The Effect of ASEAN And The ASEAN + 6

              ผลจากการรวมกลุ่มทางการค้าของกลุ่มอาเซียนและกลุ่ม +6 พบว่า ผลติตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศของประเทศผุ้ส่งออกและประเทศผุ้ำเข้ามีต่าเพ่ิมขึ้นกว่าก่อนรวมกลุ่มทางการต้า แสดงว่าเกิดการเพิ่มปริมาณทางการค้า ส่วนตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับมูลค่าการส่งออก คือ ผลิตภัณฑฺ์มวลรวมภายในประเทศของประเทศผุ้ส่งออกและผุ้นำเข้า รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผู้ส่งออกและประเทศผู้นำเข้าและอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศผุ้ส่งออก ส่วนตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับมูลค่าการส่งออกคือ ระยะทางระหว่างประเทศ การนับถือศาสนาเดียวกัน ประเทศที่มีภุมิศาสตร์เป็นเกาะและการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ ส่วนตัวแปรที่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ประเทศที่มีพรมแดนติดกันและวิกฤตเศรษฐกิจ
            ในปัจจุบันเกือบทุกประเทศ รวมถึงประเทศไทย เป็นประเทศที่มีระบบเศราฐฏิจแบบเปิดการบริโภค การลงทุน การต้าทั้งในประเทศ และระหว่างประเทศ ต่างมีบทบาทสำคัญต่อระบบเศราฐกิจของแต่ละประเทศเป็นอย่างมาก ทุกประเทศต้องพึ่งพาและร่วมมือกัน โดยเฉพาะหากมีกรรวกลุ่มทงเศราฐกิจ จะทำให้กลุ่มประเทศสมาชิกมีอำนาจต่อรองกับกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วมากยิ่งขึ้น สามารถช่วยลดอุปสรรคในการกีดกันทางการต้าของกลุ่มประเทศใหญ่ๆ ได้ อีกทั้งเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน ทางการค้ากับกลุ่มประเทศอื่นๆ ได้เป็นอย่างดี....
            การตกลงทางการค้าของกลุ่มอาเซียน +6 ประกอบด้วยสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ + จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ และอินเดีย
             ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 กลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ได้มีการลงนามทำความตกลงเปิดเสรีทางการค้า โดยลดภาษีสินค้าเหลือร้อยละ 0 นั้น ทำให้การลงนามทำความตกลงเปิดเสรีทางการต้า โดยลดภาษีสินค้าเหลือร้อยละ 0 นั้น ทำให้มูลค่าการส่งออกของกลุ่มประเทศอาเซียนมีมูลค่าุขึ้นหากไม่นับรวมวิกฤติสนเชื่อซับไพรม์หรือวิกฤตแฮมเบอร์เการ์ในประเทศสหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. 2550-2551 ซึ่งเป็นประเทศมหาอำนาจทางเศราฐกิจของโลก แลเป็นประเทศคุ่ค้ารายใหญ่ของกือบทุกประเทศรวมถึงประเทศอาเซียนเกือบทุกประเทศทำให้กำลังซื้อสินค้านำเข้าของสหรัฐอเมริกาลดลง ผลกระทบนี้ส่งผลต่อเศราฐกิจโลกเป็นอย่างมาก
             เมื่อเรียบเทียบมุลค่าและสัดส่วนการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 พบว่า มุลค่าการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนมีมุลค่าสุงสุดเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ส่วนประเทศนอกกลุ่มอาเซียนที่มีมูลค่าการส่งออกสูงสุด คือ สาะารณรัฐประชาชนจีน ญี่ป่นุ เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ตามลำดับ ดดยมูลค่าการส่งออกของสาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศ ญี่ปุ่นใกลเคียงกัน เนื่องจากทั้งสองประเทศเป็นประเทศคู่ค้าหลักอันดับต้นๆ ของทุกประเทศดในกลุ่มอาเซียน รวมถึงมีการลงทุนตั้งฐานการผลิตในเกือบทุกประเทศของอาเซียน เพราะฉะนั้นการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมมีปริมาณการค้าสูงที่สุด ส่วงนประเทศที่มูลค่าการส่งออกลำดับถัดมา คือ ประเทศเกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ หากเปรียบเทียบสัดส่วนมูลค่าการส่งออกของแลุ่มประเทศอาเซียน +6 มีสัดดส่วนเพ่ิมขึ้นและอยู่ในทิศทางบวก ยกเว้น พ.ศ. 2552 ซึ่งอยุในช่วงรับผลกระทบของวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ ของสหรับอเมริกา ทำให้มูลค่าและสัดส่วนกานส่งออกของทุกประเทศลดลง และอยุ่ในทิศทางบล หลังจาก พ.ศ. 2552 ผลกระทบของเศราฐกิจสหรัฐอเมิรกาที่มีต่อประเทศต่างๆ มีแนวโน้มฟื้นตัวขึ้นทำให้เศราฐกิจของประเทศนั้นๆ ดีขึ้น ดังนั้นมูลค่าการส่งออกแลสัดส่วนการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนไปกลุ่มอาเซียน +6 เร่ิมกลับเชข้าสู่สภาวะปกติ และในอนาคตมีแนวโน้มดีขึ้นกว่าปัจจุบัน
             มูลค่าและสัดสวนการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ในปี พ.ศ. 3555 สัดส่วนการส่งออกเมื่อเทีียบกับมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของปี พ.ศ. 2555 กลุ่มประเทศอาเซียนมีสัดส่วนการครองตลาดของการส่งออกสูงสุดรองลงมา คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ป่นุ เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ตามลำดับ
            เมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนมุลค่าการส่งออกแยกตามรายประเทศระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 พบว่า สัดส่วนมูลค่าการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนมากว่ากลุ่มอเซียน +6 และสัดส่วนมูลค่าการส่งออกไปสาธารณรับประชาชนจีนและประเทศญี่ปุ่น มีสัดส่วนการส่งออกมากที่สุด เนื่องจากทั้งสองประเทศนี้ทำการต้ากับกลุ่มประเทศอาเว๊นมานาน รวมถึงมีฐานการผลิตอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน ดังนั้นมูลค่าและสัดส่วนการนส่งออกจึงมีมกว่าอีก 4 ประเทศที่เหลือ ในอนาคตเมื่อรวมกลุ่มประชาคมเศราฐกิจอาเซียนจะสามารถเพ่ิมปริมาณการสน่งออกได้อีก
           กลุ่มประเทศ + 6 จึงเป้ฯกลุ่มปะเทศคู่ค้าที่มีความสำคัญต่อกลุ่มอาเซียนเป็นอย่างย่ิงเนื่องจากประเทศเหล่านี้มีฐานการผลิตกระจายตามกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นจำนวนมาก อีกทั้งมีภูมิศาสตร์ใกล้ชิดกับภุมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถลดต้นทุนการขนส่ง จึงทำให้สัดส่วนมูลค่าการส่งออกกับกลุ่มอาเซียน +6 ถือเป็นสัดส่วนที่สุง รองจากสัดส่วนระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนและกลุ่มอาเซียน +6  โดยเฉพาะวิเคราะห์ผลของก่อนการรวมกลุ่มและหลังการรวมกลุ่มเศราฐกิจ ซึ่งได้ลงนามทำความตกลงเขตการต้่าเสรีอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ซึ่งลดภาษีการนำเข้าและการส่งออกของสินค้าจำนวนหลายรายการ..
            ทฏษภีการต้าระหว่างประเทศ มีบุคคลหลายท่านได้เขยนถึง แวคิดการต้าระหว่างประเทศ ดดยพัฒนาแนวคิดมาจากนักเศราฐกศาศตร์สำนักคลาสสิก คือ อดัม สมิธ และเดวิด ริคาร์โด้ กล่าวถึงข้อสมมติฐานของทฤษฎีการต้าระกว่างประเทศ ดังนี้
       
- ตลาดการแข่งขันอย่างสมบูรณ์
           - ปัจจัยการผลิตที่ใช้คือมีเพียงแรงงานเท่านั้น และต้องเป็นแรงงานที่มีประสิทธิภาพใหนกาผลิตเท่ากันหมด ต้นทุนในการผลิตคิดจาแรงงาน ส่วนราคาสินค้าที่แลกเปลี่ยนภายในประเทศ ขึ้นอยุ่กับจำนวนชั่วโมงการผลิตสินค้าของแรงงาน
           - การต้าระหว่างประเทสเกิดขึ้นระหว่าง 2 ประเทศ และสินค้าที่ซื้อขายแลกเปลี่ยนกันมีเพียง 2 ชนิด
           - ไม่มีข้อจำกันทางการต้าและไม่มีค้าขนส่ง...
            ทฤษฎีการได้เปรียบอย่างสมบูรณ์ แนวคิดทฤษฎีการได้เปรียบอย่างสมบูรณ์หรืออย่างเด็ดขาดนี้ เป็นแนวคิดของ อดัม สมิธ  ซึ่งได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับหลักแบ่งงานกันทำ กล่าวคือ แต่ละคนมีหน้าที่ในการผลิตสินค้าเฉพาะอย่างแทนที่ จะทำหน้าที่ผลิตปมกทุกอย่าง การแบ่งงานกันทำ ช่วยให้เกิดความชำนาญ และสามารถผลิตสินค้าได้ในปริมาณที่ีมากขึ้น การต้าระหว่างประเทศภายมต้ทฤษฎีการได้เแรียบอย่างสมบูรณ์ได้อธิบายว่า ประเทศใดประเทศหนึ่งจะผลิตสินค้าที่ตนมีความได้เปรียบอย่างสมบุรณ์แล้วนำมาแลกเปลี่ยนสินค้าของอีกประเทสหนึค่ง การที่ประเทศมีควารมได้เปรียบอย่างสมบุรณืในการผลิตสินค้าชนิดใด แสดงว่า ประเทศนั้นสามารถผลิตสินค้าชนิดนั้นด้วยต้นทุนการผลิตที่ถูกกว่าอีกประเทศหสึ่ง จากทฤษฎีสามารถสระปได้ว่า ประเทศใดผลิตสินคึ้าที่ตนได้เปรียบอย่างสมบูรณ์ได้นั้น ต้องมีต้นทุนการผลิตสินค้าชนิดนั้นด้วยต้นทุนที่ถูกกว่าประเทศอื่น
            ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ ตามแนวคิดของ ริคาโด้ ได้ อธิบายถึง ทฤษฎีการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบว่า สาเหตุของการต้าระหว่างประเทสไม่ได้ขึ้นอยู่ว่า ประเทศนั้นได้เปรียบดดยสัมบูรณ์เสมอไป แต่สามารถขึ้นอยู่กับการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ โดยอธิบายแนวคิดว่า ประเทศ 2 ประเทศ เมื่อมีการต้าขายระหว่างประเทศสามารถเกิดขึ้นได้ หากประเทศนั้นเลือผลิตสินต้าที่ตนถนัดมีประสทิะิภาพสูงกว่าและเสียยเปรียบน้อยที่สุด เมื่อเทียบกับสินค้ัาชนิดนั้นในอีกประเทศหนึ่ง สามาารถสรุปได้ว่า การได้เปรียบโดยเปรียบยเทีนบ หมายถึง ความสามารถของประเทศใดประเทศหนึ่งในกาผลิตสินค้า และบริการด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่าประเทศอื่นการต้าระหว่างประเทศช่วยให้ประเทศคู่ค้าทั้งสองได้ประโยชน์มากขึ้น ก็ต่อเมื่อแต่ละประเทสมุ่งผลิตสินค้าทีตนมีความเชี่ยวชาญเฉพาะ และ้วนำมาแลกเปลี่ยนกัน
             การต้าระหว่างประเทศตามทฤษฎีความได้เปรียบดดยสัมบุรณ์นีั มีผลให้ทุกประเทศได้รับผลประดยชน์เพ่ิอมขึ้น คือ มิสินค้าบริโภคแทบทุกชนิดราคาถูก จำนวนผลผลิต โดยรวมของโลกสูงขึ้น เกิดจากการแบ่งงานกันทำระหว่างประเทศต่างๆ ในโลกเกิดความชำนาญเฉพาะอย่างและสวัสดิการของประชากรโลกสูงขึ้น ในทรรศนะของ อดัม สมิธ แตกต่างจกาสมัยคลาสสิก ในเรื่องแรงงานระหว่างประเทศต่าง ๆ ซึ่งสมัยคลาสสิก มีปัจจัยการผลิตและทรัพยากรในแต่ละประเทศอย่างมาก....
            ผลก่อนและหลังการรวมกลุ่มทางการค้าระหว่างประเทศอาเซียน มีดังนี้
            - ก่อนรวมกลุ่มทางการค้า ตัวแปรที่มีอทิศทาเดีวชยวกับมูลค่าการส่งออก คือ รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผุ้ส่งออก รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผุ้นำเข้า อัตราแลกเปลี่ยนของประเทศผุ้ส่งออก และประเทศที่มีพรมแดนติดกัน โดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ตัวแปรที่มีทิศทางตรงกันข้ามกับมุลค่าการส่งออก คือผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศของผุ้ส่งออก ระยะห่างระหว่างสองประเทศ และประเทศที่มีภุมิศาสตร์เป็นเกาะ ดดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ตัวแปรที่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ผลิตภัณฑฺ์มวลรวมภายใรปะเทศของผู้นำเข้า การนัถือศานาเดียวกัน และวิกฤตเศรษฐกิจ
            - หลังรวมกลุ่มทางการต้า ตัวแปรที่มีทิศทางเดี่ยวกับมูลค่าการส่งออก คือ ผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายใรปะเทศของผุ้ส่งออก รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผุ้ส่งออก รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผู้นำเข้า และประเทศที่มีพรมแดนติดกันโดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ส่วนตัวแปรที่มีทิศทางตรงกันข้ามกับมูลค่าการส่งออก คื ผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายใรปะเทศของผุ้นำเข้า ดดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 90 ระยะทางระหว่างสองประเทศ และประเทศที่มีภุมิศาสรตร์เป็ฯเกาะ โดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ส่วนตัวแปรที่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ คือ อัตราแลกเปลี่ยนของผู้ส่งออก การนับถือศาสราเดียวกัน และวิกฤติเศรษฐกิจ
           - การเปลี่ยนแปลงก่อนและหลังรวมกลุ่ทางการต้า ผลการศึกษาการรวมกลุ่มทางการต้าระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน พบว่า เกิดการเพ่ิมประมาณทางการต้า โดยดูจากค่าสัมประสิทธิ์หรือค่าความยืดหยุ่นของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของผุ้ส่งออก ว่าค่าสัมประสิทธิ์หลังรวมกลุ่มทางการต้ามากว่าก่อนรวมกลุ่มทางการต้า จากผลการศึกษาพบว่า ค่าสัมประสิทธิ์ของหลังรวมกลุ่มทางการต้ามากว่าก่อนรวมกลุ่มทางการต้าร้อยละ 0.94 อีกทั้งเมื่อเปรียบเทียบมุลค่าการต้ากับประเทศคู่ค้าอาเซียนค้าขายระหว่างกันเป็นสัดส่วนมากที่สุด ส่วนตัวแปรที่สะท้อนต้นทุนค่าขนส่ง คือ ตัวแปรหุ่น ประเทศที่มีพรมแดนติดกัน และประเทศที่มีภุมิศาสตร์เป็นเกาะ หลังรวมกลุ่มทางการต้ ค่าสัมประสิทธ์ของตัวแปรทั้งสองลดลง แสดงว่า การรวมกลุ่มทางการค้า ช่วยลดอุปสรรคทางการค้าทด้านต้นทุนขนส่งได้เป็นอย่างดี
             การประมวลผลความแตกต่างก่อนและหลงรวมกลุ่มทางการค้า พบว่า หลังรวมกลุ่ทางการต้าระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียน ส่งผลให้เกิดการเพ่ิมปริมาณทางการต้า โดยตัวแปรที่สะท้อนกำลังการผลิตของผุ้ส่งออก และอำนาจการซื้อของประเทศผุ้นำเข้าสูง คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของประเทศผุ้ส่งออกและประเทศผุ้นำเข้า โดยดุจาค่าสัมประสิทธิ์ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของผุ้ส่งออกและผุ้นำเข้า เพิ่มขึ้นกว่าก่อนรวมกลุ่มทางการค้าร้อยละ 0.10 และร้อบละ 0.0016 ตามลำดับ ดดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 และร้อยละ 90 ตามลำดับ
           ผลสรุปจากการวิจัยพบว่า ก่อนและหลังรวมกลุ่มีควาแตกต่างกน เต่ค่า F ที่ได้จากการคำนวณใกล้เคียงกับค่า F ที่เปิดจากตาราง เนื่องจากการทำควารมตกลงเขตการต้าเสรีอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ได้ลงนามความตกลงเขตการต้าเสรีเพียง 5-6 ปี เท่านั้น มีเพียงประเทศจีนที่ได้ลงนามความตกลงเขตการต้าเสรีมา 10 ปี ดังนั้นความแตกต่างของก่อนและหลังการรวมกลุ่มทางการค้าจึง "ไม่เห็นความแตกต่างที่ชัดเจน"...
       
                - "ผลของการรวมกลุ่มทางการค้าระหว่างประเทศอาเซียนกับกลุ่มประเทศ +6", วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง, โดย "เพชรไพลิน สายสิงห์", 2557.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)