East Asean Summit : EAS

              การจัดการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก East Asia Summit : EAS ในปี พ.ศ. 2548 เป็นพัฒนาการที่สำคัญในความรน่วมมือเอเชียตะวันออกเนื่องจากเป็นการเปิดมิติใหม่ของความสัมพันธ์และความร่วมมือในภูมิภาคและมีการเปิดโอกาสให้ประเทศนอกภูมิภาคเข้ามามีส่วนร่วมด้วย ดดยประเทศอาเซียน + 3 ที่ผลักดันให้ประเทศนอกูมิภาคได้เข้าร่วมใน EASแม้จะมีเหตุผลแตกต่างกันไป แต่ก็มีเป้าหมายตรงกัน คือ ไม่ต้องการให้ EAS จำกัดอยู่เฉพาะแค่ประเทศอาเซียน +3เนื่องจากยังมีความหวาดระแวงกันเองทั้งที่จุดประสงค์ดั้งเดิมของ EAS จะเป็นวิวัฒนาการของการประชุมสุดยอดอาเซียน +3 ซึ่งจะจัดขึ้นเมื่อประเทศอาเซียน +3 มีความไว้เนื้อเชื่อใจกันมากพอ
             ปัจจุบัน EAS ประกอบไปด้วยสมาชิก 16 ประเทศ ซึ่งได้แก่ ประเทศอาเซียน +3 และประเทศที่เข้ามาใหม่ 3 ประเทศ ได้แก่ อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ซึ่งมักเรียกกันว่าอาเซียน +6 โดยในมุมมองของอาเซียน EAS จะเป็นเวทีใหม่อีกเวทีหนึ่งที่อาเซียนปรารถนาจะมีบทบา นำ แต่ในมุมมองของประเทศภายนอกอาเซียนโดยเฉพาะประเทศที่เข้ามาใหม่ทั้ง 3 ประเทศ EAS เป็นเวทีที่ประเทศทั้ง 16 ประเทศมีความเท่าเทียมกัน
           EAS จะเข้ามาแทนที่กรอบอาเซียน +3 หรือจะพัฒนาคู่ขนานกันไปจะทำให้ความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเข้มแข็งหรืออ่นแอลงเป็นสิ่งที่ต้องศึกษากันต่อไป อยางไรก็ดี EAS อาจเป็นผลดีต่อความร่วมมือในเอเชียตะวันออกในระยะยาวเพราะช่วยให้ความร่วมมือในเอเชียตะวันออกมีพลงัตมากขึ้น การที่เป็นเวทีความร่วมมือที่เปิดกว้างไม่จำกัดเฉพาะประเทศในเอเชียตะวันออกทำให้ EAS สามารถปรับตัวให้เข้ากับการปลี่ยนแปลงของโครงสร้างทางเศราฐกิจและการเมืองของโลกไ้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ ยังอาจใช้เป็นเครื่องมือสำคัญควบคุมจีน หากในอนาคตจีนมีท่าที่เปลี่ยนไปในทางที่พยายามจะแสดงอิทธิพลมากขึ้น ทั้งนี้ ในปัจจุบัน EAS มีการประชุมมาแล้ว 5 ครั้ง ในการประชุม EAS ครั้งที่ 5 ในเดือนตุลาคม 2553 ที่กรุงฮานอย ได้มีการออกเอกสาร Ha Noi Declaration on the Commemoration of 5th Anniversary of the EAS เพื่อแสดงเจตนารมณ์และพันธะทางการเมืองในการส่งเสริมควารมร่วมมือและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ EAS ต่อไป อย่างไรก็ดีกรอบอาเซียน +3 เป็นกรอบที่มีความเป็นไปได้มากว่า EAS เนื่องจากมีความร่วมมือที่มีความก้าวหน้าไปแล้วในหลายๆ ประเด็น

            ญีุ่่ปุ่นมีผลประโยชน์ทั้งทางเศราฐกิจและการเมืองอย่างสูงในการรวมตัวกันในเอเชียตะวันออก โดยการรวมตัวกันแบบ EAS (อาเซียน + 6 ) จะทำให้ประโยชน์ทางเศราฐกิจของญี่ป่นุเกิดขึ้นสูงที่สุด เนื่องจากจะมีการเติบโตทางเศราฐกิจสูงกว่าการรวมตัวในแบบอาเซียน +3 สำหรับด้านการเมืองการขัเคลื่อนประเด็นเกี่ยวกัยประชาคมเอเชียตะวันออกจะช่วยให้ญี่ปุ่นสามารถรักษาสถานภาพการมีบทบาทนำในภูมิภาคไว้ได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานภาพนำต่อจีนโดยญี่ปุ่นมองว่าการดำเนินนโยบายการต่างประเทศในประเด็นนี้ จะสามารถตอบสนองผลประดยชน์ของญี่ป่นุได้ใน 3 ประการ คือ 1. กระบวนการความร่วมมือนี้มีประโยชน์ในเนื้อหาสาระในตัวของมันเอง 2. การพบปะหารือกันแบบพหุภาคีเป็นโอกาศที่จะสามารถหารือในประเด็นอื่นๆ ที่นอกเหนือจากเรื่องประชาคมได้ทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี 3. เป็นโอกาสดีที่ญี่ปุ่นจะสามารถมีนโยบายต่อเอเชียอย่างรอคลุมเป็นครั้งแรกตั้งแต่สิ้นสุดสงคราดลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา
            ทั้งนี้ ญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะใช้เอเชียตะวันออกเป็นฐานเพื่อมีบทบาทในการปฏิรูรประบบการบริหารจัดการโลกเพื่อแก้ไขปัญหาการเกิดวิกฤตพลังงาน วิกฤติอาหาร และวิกฤติการเงินโลกในปี 2551 อย่างยั่งยืนตลอดจนเดื้อต่การสร้างระบบการบริหารจัการเศราฐกิจโลกใหม่ที่เหมาะสมขึ้นมา
            ญี่ปุ่นเน้นแนวทาง EAS (ASEAN +6 ) ที่มีออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดียเข้าเป็นสมาชิกด้ยโดยนโยบายและบทบาทของญี่ปุ่นมักจะขึ้นอยู่กับนโยบายและบทบาทของจีนในประชาคมเอเชียตะวันออกเป็นอย่างมาก หลายฝ่ายในญี่ปุ่นมองว่า เอเชียตะวันออกจะไม่สามารถพัฒนาเป็นประชาคมในลักาณะเดียวกับสหภาพยุโรปได้เพราะมีเงื่อนไขที่ต่างกันทั้งในเชิงสถาบันแลค่านิยมไม่ว่าจะเป็นการขาดองค์การระหว่างประเทศที่จะเป็นกลไกในการประสานความร่วมมือค่านิยมที่แตกต่างกันในประเด็นประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนตลอดจนความรุ้สึกชาตินิยมที่ยังคงเข้มข้นในหม่ชาติเอเชีย อย่างไรก็ตามเอเชียตะวันออกน่าจะสามารถรวมตัวกันได้ในลักษณะเฉพาะแบบเอเชีย ที่ผ่านมา ญี่ปุ่นยงขาดการบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประชาคมเอเชยตะวันออกเนืองจากการแบ่งแยกกันสูงระหว่างการทำงานของกระทรวงต่างๆ โดยนโยบายประชาคมเอเชียตะวันออกของญี่ผ่นุมุ่งเน้นไปที่การแก้ไขปัญหาความสัมพันธ์กับจนเป้ฯหลักโดยเฉพาะอย่างอยิ่งในสมัยนายกรัฐมนตรีจุอิจิโร โคอิสึมิ อย่างไรก็ดี หลังจากที่ญี่ปุ่นมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งใหญ่ หลังพรรคประชาธิปไตยญี่ปุ่นได้รับชัยชนะการเลือกตั้งทั่วไปเหนือพรรคเสรีประชาธิปไตยซึ่งเป็นรัฐบาลมายาวนานกว่า 50 ปี และนายยูกิโอะ ฮาโตยามา เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีดดยได้ประกาศอย่างแข็งขันที่จะผลักดันการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกทั้งยังได้กล่าวเชิญจีนให้มาร่วมมือกันสร้างประชาคมอยางแข็งขัน
           แสดงให้เก็นถึงท่าที่ใหม่ของรัฐบาลญี่ปุ่นในการดำเนินนดยบายการต่างประเทศศที่ให้ความสำคัญกับเอเชียมากยิ่งขึ้นโดยนายฮาโตยามาต้องการผลักดันการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์และความเจริญรุ่งเรื่องในภุมิภาค บนพื้นฐานของการเปิดกว้าง โปร่งใส และครอบคลุม และเน้นหลักการความเป็นพี่น้องกันเริ่มจากความร่วมมือด้านเศราฐกิจก่อน แล้วค่อยๆ ขยายไปในสาขาอืนๆ นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงการมีเงินสกุลเดียวกันอีกด้วย ทั้งนี้ นายฮาโตยามามิได้กล่าวถึงประเทศที่จะเป็นสมาชิกของประชาคมเอเชียตะวันออก แต่เป็นที่เข้าใจได้ว่าญี่ป่นุต้องการให้ครอบคลุมประเทศที่เข้าร่วมใน EAS แต่หลีกเลี่ยงที่จะกล่างถึงเรื่องจากไม่อยากจะเผชิญหน้ากับจีน ซึ่งมีท่าที่ที่ชดเจนว่าประชาคมเอเชียตะวันออกควรเร่ิมจากกรอบอาเซียน +3 ก่อน

          โดยในปี พ.ศ. 2553 สำนักเลขาะิการคณะรัฐมนตรีของญี่ป่นุได้เผลแพร่เอกสารเกี่ยวกับการดำเนินการในอนาคตเกี่ยวกับแนวคิดประชาคมเอเชียตะวันออก ซึ่้งเน้นการดำเนินการในก้านต่างๆ ได้แก่ 1) ด้านเศรษฐกิจโดยการส่งเสริมการจัดทำความตกลงเขตการต้าเสรี และหุ้นส่วนเศราฐกิจและการส่งเสริมการลงทุนในภูมิภาค และส่งเสริมความเชื่อมโยงในภูมิภาคด้านการแก้ปขปัญหาการเปลี่นแปลงสภาพภูมิอากาศ 2) ด้านการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศดดยเสนอที่จะแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยเสนอที่จะแก้ไขปัญหาด้วยการส่งเสริมให้มีกรใช้เทคโนดลยีที่ก้าวหน้าของญี่ป่นุรวมทั้งถ่ายทอดความรุ้แลประสบการณ์ของตนให้แก่ประเทศอื่นๆ 3) ด้านการป้องกันภัยพิบัติและโรคระบาดโดยเสนอให้มีการตั้งศูนย์ป้องกันภัยพิบัติแห่งเอเชียเพื่อเป็นจุดศูนย์กลางในการให้ความรุ้แลถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง และสร้างเครือข่ายเพื่อป้องกันและสร้างมาตรการในการรับมือกับโรคระบาด 4) ด้านความมั่นคงทางทะเล ดดยส่งเสริมการแก้ไขปัญหาโจรสลัด รวมทั้งส่งเสริมความมั่นคงและความปลอภัยทางทะเล 5) ด้านการศึกษาและวัฒนธรรม ดดยส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนบุคลากรทั้งนักเรียน เยาวชน และนักวิจัย
                ในกรอบอาเซียน + 3 ญี่ป่นุแสดงบทบาทแข็งขันไม่ว่าจะเป็นบทบาทในความร่วมือทางการเงินโดยเฉพาะในส่วนของข้อตกลงความริเริ่มเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี 2543 หรือการประกาศที่จะจัดทำความตกลงหุ้นส่วนทางเศราฐกิจระหว่างอาเซียนกับญี่ป่นุ ในปี 2545 เป็นต้น โดยในทางปฏิบัติ ญี่ปุ่นมีเครื่องมือทางนโยบายที่สำคัญอยุ่ 3 ประการ เพื่อผลักดันนโยบายและแสดงบทบาทของตน ได้แก่ 1) การจัดทำและใชบังคับ AJCEP ซึ่งเป็นความตกลงเชตการต้าเสรีระหว่งญี่ปุ่นกับอาเซียนซึญี่ป่นุถือว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญในการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกเนื่องจากมีส่วนในการส่งเสริมสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทสที่จะส่งผลต่อญี่ป่นุในการกำหนดกลยุทธ์ทางการทูตกับประเทศอื่นๆ เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการก่อตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก  2) การช่วยเสริมสร้างสมรรคภาพ ให้แก่ประเทศกำลังพัฒนาในอาเซียน ด้วยการให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนเพื่อลช่องว่าของระดับการพัฒนาในภุมิภาค ซึ่งที่ผ่านมาเป็นอุปสรรคต่อการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจและการรวมตัวกันฃของประชุาคมเอชียตวะันออกโดยญีปุ่นได้ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศต่างๆ ในอาเซียนโดยเฉพาะประเทศในอนุภุมิภาคลุ่มน้ำโขงในหลายรุปแบบ เช่น การพัฒนาสาธารณุปโภคและเทคโนดลยี การพัฒนการศึกษาและทรัพยากรบุคคล และการเสริมสร้างสมรรถนะ 3) ความร่วมมือด้านการเงินภายในภูมิภาค เพื่อสร้างเสถียรภาพของค่าเงินและเศราฐกิจในภูมิภาค เช่น นโยบายการทำให้เิงนเปยเป็นสากล ตลอดจนเพื่อตอบสองผลประโยชน์ของของญี่ปุ่นเองทั้งในสวนของภาคเอเชนและภาครัฐ เน่องจากการพึ่งพาอาศยทางเศราฐกิจระหว่างประเทศในภุมิภาคที่มีเครือข่ายการต้าการลงทุนของญี่ป่นุมีเป็นจำนวนมาก อีกทัี้งสถาบันการเงินของญี่ป่นุได้ปล่อยเงินกุ้จำนวนมหาศาลแก่ประเทศเหล่านี้เมื่อประเทศที่เป็ฯฐานการผลิตและลูกหนี้เวินกุ้ของญี่ปุ่นประสบวิกฤติ ญี่ป่นุก็ย่อมได้รับผลกระทบด้วยเชิ่นกัน ญี่ป่นุจึงต้องเข้าไปให้ความช่วยเหลือด้านการเงินเพื่อรักษาเสถียรภาพทางการเงินและกระตุ้มเศรษฐกิจของประเทศในภุมิภาค นอกจานี้ญี่ป่นุยังเล็งเห็นว่าการผูกติดค่าเงินสกุลต่างๆ ของเอเชียกับค่าเงินคอลลาร์สหรัฐไม่เป็นผลดีประเทศในภูมิภาคควรมทีกลไกช่ยเลหือตนเอง ดังนั้น การทำให้เงินเยนเป็นสกลจึงเป็นการทำให้เงินเยนเป็นเงินสกุลหลักที่ใ้ในธุรกรรมทางเศราฐกจิระหว่างประเทศซึ่งจะช่วยสร้างระบบลทางการเงินที่มีเสถียรภาพ ไมุ่กติดกับเงินสกุลเดียวและลดความเสี่ยงด้านเิงนทุนที่เป็นเงินสกุลต่างประเทศซึ่งจะเห็นได้ว่าญี่ปุ่นมีทั้งวิสัยทัศน์และบทบาทเด่นในการผลักดันการรวมตัวของเอเชยตะวันออกซึ่งบทบาทดังกล่าวย่อมเป็นการตอบสนองผลประโยชน์ของญีปุ่เองทั้งในส่วนของธุรกิจภาคเอกชน และภาครัฐที่ต้องการสร้างเกี่ยติภูมิขิงญี่ป่นุนประชาคมโลก แต่ในขณะเดียวกันถือได้ว่าบทบาทดังกล่าวจะก่อให้เกิดความเข้มแข็งทางเศราฐกิจอขงญีปุ่่นปละภูมิภาคในลักษณะผลประดยชน์ร่วมมือจากการพึงพาอาศัยกันระหวางประเทศในูมิภาค

            ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก ได้แก่ 1 นโยบายและบทบาทของญี่ปุ่และจีนในประเด็นการรวมตัวในภุมิภาคซึ่งต่างขึ้นอยุ่กับนโยบายและบทบาทของอีกฝ่ายหนึ่งเป็นอย่างมากโดยต่างฝ่ายต่างช่วงชิงบทบาทนำในการริเริ่มข้อเสนอต่างๆ 2. ทัศนะและท่าที่ที่แตกต่างกันของประเทศในอาเซียน +3 และความสนใจอย่างมากของประเทศภายนอกที่มีต่อความร่วมมืแอละการรวมตัวกันในเอเชียตะวันออก และ 3. ปัจจัยพื้นฐานของประเทศภายในภุมิาคซึ่งมีควาหลากหลายและแตกต่างกันมาก
           จากปัจจัยสำคัญข้องต้นการรวมตัวเป้นประชาคมเอเชียตะวันออกจะมีความแตกต่างจากสหภาพยุโรปที่มีการรวมตัวกันในเชิงลึกจนพัฒนาก้าวหน้าจนเป็นสหภาพทางการเมืองซึ่งเอเชียตะวันออกคงไม่สามารถเจริญรอยตามนั้นได้อย่างไรก็ตาม เอเชียตะวันออกจะรวมตัวและร่วมมือกันด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ เขตการต้าเสรี ความร่วมมือด้านการเงินและความร่วมมือเชิงหน้าที่ โดยท้ง 3 ส่วนนี้ มีพัฒนาการทีค่อนข้างดีในกรอบอาเซียน + 3 ซึ่งในปี 2550อาเซียน +3 ได้ออกแผนงานเพื่อความร่วมมืออาเซียน +3 ระหว่างปี 2550-2560 เพื่อกำหนดทิศทางในการเพิ่มความร่วมมือต่างๆ อีก้ดวยซึ่งเอเชียตะวันออกน่าจะมีการรวมตัวกันในลักษณะเฉพาะของัวเอง เนื่องจากยังมีความแตกต่างและข้อจำกัดอยู่มากแต่ก็ถือได้ว่า เป็นประบวนการความร่วมมือละภูมิภาคนิยมที่มีนัยสำคัญอันจะก่อให้เกิดประเดยชน์แก่ประเทศในภุมิาภคได้... ( บทความ "บทบาทของญี่ปุ่นในประชาคมเอเชียตะวันออกและนัยต่อประเทศไทย")

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)