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการจัดทำความตกลงการต้าเสรีระหว่างประเทศอาเซีียน +6 โดยมีการประชุมร่วมกัน 6 ครั้ง โดยสรุปผลการศึกษาและนำเสอนต่อที่ประชุมผุ้นำเอเซียตะวันออก ในปี 2551 ณ กรุงเทพฯ โดยระบุว่าการจัดทำ อาเซียน +6 นั้นจะทำให้ GDP ของแต่ละประเทศสมาชิกเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 2.11% โดยในส่วนของอาเวียนนั้น จะได้รับประโยชน์มากกว่าโดย GDP ของอาเซียน เพิ่มขึ้น 3.83% ในส่วนของไทย GDP จะเพิ่มขึ้นเท่ากับ 4.78%
            นออกจากนี้ ผลุการศึกษาได้ครอบคลุมประเด็นอื่นๆ สำคัญ ผลกระทบด้านเศรษบกิจ องค์ประกอบของ อาเซียน +^ ซึ่งประกอบด้วย การเปิดเสรีทางการต้าและการลงทุนการอำนวนความสะดวกทางการต้าและการลงทุน ความร่วมมือ างด้านเศรษฐกิจ พลังงาานและสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจรากนี้ได้เสนอแนะแนวทางสู่การทำเขตการค้าเสรีเอเซียตะวันออก โดยเสนอให้ประเทศสมาชิกต้องเริ่มที่เข้าใจหลักพื้นฐานและเป้าหมาบยของ อาเซียน +6 อันจะมุ่งสู่การเปิดเสรีการอำนวยความสะดวก และความร่วมมือระหว่างกัน
           ต่อมาที่ระชุมเอเซียตะวันออก ซัมมิท ครั้งที่ 40 และ AEM-METT ครั้งที่ 15 ในปี 2551 ณ ประเทศสิงคโปร์ มีมติเห็นชอบและสนับสนุนผู้เชี่ยวชาญในการศึกษาต่อระยะที่ 2 โดยเน้น 3 เสาหลัก คือ ความร่วมมือ ด้านการอำนวย และการเปิดเสรี นอกจากนี้ ที่ประชุมได้มีข้อเสอแนะเกี่ยวกับแนวทางในการสึกษา ASEAN +6 Phase II โดยให้ครอบคลุมถึงการศึกษาวิเคราะห์ในความตกลงเขตการต้าเสรี อาเซียน +1 ที่มีอยู่รวมถึงกฎ Special & Differential Treatment ที่มีประสิทธิภาพ แนวทางของการเปิดเสรี และการอำนวยความสะดวก ที่เหมาะสมซึ่งนำไปสู่แนวทางที่จะช่วยลดช่องว่างของระดับการพัฒนาของประเทศสมาชิก และระบบแนวทางด้านความร่วมมือต่างๆ ที่ช่วยสร้างความสามารถ ของประเทศสมาชิก เพื่อรองรับการเปิดเสรีภายใต้อาเซียน +6
           การศึกษาในระยะที่สองนั้นได้มีการประชุมกันทั้งหมด 4 ครั้ง ผู้เชียวชาญ ได้สุปผลการศึกษา และนำเสนอต่อที่ประชุมรัฐมนตรีเศรฐกิจอาเซียน ครั้งที่ 41 ณ กรุงเทพ ระหว่างวันที่ 13-16 สิงหาคม 2552 โดยผุ้เชี่ยวชาญ มองว่า อาเซียน +6 ควรให้ความสำคัญในเรื่องความร่วมมือ เป็นดับแรก เพื่อมุ่งลอช่องว่างระดับการพัฒนาของแต่ละประเทศสมาชิก โดยเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การถ่ายทอดเทคโนโลยี และสร้างความเข้มแข็งให้วิสาหกอจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และที่สำคัญคือการสร้าง Capicity Building ให้แก่ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด รวมทั้งควรพิจารณาจัดตั้งกองทุนเอเชียตะวันออก East Asia Fund เพื่อช่วยรองรับโครการความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นและสร้างพื้นฐานสำหรับพัฒนาต่อไป..(www.dtn.go.th/..ASEAN + 6)

วันอังคารที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

East Asia Community : EAC II

             "ประชาคมเอเซียตะวันออก" กลายเป็นการรวมกลุ่มขนาดใหญ่ที่ส่งผลสะเทือนต่อโลก ด้วยจำนวนประชากรที่มหาศาล ขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่โต และสัดส่วนจีดีพีเกือบ 20 % ของจีดีพีรวมทั้งโลก แม้การร่วมกลุ่ม "ประชาคมเอเชียตะวันออก"จะมีความน่าสนใจ แต่การเดินไปให้ถึงเป้าหมายก็ไม่ใช่เรื่อง่าย เพระยังมีมุมมองที่ต่างกันระหวางบรรดาประเทศใหญ่ ชูไอเดียที่จะรวมกลุ่มเอเชียตะวันออกที่อยุ่ในกรอบ +6 (อาเซียน จีน เกาหลี ญี่ปุ่น อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์) ส่วนจีนหนุนแนวทางรวมกลุ่มภายใต้กรอบ + 3 ขณะที่ออสเตรเลีย มองไกลกว่านั้น  โดยผลักดันแนวคิด "ประชาคมเอเชีย-แปซิฟิก" ไม่นับรวมความแตกต่างที่มีมากมาย ทั้งในแง่การพัฒนา ระบบการเมืองการปกครอง กฎระเบียบต่างๆ
ประวัติศาสตร์ที่เคยเป็นปรปักษ์กัน รวมถึงบทบาทในปัจจุบันและอนาคต ความไม่ไว้ใจซึ่งกันและกัน ซึ่งสิ่งเหล่นนี้ล้วนเป็นปัจจัยที่เป็นอุปสรรคในการจะเดินตามความฝันของเหล่าสมาชิก ที่ประชุมได้ทั้งทีมศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งเขตการต้าเสรีอาเซียนตะวันออก ซึ่งเป้นความร่วมมือท่าเศราฐกจิในกรอบ +3 และการเป็นหุ้นส่วนทางเศราฐกิจในเอเชียตะวันออกแบบรอบด้าน ซึ่งเป็นกรอบ +6 โดยในการประชุมครั้งล่าสุดได้นำเสนอผลการศึกษาในระยะที่ 2 และผุ้นำก็ยังไม่ได้ตัดสินใจว่าจะเดินไปในแนวทางใด แต่เห็นว่าควรศึกษาและพิจารณา กรอบ +3 และ +6 ควบคู่กันไป
              ฟอร์บส ระบุว่า แนวคิดการร่วมตัวเป้นประชาคมเอเชียตะวันออกเกิดขึ้นมานานแล้ว เพียงแต่เริ่มชัดเจนขึ้นนับตั้งแต่ ปี 2546 ซึ่งขั้วอำนาจทั้ง 2 ได้แก่ จีนและญี่ปุ่น เร่ิมเอาจริงเอาจังกับไอเดียดังกล่าวมากขึ้น และยิ่งทวีความสำคัญขึ้นในปัจจุบัน เมื่อตลาดส่งออกในตะวันตกอยุ่ในภาวะซึมเซาจากพิษวิกฤตเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม อาเซียนประกาศตัวเป็นแกนของการเป็นประชาคมที่จะเกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นกรอบใดก็ตาม มีความเป็นไปได้ว่าการรวมตัวทางการต้าจะเกิดขึ้นได้ก่อนด้านการเมือง ซึ่งหากตั้งต้นด้วยการรวมอาเซียน ญี่ปุ่น จีนและเกาหลีใต้ จะทำให้เศราฐกิจใหญ่โตขึ้นจากการรรวมการต้าและการลงทุนระหว่างกัน โดยจะมีสัดส่วนราว 16% ของจีดีพีรวมทั้งดลก และมีตลาดที่มีศักยภาพจากจำนวน ผุ้บริโภค 1.5 พันล้านคน ขณะที่บริษัทราว 1 ใน 4 ที่อยุ่ในทำเนียบ 2,000 บริษัทขนาดใหญ่สุดในโลกของฟอร์บส ล้วนเป็นบริษัทจากจน เกาหลีใต้ และญีปุ่น แต่แนวคินี้กยังเป็นวิสัยทัศน์ระยะยาว เช่นเดียงกับการก่อตั้งสหภาพยุโรปที่ใช้เวลานานกว่าครึ่งศตวรรษ กว่าจะพัฒนาจากประเทศแกนหลักที่มีฝรั่งเศส เยอรมนี และเบเนลักซ์ จนกลายเป็นกลุ่มขนาดใหญ่ที่มีสมาชิก 27 ประเทศเช่นปัจจุบัน
           
  ขณะที่ "วอลส์สตรีต เจอร์นัล" รายงานว่า วกฤตเศราฐกิจได้เร่งให้บทบาทของสหรัฐลดลงอย่างรวดเร็ว ขณะที่ขั้วอำนาจใหม่มีบทบาทมากขึ้น ดดยเฉพาะจีน ความต้องการบลริโภคในตะวันตกที่ลดลงอย่างฮวบฮาบ และเป็นไปได้ว่าความต้องการบริโภคเหล่านี้จะไม่ฟื้นกลับมาในระดับท่เคยเป็นก่อนวิกฤต สิ่งเหล่านี้ช่วยเสริมมุมมองที่ว่าเขตเศรษฐกิจในเอเชียจะช่วย "ถ่วงดุล" ด้วยการบริโภคภายในประทศเพ่ิมขึ้น หรือส่งออกไปยังตลาด ใกล้บ้านแทน
              ดังนั้น การมีกลุ่ึมความร่วมมือในเอเชียจะครอบคลุมประชากรรวครึ่งหนึ่งในโลก และมีการปลิตาว 1 ใน 3 ของทั้งโลก รวมทั้งจะเป็นขั่วที่ 3 ในระบบ เศราฐกิจโลก เพ่ิมเติมจากสหรัฐและยุโรป ซึ่งการรวมพลังกันนี้จะส่งผลให้เกิดความเปลียนแปลงในระบบการเมืองและเศราฐกิจโลก
           
  การรวมตัวกันของเอเชียก็ยังไม่สามารถทดแทนตลาดตะวันตกในฐานะกลจักร ชับเคลื่อนการเติบดต เพราะสัดส่วนการต้าในเอเชียตะวันออก แม้จะเพ่ิมเป็น 55% จาก 37% ระหว่างปี 2523-2549 แต่ความร่่วมมือในกลุ่มสหภาพยุโรปอยุ่ที่ 66% และความตกลงเขตการต้าเสรีอเมริกาเหนืออยุ่ที่ 44% อย่างไรก็ตาม การผลิตในภุมิภาคอเชีย ตะวันออกเป็นลักษรแยกผลิตก่อนส่งไปประกอบขึ้นสุดท้าย ดดยบริษัทหนึ่งอาจลงทุนในโรงงานหลายแห่งในเอเชีย ตะวันออก จากนั้นก็จะส่งชิ้นส่วนต่างๆ ไปประกอบให้สมบูรณ์ก่อนส่งออกไปตลาดสหรัฐหรือยุโปร ทไใ้การรวมตัวของ เอเชียตะวันออกมีการเชื่อมโยงกับการบูรณาการของโลก แต่ภาคการผลิต บริการ และภาคเกษตรกรรมในเอเชีตะวันออกยังมีอุปสรรคจากการปกป้องทางการต้าอยู่มา ดดยเฉพาะในเอเชียใต้ที่มีปัญหารนี้มาก ขณะที่่ความร่วมมือด้านการเงินการคลังในเอเชียตะวนออกยังอยุ่ในช่วงตั้งไข่ จึงยังไมเปิดเสรีมากนัก และแม้จะมีความเชื่อมโยงกับศูนย์กลางการเงินอื่นๆ แต่ธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) ระบุว่า ในปี 2549 เอเชียมีสินทรัพย์ในมือนอยกว่า 10% ของทั้งหมดที่ลงทุนในภูมิภาค เทียบกับสหรัฐที่ถือครองสินทรัพย์นภูมิภาคนี้ 30% ซึ่งแม้จะมีความพยายามจัดตั้งกองทุนพันธบัตรเอเซียและความริเริ่มตลาดพันธบัตรเอเชีย แต่ก็ยังอยู่ในช่วงเริ่มต้นเท่านั้น...


(www.prachachat.net/.."ประชาคมเอเชียตะวันออก" ความผันที่ยังต้องเดินทางอีกไกล"

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...