ฺBuilding East Asia Economic Community

           การบูรณาการในเชิงลึกของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือ อาเซียน ยังไม่สามารถสร้างศักยภาพทางด้านการแข่งขันทางเศราฐกิจให้ทัดเทียมกับสหภาพยุโปห้อาเซียนจึงควรเริ่มต้านาร้างการบูรณาการในเชขิงกว้างอย่างจริงจังเป็นลำดับแรก โดยการขยายกรอบความร่วมมือไปสู่ ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวนออก เพื่อที่จะสามารถสร้างอำนาจต่อรองใเวทีเศรษฐกิจโลก ละสามารถพึ่งพากันและกันภายในภูมิภาคได้เองยามเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ทั้งนี้แนวทางการไปสู่การเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้น ต้องอาศัยการบูรณาการทางเศราฐกิจ เป็นตัวขัยเคลื่อน ต้องมีการจัดตังองค์กรที่มีกลไกในการดำเนินงานทางด้านเศราฐกิจและการเงินที่มีประสิทธิภาพ ตลาดจนถึงต้องสร้างจิตสำนึกในการเป็นประชาคมเศรษฐกิจและการเงินที่มีประสิทธิภาพ ตลาดจนถึงต้องสร้างจิตสำนึกในการเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก อย่างไรก็ดี หนทายงในการก้าวไปสู่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้นยังมีปัญหาอุปสรรคที่สำคัญอยู่หลากประการ ไม่ว่าจะเป็นปัฐหาความขัดแย้งของประเทศสมาชิก + 3 ปัญหาความเหลื่อมทางเศษฐกิจของประเทศสมาชิก ปัญหารการแย่งชิงความเป็นผุ้นำในระหว่างจีนและญี่ป่นุ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อการรวมกลุ่มในภุมิภาคซึ่งหากประเทศในภุมิภาคเอเชียตะวันออก และประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สามารถก้าวพ้นอุปสรรคปัญหาเหล่านี้ได้จะนำไปสู่การบูรณาการในเชิงลึกภายในภูมิภาคและระว่างภูมิภาคในด้านอื่นๆ ต่อไป
            ด้วยข้อจำกัดของสมาคมเศราฐกิจอาเซียน จากวิกฤตเศรษฐกิจ ค.ศ. 1997 ที่อาเซียนยังขาดความร่วมมือทางเศราฐกิจและกลไกทางการิงนที่มีประสิทธิภาพ ทำให้อาเซียนต้องหันไปขอความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นองค์กรที่ถูกควบคุมโดยชาติตะวันตก ส่งผลให้เมื่อประเทศในภูมิาคเอเชียและอาเซียนกุ้ยืมเงินจาก IMF แล้วต่างก็ถูกครอบงำทางเศรฐกิจจากชาติตะวันตก
            เอเชียตะวันออกต้องสร้างการบูรณาการที่เข้มแข็งและเป็นเอกภาพกว่าที่เป็นอยุ่โดยจะตองสร้างสำนึกร่วมกันและการเป็นเจ้าของร่วมกันที่มีจากภัยคุกคามทางวิกฤติเศราฐกิจด้วยกัน ดดยจะต้องมีการจัดตั้ง Asian Monetary Fund AMF เพื่อจะสามารถนำเงินกองทุนของเอเชียมาชวยเหลือประเทศเอเชียที่จะประสบกับปัญหาสภาพคล่องทางเศรษฐกิจ และเป็นการป้องกันไม่ให้วิกฤตการณ์ทางเศราฐกิจลุกลามเหมือนปี ค.ศ. 1997 ประกอบกับจะต้องผลักดันให้เกิดการรวมกันระหว่างเขตการต้าเสรีของจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ กับ AFTA เพ่อเป็นเขตการต้าเสรีเอเชีย
       
การเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก นั้นจะทำให้ภูมิภาคนี้กลายเป็นภูมิภาคที่มีศักยภาพทางเศราฐกิจที่ทัดเทียมกับสหภาพยุโรป สามารถที่จะพึ่งพาซึ่งกันและกันภายในภุมิภาคได้เอเงในยามที่เกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ
          การรวมกลุ่มที่สำคัญๆ ในภูมิภาคเอเชีย
          1. เอเปค APEC Asia Pacific Economic Cooperation เป็นองค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากการผลักดันของออสเตรเลียที่ต้องการสร้างพื้นที่บนเวทีเศราฐกิจของเอเชีย โดยมีวัตถุประสงค์พื่อเป็นเวทีในการหารือ แลกเปลี่ยน และสร้างความร่วมมือทางเศราฐกจิในภูมิภาค ซึ่งมีสามาชิกทั้งหมด 21 ประเทศ ที่มาจากหลากหลายภุมิภาคมีทั้ง เอเชีย ยุโรป โอเซียเนีย อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ จึงทำให้เป็นการยากที่จะสร้างความรุ้สึกร่วมกันของประเทศสมชิก อัน่งผลต่อการสร้างความเป็นประชาคมได้ เพราะแต่ละประเทศนั้นต่างก็มีความแตกต่างกันทั้งในด้านชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ที่ขาดความเป็นมาร่วมกัน ด้วยเหตุนี้จึงเป็นไปได้ยากในการที่จะสร้างการบูรณาการในเชิงลึกภายใต้กรอบความร่วมมือเอเปค..เอเปคกลายเป็นเวทีที่สหรัฐฯ เข้ามากดดันขยายอิทธิพลสมาบิกต้องยอมรับแนวทางของสหรัฐฯ และภายหลังวิกฤตเศราฐกิจเอเชีย เอเปคและสหรัฐฯ ไม่สามารถช่วยเหลือประเทศสมาชิกได้ ยิ่งไปกว่านั้น สหรัฐฯกลับเป็นแกนหลักในการต่อต้านแนวคิดการตั้ง Asian Monetary Fund AMF
           2. ACD Asia Cooperation Dialogue เป็นกรอบความร่วมมือที่เกิดึ้นจากการผลักดันของรัฐบาล ทักษิณ ชินวัตร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะให้เวทีในการสร้างความร่วมมือ และหารือกันในทางเศราฐกิจสำหรับภุมิภาคเอเชีย และหารือกันในทางเศราฐกิจสำหรับภุมิภาคเอเชีย ซึ่งโดยเมื่อพิจารณาถึงจำนวนสมาชิกของ ACD ในเอเชียทั้งหมดที่เข้ามาเป็นสมาชิกนั้นจะเห็นได้ว่า ACD มีสถานะเช่นเดียวกับ APEC ในประเด็นของการบูรณาการด้วยเหตุที่วาสมาชิกประเทศในเอเชียนั้นมีจำนวนรวมกันหลายสิบประเทศ และแต่ละประเทศถึงแม้ว่าจะมีความสัมพันธ์กันบ้างในทางด้านการต้าแต่ในด้านความร่วมมือทางเศราฐกิจนั้น ทั้งภุมิภาคเอเชียยังไม่มีการเชื่อมโยงความร่วมมือที่แนบแน่นและยาวนานทำให้ ACD ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ก็เนื่องจากว่า ACD นั้นเกิดมาจากความริเริ่มของไทย ซึ่งในมุมมองของประเทศเอเชียด้วยกันก็มองว่าไทยนั้นไม่มีศักยภพและอิทธิพลในการผลักดันและแสดงบทบาทนำบนเวที จึงส่งผลให้ไม่สามารถชักจูงประเทศในเอเชยเข้ามาร่วมมือภายใต้กรอบ ACD ได้อย่างจริงจัง
             APEC และ ADC เป็นกรอบความร่่วมมือที่มีข้อจำกัดอยุ่มาก เมื่อเปรียบเทียบกับการเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้น ในแง่ที่มองถึงความเป็ฯประชาคม นั่้นคือความรุ้สึกร่วมกันหรือความรู้สึกเป้นเจ้าของผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งผุ้เขียนเชื่อว่าจากประสบการณ์เกี่ยวกับวิกฤตเศราฐกิจทั้งในปี ค.ศ. 1997 และวิกฤตเศราฐกิจโลกในปัจจุบันจะสร้างในเอเชียตะวันออก ตระหนักถึงการปกป้องผลประโยชน์ทางเศราฐกิจร่วมกัน ดดยการสร้างการบูรณาการในเชิงบลึก คือ การมีเขตการค้าเสรีตะวันออกการเป็นตลาดร่วมการมีกลไกทางการเงินที่มีประสทิะิภาพ เช่น การมี AMF เพื่อแก้ไขปัญหาทางการเงินของภูมิภาค ส่วนในการบูรณาการเชิงกว้างนันมีความเห็นว่าจะต้องเริ่มจากรากฐานของ ASEAN +3 ..
           
  หากพิจารณาข้อจำกัดขงอการจัดตั้งประชาคมเศราฐกิจอาเซียนบนเวทีเศรษฐกิจโลกนั้นมีอยู่หลายประการ กล่าวคือ ศักยภาพเศรฐษกิจของประเทศสมาชิก โดยเฉพาะระหว่างกลุ่มสมาชิกดั้งเดิมกับกลุ่มสมาชิกใหม่ที่เข้ามาภายหลัง จอกจากนีการที่อาเซียนพึ่งพาตลาดนอกภูมิภาคเป็นส่วนใหญ่ส่งผลต่อการก้าวไปสู่การเป็นตลาดร่วมของอาเซียน ซึ่งอาจจะทำให้เป้าหมายในกาดำเนินการดัะงกล่าวมีความล่วช้าออกไป ทั้งนี้อาเซียนจะต้องเร่งสร้างกระบวนการบูรณาการทางเศราฐกิจ โดยแสวงหาความร่วมมือจากกลุ่มประเทศภายนอกขอบเขตของอาเซียนเอง โดยเฉพาะจากจีน ญี่ป่นุ และเกาหลี ซึ่งจะเป็นการบูรณาการทั้งเชิงกว้างและลึก เพื่อสร้างกลุ่มเศราฐกิจที่มีขนาดใหญ่ที่สามารถแข่งขขันบนเวทีเศราฐกิจโลกได้ ซึ่งแม้ว่าอาเซียนจะมีกรอบความร่วมมือในด้านเศราฐกิจกับประเทศจีน เกาหลี และยี่ปุ่น ภายใต้กรอบ ASEAN +3 หากแต่โครกงสร้างดังกล่าวก็ยังไม่มีศักยภาพเพียงพอที่จะชับเคลื่อนพลวัตรทางเศราฐกิจที่สามารถแข่งขันกับกลุ่มเศราฐกิจอื่นๆ บนเวทีโลกได้
               จากสถานการณ์ดังกล่าว การก้าวไปสุ่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกจึงเป็ฯอีกทางเลือกหนึ่งที่จะสร้างความเข้มแข็งทางเศราฐกิจให้แก่กลุ่มประเทศในภุมิภาค ดดยการจัดตั้งเขตการต้าเสรีเอเชียตะวันออก และการเป็นตลาดร่วมซึ่งนอกจากจะเป้นการเพ่ิมศักยภาพและอำนาจในการต่อรองแล้ว ยังเป็ฯการพึ่งพาซึ่งกันและกันภายในภูมิภาคได้เป็นอย่างด ดดยอาศัยกลไกการเงินที่มีประสิทธิภาพโดยผ่าน AMF ทั้งนี้การจัดตั้งประชาเศรษฐกิจเอเชียตะวันออกจะต้องสร้างความรู้สึกของการเป็นเจ้าของ
ร่วมกัน หรือความรุ้สึกร่วมมกันภายต้ภัยคุกคามจากวิกฤตเศรษฐกิจ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจหใ้แก่ประเทศสมาชิกอยากเข้ามามีส่วร่วมมากขึ้น อันจะเป็นพลังขึบเคลืื่อนองค์กรให้มีความเข้มแข็.และมีพลงัตรอย่างต่อเนื่องมิฉะนั้นแล้วแาจจะมีสถานภาพเช่นเดียงกับ APEC หรือ ACD ที่ไม่มีบทบาทเด่นชัดในทางปกิบัติ เนื่องจากประเทศสมาชิกขาดความรุ้สึกเป็นเจ้าของร่วมกัน จึงไม่มีแรงผลักดันในการสร้างความร่วมมือให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
                อย่างไรก็ดี การก้าวไปสู่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้นจำเป้นต้องอาเศัยกรอบความร่วมมือ ASEAN + 3 เป็นพื้นฐานเหนื่องจากภายใต้กรอบความร่วมมือ ASEAN +3 นั้นมีกระบวนการพัฒนาที่จะนำไปสู่การจัดตั้งเขตการต้าเสรีเอเชียตะวันออก นอกจากนี้ภายใต้กรอบความร่วมมือ ASEAN +3 นั้นมีกลไกการดำเนินงานที่เปิดโอกาศใหผุ้นำประเทศ เจ้าหน้าที่ระดับสุง ตลอดจนคณะทำงานได้ร่วมประชุมเพื่อปรึกษาหารือถึงประเด็นสำคัญๆ ทั้งทางด้านการเมือง เศรษบกิจและสังคม อันเป็นสวนความสำคัญในการสร้างความเข้าใจระหว่างกันให้ดีขึ้น และนำหปสู่การปรับโครงสร้างภายในเพื่อรองรับการบูรณาการไปสู่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก
                 สำหรับแนวทางการบูรณาการทางเศรษฐกิจ นั้นปัจจัยสำคัญสองปะการที่เป็นตัวเร่งในการรวมตัวกันระหว่าง อาเซียนและ อาเซียนบวกสาม นั้นคือ แนวโน้มของวิกฤตเศราฐกิจดลกในปัจจุบันที่กำลังทวีความเลงร้ายจนกลายเป็นแรงผลักดันให้เกิดประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกขึ้น และอีกประการคือ กระแสการรวมกลุ่มทางเศราฐกจิที่เป็นตัวเร่งให้ อาเซียนบวกสาม ต้องรวมกลุ่มกันให้แข็งแกร่งมากขึ้น เพื่อสร้างอำนาจต่อรองที่มีประสิทธิภาพ

         - "ความเป็นไปได้แลข้อจำกัดของการสร้างประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก" ,วรางคณา ก่อเกี่ยรติพิทักษ์.

             

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)