ญี่ปุ่นได้เสนอให้มีการก่อตั้ง EARI และให้วงระมาณสนับสนุนเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเผยแพร่องค์ความรุ้เกี่ยวกับการพัฒนาที่สอดคลอ้งไปกับผลประโยชน์ทางเศราฐกิจของญี่ป่นุ ดดยเฉพาะอย่างยิ่งบริษัทเอกชนของญี่ป่นุที่ดำเนินการลงทุนอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มานานแล้ว
สถาบันวิจัยทางเศราฐฏิจเพื่อเซียนและเอเชียตะวันออก มีสถานะเป็นองค์การระหว่างประเทศและมีเป้าหมายในการสนับสนุนการทำงานของสำนักเลขาธิการอาเซียนในการทำงิจัยและออกข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย รวมไปถงการจัดทำโครงการเพ่ิมศักยภาพ เพื่อเพิ่มระดับความสามารถด้านการทำวิจัยเชิงนโยบายให้กับประเทศพัฒนาน้อยที่สุด บทบาทของ ERIA ด้านการทำวิจัยนั้นครอบคลุมหลายมิติ ทั้งเรื่งเศราฐกิจ แารเปิดเสรีทางการต้าประชาคมเศราฐกิจอาเซียน ความตกลงหุ้นส่วนทางเศราฐกิจระดับภุมิภาค ระบบสาธารณูปโภค วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พลังงาน และด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นเหล่านี้ครอบคลุมหลักสำคัญของการพัฒนาด้านเศรษฐกิจทั้งระดับรัฐและระดับภุมิภาค และทำให้เราเห็ฯาพกว้างว่ายุทธศาสตร์ของ ERIA นันเนิ้นไปที่เรื่องการสนับสนุนการก่อตั้ง AEC การสนับสนุนให้อาเซียนเป็นผุ้ขับเคลื่อนหลักของกระบวนการบูรณาการทางเศราฐกิจระดับภุมิภาค การพยายามลดช่องว่างของการพัฒนาในเอเชียตะวันออก และการพยาบามเพ่ิมความรู้สึกของประชาคมในเอเชียตะวันออก ประเด็นด้านการวิจัยเหล่านี้นั้นสอดคล้องและสนับสนุนซึ่งกันและกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่า่ว แต่ ERIA ก็ยังถูกตั้งำถามต่อสถานะความเป้ฯกลางและความเป็ฯอิสระขององค์กรที่จะไม่ขึ้นกับประเทศใดประเทศหนึงเป็ฯสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นที่เป็นผุ้เสอนให้มีการจัดตั้ง ERIA และการให้งบประมาณสนับสนุนจำนวนมหาศาลเพื่อใช้ในการดำเนินกิจการและการทำวิจัยขององค์กร
ผลงานด้านการวิจัยของ ERIA ได้รับการยอมรับในเวทีระหว่างประเทศ สภาบันวิชาการอย่าง มหาวิทยาลัยเพนนิวาเนีย ประเทศสหรัฐฯ ได้จัดอันดับคลังสมองที่อยู่ในกลุ่ม Top International Economics Think Tanks อันดับที่ 31 ของดลก อีกทั้งยังได้จัดให้ ERIA เป็ฯอันดับที่ 24 ของ Best Think Tank Network และเป็นคลังสมองอันดับที่ 17 ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแถบแปซิฟิก การได้รับการยอมรับถึงบทบาทของ ERIA ในเวทีระหว่างประเทศดดยเฉพาะด้านความสามารถในการเป็นคลังสมองในระดับโลกและระดับภูมิภาคสะท้อนให้เห็นความสำคัญในฐานะที่เป็นคลังสมองที่สำคัญที่ช่วยสนับสนุนการทำงานของประชาคมเอเชียตะวันออกโดยเแพาะในมิติเศรษฐกิจและการพัฒนา...
การก่อตั้ง ERIA นั้นเป็นความพยายามของญี่ปุ่นในการที่จะแสดงบทบาทนำในฐานะที่เป็นผู้นำทางปัญญาของภูมิภาคเอเชียตะวันออก ก่อนจะมีการจัดตั้ง ERIA อย่างเป็นทางการ อาจารย์จามหาวิทยาลัยและบุคลากรจากหน่วยงานราชการของประเทศญี่ปุ่นที่มีส่วนอย่างมากในการวาแผนและจัดตั้ง ERIA ได้เดินทางมาติดต่อกับอาจารย์ในมหาวิทยาลัยในประเทศต่างๆในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อขอความเห็นด้านวิชาการ รวมไปถึงการสนับสนุนด้านวิชาการจากอาจารย์ในมหาวิทยาลัยว่าจะสนับสนุนการก่อตั้ง ERIA หรือไม่ และจะเข้าไปมีส่วนร่วมในการทำงิจัยของ ERIA ได้อย่างไร รวมไปถึงการประชุมเพื่อวางแผนออกแบบองค์กร และวางเป้าหมายขององค์กร
ERIA ยังถูกมองว่าเป็นความพยายามของรัีฐบาลญี่ป่นุในการเสนอให้มีการก่อตังเพื่อมาคามอำนาจด้านการแสดงบทบาทเป็นผุ้นำทางด้านความรุ้ ซึ่งในปี 2003 รัฐบาลจีนได้สนับสนุนให้มีการก่อตั้ง The Network of East Asian Think - Tanks (NEAT) ซึ่งอยุ่ภายใต้กรอบความร่วมมือ ASEAN +3 ที่่รัฐบาลจีนให้ความสำคัญ เป้าหมายหลักของ NEAT คือการพยายามให้การสนับสนุนด้านความรู้และการให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในประเด็นที่เกี่ยวข้องเพื่อประสานความร่วมมือในเอเชียตะวันออกภายใต้ NEAT นี้เองที่ทำให้รัฐบาลญี่ป่นุมองว่า NEAT เป็นความพยายามของจีนในการแสวงหาตำแหน่งและบทบาทในการเป็นผุ้นำทางความรุ้แลปัญญาของเอเชียตะวันออกดังนั้นญี่ป่นุจึงจำเป็นต้องมีบทบาทในจลักาณเช่นเดียวกันเพื่อคานบทบา ของจีนในมิติด้านการให้การสนับสนุนการทำงิจัยเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเอเชียตะวันออก
อาจกล่าวได้ว่า สถาบนวิจัยระหว่างประเทศหรือคลัวสมองเปรียบเสมือนสมองและแขนขาของรัฐใดรัฐหนึ่ง หรือเป็นหน่วยงานที่ทำวิจัยให้กับประเทศสมาชิกที่ให้การสนัยสนนุสถาบันนั้นๆ ความมีอิสระทั้งทางการบริหารและการทำวิจัยของสถาบันวิจัยเช่นนี้แม้จะเป็นประเด็นหลักที่ทุกสภาบันให้ความสำคัญในฐานะที่มันเป็นเงื่อนไขเบื้องต้นของการกล่าวอ้างว่าตนเองนั้นมีอิสระ เป็นกลาง มีความชอบธรรม และมีคุณสมบัติของความเป็นวิชาการเชิงสถายันเหนือการเมืองใดๆ แต่ในความเป็นจริงข้อคิดเห็นหรือข้อกล่าวอ้างดังกล่าวอาจถูกปฏิเสธจากบุคคลภายนอกที่มองเข้าไปยังองค์กรนั้นๆ หรือแม้แต่คนภายในองค์การกันเอง
บทบาทของ ERIA ที่มีใน EAS เพื่อสนับสนนุการก่อตั้ง EAC และการจัดการประเด็นปัญหาต่างๆ ระดับภูมิภาคได้ทำให้ ERIA ได้รับการยอมรับมากขึ้นจากประเทศสมาชิกและสังคมระหว่างประเทศ แต่ ERIA ได้รับการยอมรับมากขึ้นจากประเทศสมาชิกและสังคมระหว่างประเทศ แต่ ERIA ก็ไม่ใช่ข้อยกเว้นพิเศษที่ปราศจากการวิพากษ์วิจารณ์จากรัฐ องค์กา หรือบุคคลอื่นๆ เพราะภาพที่สะท้อนออกมาให้เห็นต่อสังคมระหว่างประเทศก็คือ ERIA เป็นเครื่องมือที่รัฐบาลญี่ป่นุก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นแขนขาในการทำงิจัยหาข้อมูลส่งไปให้รัฐบาลญี่ปุ่น หรือเพื่อเผยแพร่องค์ความรุ้วิจัยที่มีลักษณะที่เอื้อต่อผลประโยชน์ของญี่ปุ่น และนำมาเป็นกรอบคิดหลักเพื่อใช้พัฒนาเอเชียตะวันออก
บทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นในฐานะผุ้ที่ให้การสนบสนนุการจัีดตั้ง ERIA เพื่อแสดงบทบาทเป็นผุ้นำทางปัญญาและความรุ้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกจึงสะท้อนให้เห็นความพยายามของญี่ปุ่นในการเป็นเจ้าแห่งปัญญาระดับภุมิภาค ในการสนับสนนุนการก่อตั้งสถาบันวิจัยที่มีหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลและเสนอแนะนโยบายต่ออาเซียน และการให้การฝึกอบรมกับปรเทศสมาชิกที่ยังมีความพร้อมน้อยกว่าประเทศสมาชิกอื่นๆ ด้วยบทบาทนี้เองทำให้ ERIA ถูกมองว่าไม่มีความเป็นกลางเพราะมุ่งสนับสนนุการวิจัยที่เอื้อต่อประโยชน์ของระบบเศราฐกิจของญี่ปุ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อบริษัทเอกชนของญี่ป่นุที่ทำงานอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทำให้รัฐบาลญี่ป่นุมีช่องในการที่จะเข้ามาแสดงบทบาทเป้ฯผุ้นำในการพัฒนเอเชียตะวันออก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น