คาบสมุทรเกาหลี เป็นคาบสมุทางตะวันออกของทวีปเอเชีย ทอดตัวลงไปทางทิศใต้สู่มหาสมุทรแปซิฟิก มีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร พื้นที่รวมกันได้ 220,847 ตารางกิโลเมตร ทางตะวันออกล้อมรอบด้วยทะเลญี่ปุ่น(ทะเลตะวันออก) ทะเลจีนตะวันออก ด้านตะวันตกเป็นทะเลเหลือง โดยมีช่ิงแคบเกาหลีเชื่อต่อชายฝั่งทะเลสองด้าน พื้นที่ 70% ของคาบสทุทรเป็นเทือกเขา
คาบสมุทรเกาหลีเป็นดินแดนที่มีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนาน เริ่มแต่เป็นดินแดนของผุ้คนหลากเผ่าพันธุ์ กระทั่งรวมตัวขึ้นเป็ฯอาณาจักรเล็กๆ ต่อมาถูกจีนยึดครอง เมื่อได้เอกราชจากจีน คาบสมุทรเกาหลีประกอบด้วยสามอาณาจักรสำคัญ คือ อาณาจักรโคกูรยอ ทางภาคเหนือ เผ่าโคกูรยอเร่ิมเข้มเเข็งมากขึ้นเมื่อราชวงศ์ฮั่นของจีนล่มสลาย และสามารถขยายอำนาจเข้ายึดครองมณฑลนังนังจากจีนได้เมื่อ พ.ศ. 856, อาณาจักรแพ็กเจ ชนเผ่าแพ็กเจซึ่งเป็นเผ่าย่อยของเผ่าพูยอที่อพยพลงใต้เข้ายึดครองอาณาจักรอื่นรวมทังอาณาจักรเดิมของเผ่าฮั่น ตั้งเป็นอาณาจักรเมื่อ พ.ศ. 777, อาณาจักรชิลลา อยุ่ทางตะวันออกเฉียงใตค้ของคาบสมุทรเกาหลี พัฒนาขึ้นเป็ฯมิตรกับโคกูรยอตลอดจนกระทั่งหลังสงครามระหว่างโคกูรยอกับแพ็กเจอาณาจักรซิลลาจึงเข้มแข็งเป็นลำดับ จนสามารถยึดครองลุ่มแม่น้ำฮี่นและลุ่มนำ้นักดงจาแพ็กเจได้
แพคเจ ซิลลา และโกรคูรยอ ต่างก็ทำสงครามกันมาหลายร้อยปีเพื่อครองอินแดนคาบสมุทร นอกจากนี้โคกูรยังทำสงครามกับราชวงศ์สุยและราชวงศ์ถังของจีนที่มารุกรานด้วย อย่างไรก็ตาม ทั้งสามอาณาจักรก็ไม่ได้อยู่ในสภาพของศัตรูกันอย่างถาวร โดยบางครั้งสองในสามอาณาจักรจะรวมตัวกันเป็นพันธมิตรกันและทำสงครามต่อต้านอีกอาณาจักรหนึ่ง
ในปี พ.ศ. 1136 ซิลลาได้ทำข้อตกลงเป็นพันธมิตรกับราชวงศ์ถังของจีนซึ่งเพิ่งสถาปนาขึ้นไม่นาน จากนั้นราชวงศ์ถังได้ทำสงครามกับโกคูรยอเป็นเวลานับสิบปีแต่ก็ยังไม่อาจได้รับชัยชนะ ซึ่งในการรุกรานทุกครั้ง กองทัพจีนจะบุกจากทางเหนือเขาโจมตีโกคูรยอ ซึ่งหลังประสบความล้มเหลวหลายครั้ง ทางราชวงศ์ถังก็กำหนดแผนยุทธศาสตร์ใหม่ โดยจะเข้าโจมตีโกคูรยพร้อมกันทั้งจากเหนือและใต้ โดยทางใต้จะอาศัยกำลังพลจากซิลลาที่เป็นพันธมิตร อย่างไรก็ตาม การจะำเนินแผนนี้ได้ ทั้งราชวงศ์ถังและซิลลาที่เป็นพันธมิตร อย่างไรก็ตาม การจะดำเนินแผนนี้ได้ ทั้งราชวงศ์ถึงและซิลลาจำเป็นต้องกำจัดแพคเจเสียก่อน เพื่อกันไม่ให้กลายมาเป็นพันธมิตรของโกคูรอและเพื่อตั้งฐานกำลังสำหรับแนวรบที่สองในภาคใต้ของเกาหลี
ปี พ.ศ. 1176 กองทัพพันธมิตร ถัง-ซิลลา ซึ่งมีรี้พลร่วมสองแสนนายเข้าโจมตีแพคเจและยึดเมืองซาบี เมืองหลวงของแพคเจ รวมทั้งจับตัวพระเจ้าอุยจา กษัตริย์องค์สุดท้ายของแพคเจรวมทั้งพระราชวงศืเกือบทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานจากนั้น ประชาชนทางภาคเหนือของแพคเจก้ได้ก่อกบฏต่อต้านการปกครองของต้าถังกับซิลลา ดดยแ่ทัพชาวแพคเจ ชือ บ็อคซิน ได้พยายามนำกองทหารเข้ายึดเมืองทั้งสี่สิบเมืองที่เสียไป กลับคือ ทั้งยังได้อัญเชิยเจ้าชายบูโยปังที่ประทับอยู่ที่ญี่ปุ่นมาเป็นประมุขของกองกำลังกู้ชาติและสถาปนาเจ้าชายขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ของแพคเจ
แม้ว่ากองกำลังกู้ชาติจะประสบความสำเร็จในการต่อต้านกองทัพถังกับซิลลา ทว่าในปี พ.ศ.1205 ก็เกิดปัญหาภายในขึ้น อีกทั้งเมืองหลวงใหม่ที่ป้อมชูริวก็ถูกข้าศึกปิดล้อมและในระหว่างนั้นเองแม่ทัพบ็อคซินก็ถูกสังหาร แม้สถานะการกำลังสิ้นหวัง ทว่าแพคเจก็ยังเหลือพันธมิตรสำคัญอยูย นั้นคือ อาณาจักรยามาโตะแห่งญีป่นุ ซึ่งนับแต่อดีต แพคเจและราชวงศ์ยามาโตะได้มีความสัมพันธ์ในฐานะพันธฒิตรที่ยาวนานนับร้อยปี นอกจานี้พระราชวงศ์ทั้งสองฝ่ายยังมีความผูกพันทางสายเลือดกันด้วย ดดยชาวญี่ป่นุเาียกแค้วนแพคเจ่า คุดาระ ซึ่งการล่มสลายของซาบีเมืองหลวงของแพคเจ ทำให้บรรดาพระราชวงศ์ของยามาโตะตระหนกตกใจเป็นอันมาก พระจักรพรรดินโซเมอิและยุพราชนาการโนะโอเอะ (ซึ่งต่อมาคือ จักรพรรดิเทนจิ) ตัดสินพระทัยส่งกองทัพไปช่วยเหลือแพคเจฟื้นฟูอาณาจักร โดยทรงให้ อาเบะโนะฮราฟุเป็นปม่ทัพนำกองทัพจำนวนพล 42,000 นาย ข้ามไปยังคาบสมุทรเกาหลี
ในการส่งกองทัพเข้าสู่แผ่นดินใหญ่ครั้งนี้ จักรพรรดินีไซเมอิทรงย้ายเมืองหลวงเป็นการชั่วคราวไปที่อาซาคุระซึ่งอยุ่ใกล้กับท่าเรือในภาคเหนือของเกาะคิวชู เพื่อทรงควบคุมการเคล่อนพล ทว่าหลังจากกองทหารยามาโตะชุดสุดท้ายเคลื่อนพลไปแล้ว พระนางก็สวรรคต องค์ยุพราชนากาโนะขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิเทนจิ
ในเดือนสิงหาคม ปี 1206 แม่ทัพอาเบะโนะฮิราฟุ พร้อมเรือรบ 170 ลำและทหาร 5,000 นายได้าถึงเขตควบคุมของกองกำลังกุ้ชาติแพคเจ ก่อนที่กำลังทหารญี่ป่นุ 27,000 นายที่นำโดยคามิสึเคโนะคิมิวะคะโคะและกองทหารอีกหนึ่งหมื่อนายที่นำโดยโอะฮาระโนะคิมิจะมาถึงในต้นปี 1207
ในปีต่อมา กองทัพเรือพันธมิตรแพคเจและยามาโตะได้เคลือนพบเข้าสุ่ภาคใต้ของแพคเจเพื่อทำลายการปิดล้อมป้อมชูริวของกองทัพซิลลา กองเรือยามาโตะส่งทหาราบขึ้นลบกเข้าสุ่ป้อมชูริวใกล้แม่นำ้เกอุม และสลายการปิดล้อมของข้าศึกได้ ทว่ากองทัพถึงได้ส่งทหาร 7,000 นายพร้อมเรือรบ 170 ลำเข้าสกัดกองหนุนของฝ่ายยามาโตะแม้กองทัพยามาโตะจะมีกำลังพลมากว่า แต่การที่แม่น้ำนั้นแคบทำให้กองเรือต้าถังสามารถรักษาที่มั่นของตนไว้ได้ ขณะที่ฝ่ายญี่ป่นุก็ได้ยกพลเข้าตีถึงสามครั้งแต่ก็ต้องลบ่าถอยออกมาทุกครั้งจนกำลังพลเริ่มอ่อนแอลง
ฝ่ายกองทัพราชวงศ์ถังได้ฉวยโอกาสที่กองทัพข้าศึกอ่อนแรง เคลื่อพลรุกกลับอย่างฉับพลันและทำลายเรือรบญี่ป่นุลงไปเป็นอันมาก ทหารยามาโตะจำนนมากจมน้ำตายและถูกสังหารด้วยอาวุธนายทัยามาโตะ นามว่า อิชิชโนะตาคุสึ ถูกทหารจีนรุมสังหารสิ้นชีพในสนามรบ
การรบครั้งนี้ ฝ่าย๊่่ป่นุสูญเสียเรือรบ 400 ลำ และกำลังทหารกว่ากนึ่งหมื่อนาย ในเวลาเดียวกัน ซิลลาก็ส่งกองทหารม้าเข้าตีกองทหารราบแพคเจที่กำลังรอกองหนุนจาทัพเรือยามาโตะจนแตกพ่ายและกองทัพซิลลาก็เข้ายึดป้อมชูริวได้สำเร็จในวันที่ 7 กันยายน ปีเดียวกัน กษัตริย์บูโยปังทรงลงเรือพร้อมผุ้ติดตามจำนวนหนึ่งหลบหนีไปโกคูรยอ
"ยุทธการแบคกัง" เป็นความพ่ายแพ้ในการรบนอกประเทศ ครั้งใหญ่ที่สุดของญี่ป่นุในยุคโบราณ(ไม่นับการรุกรานเกาหลีของฮิเดโยชิในศตวรรษที่ 16) โดยนอกจากจะสูญเสียกำลังพลไปเป็นจำนวนมากแล้ว ยงเสียที่มั่นและพันธมิตรสำคัญบนแผ่นดินใหญ่เอเชียตะวันออกไปด้วย ส่วนอาณจักรแพคเจั้น ความพ่ายแพ้ในสงครามครั้งนี้ได้ดับความหวังทั้งมวลที่จะฟื้นฟูอาณาจักรอีกครั้ง ชาวแพคเจนำนวนมากได้ลีภัยไปอยู่ในโกคูรยอและบางส่วนก็ข้ามไปญีปุ่น
สำหรับราชวงศ์ถัง ชัยชนะเหนือาณาจักรแพคเจทำให้พวกเขาได้ควบคุมพื้นที่เดิมของแพคเจและสร้างฐานทัพทางตะวันตกเฉียงใต้ของคาบมุทรเกาหลีเพื่อประสานกับซิลลาในการเข้ารุกรามโกครูยอ โดยกองทัพพันธมิตรซิลลา -ราชวงศ์ถังได้เข้ายึดกรุงเปียงยางเมืองหลวงของโกคูรยอได้ในปี 1211
หลังจากพิชิตโกคูรยอลงได้ ราชวงศ์ถังกับซิลลาก็ขัดแย้งกันจนกลายเป็นสงคราม และแม้ว่ากองทัพซิลลาจะขับไล่ทหารจีนออกจากคาบสมุทรได้ ทว่าดินแดนเดิมของโกรุครยอส่วนที่อยุ่เหนือคาบสมุทรเกาหลีก็ถูกผนวกเข้ากับจีน ส่วนซิลลาได้ครอบครองส่วนที่เป้นคาบสมทุรเกาหลีทั้งหมดและถือเป็นการปิดฉากยุคสามก๊กแห่งเกาหลี
เมื่อสิ้นสุดสมัย 3 อาณาจักร อาณาจักรชิลลาถือว่าเป็นผุ้มีชัยบนคาบสมุทรเกาหลีทั้งหมด ในทางประวัติศาสตร์ถือว่า อาณาจักรชิลลาเป็นผุ้รวบรวมแผ่นดินเกาหลีให้เป็นผืนเดียวกันได้เป็นตรั้งแรกนับแต่ยุคสมัยดึกดำบรรพ์เป็นต้นมา จึงเรียกว่า "ยุคชิลลารวมอาณาจักร"
ช่วงยุคสมัยนนี้นับจากปีที่อาณาจักรโคกูยอและอาณาจักแพ็กเจล่มสลาย ในความเป็นจริง อาณาจักรชิลลาไม่ได้ครอบครองดินแดนทั้งหมดไว้ ที่ครอบคลุมได้ทังหมดนั้นเพียงดินแดนทางตอนใต้เท่านั้นแม้แต่ดินแดนของโคกูรยอเดิม ชิลลาก็ไมด้มาเพียงบางส่วนเท่านั้น ไม่เพียงที่ต้องยกคาบสมุทรเหลียวดลให้กับจีน แต่ดินแดนทางเหนือจรดไปถึงแมนจูเลียตกอยู่ในการควบคุมของอาณาจักรเกิดใหม่อีกอาณาจักรหนึ่ง คือ อาณาจักพัลแฮ หรือ ป่อไห่ในชื่อภาษาจีน นักประวัติศาสตร์จึงจัดเป็นยุคอาณาจักรเหนือใต้ของเกาหลี
หลังจากอาณาจักรพัลแฮถูกราชวงศ์เหลี่ยวตีจนแตกนั้นประชาชนพากันอพบยพลงใต้มาบริเวณอาณาจักรโคกุเรียวเดิม แล้วเชื้อพระวงศ์ของอาณาจักรพัลแฮก็สถาปนาอาณาจักรใหม่บริเวณอาณาจักรโคกุเรียวเดิม แล้วให้ชื่อว่า "อาณาจักรโคกุเรียวใหม่" และสภาปนาตนเองเป็นกษัตรย์..ส่วนชาวแพ็กเจที่อยู่ในอาณาจักรรวมชิลลาก็ได้ก่อกบฎต่ออาณาจักร มีหัวหน้าคือ คยอน ฮวอน แล้วตั้งถ่ินฐานที่บริเวณอาณาจักรแพ็กเจ เดิม แง้วไใ้ชือว่า "อาณาจักรแพ็กเจใหมส่" แล้วสถาปนาตนเองเป็นกษัตริย์..แล้วทำการก่อกบฎต่อาณาจักรวรรชิลลา ทำให้ชิลลาเกิดความระส่ำระส่าย จึงนับเป็นยุคสามอาณาจักรยุคหลัง
วังฮุมา สถาปนาตนเองเป็นกษัตริย์แทโจแห่งราชวงศ์โคเรียว อาณาจักรนี้เจริญสูวสุดในสมัยกษัตรย์มทุนจง ยุคนี้เป็นยุคที่ส่งเสริมพระพุทธศาสนามีการทำสงครามกับพวกญี่ป่นุและมองโกล ถูกจีนควบคุมในสมัยราชวง์หยวน จนเมื่ออำนาจของราชวงศ์หยวนอ่อนแดลง อาณาจักรโครยอต้องพบกับปัญหาโจรสลัดญี่ปุ่นและการรุกรานของราชวงศ์หมิง ในที่สุดทำให้ฝ่ายทหารมีอำนาจมากขึ้นจนนำไปสู่การยึดอำนาจของนายพล อีซองกเย และสถาปนาราชวงใหม่ขึ้น คือราชวงศ์โซซ็อน ในสมัยนี้ส่งเสริมขงจื้อ ให้เป็นลัทธิประจำชาตและลดอิทธิพลพุทธศาสนา และประดิษฐ์ "อักษรฮันกึล"ขึ้นใช้แทนอักษรจีน ต่อมาอาณาจักรโชซ็อนได้ประกาศยกสถานะของรัฐจากราชอาณาจัรเป็นจักรวรรดิ และเปลี่ยนจากกษัตริย์เป็น จักรพรรดิ เพื่อให้ประเทศเป็นเอกราชจากจักรวรรดิชิง และยกสถานะของประเทศให้มีความเท่าเทียมกับจักวรรดิชิง และจักรวรรดิญี่ปุ่น แม้ว่าโดยพฤติการณ์แล้วสถานะของเกาหลีมไม่ได้เข้าข่ายการเป็นจักรวรรดิก็ตาม กระทั่้งถูกญี่ปุ่นเข้ายึดครอง ในปี พ.ศ. 2453 กระทั้งญี่ปุ่นแพ้สงครามในปี พ.ศ. 2488
- www.KomKid.com/ประวัติศาสตร์สังคม/ยุทธการแบคกัง(Battel of Baekgang) ปิดฉากสามก๊กเกาหลี
- http//th.wikipedia.org/../คาบสมุทรเกาหลี
วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
วันพุธที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
Why..East Asia Summit
การประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออก ที่กรงุกัวลาลัมปอร์ในวันพุธนี้ ถือเป็นเหตุการณ์ประศาสตร์ ที่จะส่งผลสะเทือนต่ออนาคต และจะเกริกไกรเช่นเดียวกับการประชุมสุดยอดครั้งแรก ของผุ้นำกลุ่มสมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียนที่บาหลี เมื่อปี 1976 ในการประชุมครั้งนั้น อาเซียนมีเพียง 5 ประเทศ ( อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย) ยังไม่มีการรวมเป็น 10 ชาติ ที่รวมประเทศคอมมิวนิสต์ในอินโดจีนที่เพ่ิงอุบัติขึ้นเข้ามาด้วย
ในปัจจุบันการที่จีนผงาดขึ้นมา อินเดียฟื้นต้ว และสหรัฐมที่ครองความเป็นเจ้าแต่ผุ้เดียวในย่านเอเชีย - แปซิฟิก มาตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 หายไปในการประชุมที่กัวลาลัมเปอร์ในครั้งนี้ ขั้ให้เห็นว่าเราได้มาถึงจุดบรรจบแห่งยุคใหม่แล้ว การปฐมฤกษ์แห่งการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ครั้งนี้ เกิดขึ้นหลังการประชุมสุดยอดครั้งที่ 11 ของอาเซียนในกรุงกัวลาลัมเปอร์ นับเป็ฯการเฉลิมฉลองการฟื้นตัวขึ้นมาอย่างกล้าแข็ง จากโรคเรื้อรังทางเศราฐกิจการคลังของเอเชีย จนกระทั่งนำมาซึ่งวิกฤตการณ์ างการเงินในเอเชีย ในช่วงปี 1997-98 ขณะที่สหรัฐถุกหันเปไปกับพันธะะกรณีที่ตัวมีต่ออีรัก
ความแน่นแฟ้นของเอเชียตะวันออก การประชุมสุดยอดในวันพุธนี้สำคัญเพราะเอเชียได้รเริ่มก้าวแรกออกำปจากคำนิยาาม และการจำกัดวงที่คับแคบทางเชื้อชาติและเผ่าพันธุ์ ออกไปสู่การสร้างรากฐานให้กับสถายันระดับภูมิภาคใหม่ ก่อนการปรุชม EAS จะเป็นการพบปะสุดยอดประจำปีของอาเซียน ในการนี้ผุ้นำอเาซียนแต่ละประเทศจะแยกพบปะกับคู่เจรจาจีน ญี่ป่นุ และเกาหลีใต้ ตามมาด้วยการประชุมสุดยอดอาเซียน +3
การผนวกเข้ามาของอินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ รวมทั้งการปรากฎตัวของวลาดิเมียร์ ปูติน แห่งรัศเซีย สะท้อนให้เห็นการมองออกไปนอกตัวเอง แสดงว่ากลุ่มภุมิภาคเอเชียตะวันออกที่เกิดใหม่นี้ จะต้องใช้ครรลองของการมีส่วนร่วมจากทางอื่นด้วย(ในทางภูมิศาสตร์ อินเดีย รัศเซีย ออกเตรเลีย และนิวซีแลนด์ อยุ่นอกเอเชียตะวันออก) นายอเหลินเจีนเป่าของจีน เสนอจะจัด EAS ครังที่สอง คราวนั้น ศูนย์การวิทัตคงจะย้ายจากเอเชียอาคเนย์ ขึ้นไปทางเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมุมมองของอาเซียนอาจจะไม่ชอบนัก และอาจจะด้วยเหตุนี้ ที่นำไปสู่ความรปารถนาที่จะนำประเทศอื่นๆ ที่ีมีปฏิสัมพันธ์อันดีกับย่านนี้เข้ามาร่วมด้วย
ความเป็นปฏิปักษ์กับที่นับวัเพ่ิมขึ้น ของจีนและญี่ปุ่น ความเป็นอริกันทำให้เอชียอาคเนย์เกรงว่า จะเกิดสงครามเย็นรอบสองขึ้นในย่านนี้อีก ทุกวันนี้ จึงยังกระตุ้มเตือนในคนในย่านั้นตะหนักถึงลัะิขยายอาณาจักรของญี่ป่นุ ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เสมอ โดยชี้ข้อเท็จจริงที่นายก ฯจุนอิชิโร่ โคอิสุมิ ไปเยื่อศาลเจ้ายาสุกุนิ ซึ่งเป้ฯที่เก็บอัฐิของอาชญากรสงครามตชของญี่ป่นุ เป้นประจำทุกปี รวมทั้งการที่ญี่ป่นุไม่ให้ความสำคัญต่อการกระทำทารุณกรรมของตน ในสงครามครั้งนั้น ว่าญี่ป่นุยังไม่แสดงความสำนึกผิดต่อการกระทำของตนอย่างเพียงพอ
ท่มีวิพากษืวิจารณืของจีนก่อให้เกิดปฏิกิริยาในญีปุ่่นอย่างรุนแรง ส่วนที่น่าเป้นกังงวลที่สุด ก็น่าจะเป็นพวกเยาชนจีนและญี่ป่นุที่ชาตินิยมเห็นได้ชชัดจากถือยตอบดต้กันที่รุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ในหมู่พวกพัวกระทิทั้งสองฝ่าย ในที่รปะชุมสัมมนาต่างๆ ทั้งในระดับภูมิภาคและรดับสากล ทั้งๆ ที่ความสัมพันธ์ทางเสณาฐกิจระหว่างประเทศทั้งสอง นับวันย่ิงผุกพันสนิทแน่นกันอย่างรวดเร็วยิงขึ้นไปอี ขณะที่สมาชิกต่างๆ ในอาเซียนมีประสบการณื ต้องใช้เวลานานถึง 4 ทศวรรษกวาจะปรองดอ
ย่านนี้ขึ้นมาเป้นสถาบันได้สำเร็จ ประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเแียงเหนือก็ยังคงเน้นอยู่แค่ความสัมพันธ์ระดับทวิภาคี กับการหารรือ ระดับพหุภาคีเพื่อแก้ปขกรณีพิพาทเป้นการเฉพาะเชนากรหารือ 6 ฝ่าย เพื่อถอดชนวนดครงการอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือ เป็นต้น
กระนั้นก็ดีประเด็นที่ญี่ป่นุยังขอขาในเหตุการณืสงครา่มโลกครังที่ 2 ไม่พอ ก็ยังประสานคลองจ้องกันไปทั้งภูมิภาค โดยเฉพาะย่างยิ่งเกาหลีใต้ และอาจจะทำให้ญี่ป่นุโดดเดียวตัวเองออกมามากขึ้น
สหรัฐกับโอกาสเชิงรุก สำหรับสหรัฐ EAS เป็ฯปัฐหาทางการทูตของตัวประการหนึ่ง ถคึงหรัฐจะเป็นคู่ค้าชั้นนำของทุกใน EAS และมีความสัมพันธ์ด้านความมั่นคงกับตัวละครสำคัญ เช่น ญ่ปุ่น แ่สหรัฐก็ยังหาเหตุเข้าประชุมคตรั้งนี้ไม่ได้ เพียงเพราะสหรัฐไม่ยอมรับสนธิสัญญามิตรไมตรีและความร่วมมือ ของอาเซียน ในปี 1976 ที่หวังจะ "ส่งเสริมให้เกิดสันติภาพที่ยั่งยืน มิตรไม่ตรีและความร่วมมือที่ถายรในหมู่ประชาชน (อาเซียน)ของตน อันจะนำมาซึ่งความเข้มแข็ง ความสาานฉันท์ และความสัมพันธ์อันใกฃล้ชิดยิ่งขึ้น" เมื่อพิจารณาจากกำหนดการเร่งด่วของทำเนียบขาว เกือบไม่น่าจะเป้ฯไปได้ ที่ปรธานาธิบดีสหรัฐฯ จะยอมตามคำหว่านล้อม เพื่อเดินทางไปเยือนกลุ่มประเทศ ทราน-แผซิฟิกเป็นประจำปี ห่างจากการประชุมเอเปค ไม่ถึง 1 เดือน ทุกวันนี้ ระบบพันธมิตรของสหรัฐในเอเชีย ก็มีแค่เอเปค และชมรมภุมิภาคอาเซียน เท่านั้น แต่สหรัฐจะต้องกลับไปทบทบวน หาทางเข้าร่วม EAS ใหม่ เพราะต่อไปนี้ EAS จะกลายเป้นสวนหนึ่งของสถาบันในภูมิภาคนี้ไปแล้ว
อเมริกายังเป้นกังวลอยุ่แต่การที่ไต้หวันจะถูกลดขึ้น ทำให้ตัวไม่ให้ความสำคัญต่อบทบาทริเร่ิมของจีน ที่จะขอจัดระชุมรัฐมนตรีต่างประเทศเอเปค ที่กรุงซานดิอเโก้ เประเทศชิลีในปี 2004 อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาว่าเอเชียตะวันออก กำลังผงาดขึ้มาเป้ฯสถาปนิกเขียนแบบความร่วมมือด้านความั่นคงในภูมิภาคนี้ ก็ย่อมเป็นผลประโยชน์ของสหรัฐเอง ที่จะต้องเปข้าไปสรับสนุนบทบาทางการเมืองและความมั่นคงของเอเปค ให้มากขึ้น การยกเครื่องเพิ่มพลังเอเปค แบบนี้ไม่จำเป็นต้องแข่งดกับ EAS หรือ APT หากควรประกอบส่วนำันไปมากกว่า การที่สถบันเหล่านี้จะมีสมาชิกภาพที่เหลือมซ้อนกันอยู่ ก็น่าจะใหญ่พอที่จะเป้นแกนเป็นศุนย์กลางของเอเชีย-แปซิฟิได้อย่างสบาย
ขณะที่ตอนนี้ เอเปคมีผุ้อนวยการที่ต้องรับผิดชอบประเด็นด้านความมั่นคงนอแแบบ อาทิ เช่น การตอบโต้การก่อการร้าย และโรคระบาด เอเปคก็ควรพิจารณาแต่างตั้งผุ้อำนวยการ ทที่จะมาดูแลประเด็นเรืองการเมือง สังคม และความมั่นคงที่เกิดจากการต้า อาทิ เช่นสนองให้เกิดความมั่นคงที่เป็นลูกโซ่ ความปลอดภัยทางทะเล พลังงาน และสิ่งแวดล้อมขึ้นด้วย การอำเอเปคให้มีวาระที่กว้างขึ้น ก็น่านจะสอดคล้องกบการที่เอเปคเป้นสถาบันเดียวในเอเชีย-แปซิฟิก อันเป็นที่องค์ประชุมในระดับหัวหน้ารัฐบาลทั้งหลายใยบ่านนี้
นักวิเคราะห์ชาวอเมริกันหลายคน รวมทั้งจอห์น มีอาร์ไวเมอร์ ประจำมหาวิทยาลัยชิคาโก้ ยังคงกังวลที่จะต้องไปเผชิญหน้ากับจีนที่ผงาดขึ้นมา และหมกมุ่นกับการสร้างควมสัมพันะ์กับประเทศชายเขตของจีน เพื่อถ่วงดุลจีน อาทิ เช่น ญี่ป่นุ อินเดีย และเวียดนาม... สำหรับ ARF ก็คลบ้ายๆ กัน การที่นางคอนโรีซซ่า ไรซ์ รมต.ต่างประเทศสหรัฐ ตัดสินใจไม่เข้เาร่วมการปรุมประจำปี ARF เป็นการกระทำที่ผิดพลาด แม้สไรัญจะต้องเผชิญความเสี่ยงในเอเชียตะวันออกมากว่า นดยบายของสหรัฐก็ยังคงเน้นอยุ่ที่ยุโรปเหมือนเดิม
ในช่วงสงครามเย็น แม้จะใช้นโยบายไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด แต่เห็นได้ชัดว่าอาเซียนอยู่อยู่ฝ่ายตะวันตก ด้วยการเดินหมกทางการทูต เพื่อสถาปนาองค์การใรนระดับภูมิภาคแบบทวิภาคี ที่สลับซับซ้อนของจีน อาเซียนเร่ิมพัฒนความสัมพันธืที่ใกล้ชิดกับจีนากขึ้น ทั้งนี้ดดยนมองกันว่า เพื่อถ่วงดุลลัทะิฉายเดี่ยวของสหรัฐ สมาชิกใหม่ของอาเซียนบางประเทศ เช่น พม่า ลาว และกัมพูชาได้ประโยชน์จากความใจป้ำของจีนและช่วยผ่อนคลายความกังวลจีนในหมุ่อาเซียนด้วยกัน แต่สมาชิกดั่งเดิมของอาเซียนลบางประเทศ เช่นมาเลเซียกับไทยก็แห่ตามไปกับจีน
สำหรับอาเซียนบางประเทศ ที่เห้ฯด้วยกับหลักการถ่วงดุลอำนาจในภุมิาภาค การเขียนพิมพ์เขียวด้วยมุมมองอกไปจากตัวและส่งเสริมให้ประพฤติปฏิบัติตามบรรทัดฐาน และบทบัญญัติระหว่างประเทศต่างๆ ย่อมเป็ฯที่น่าปรารถนามากว่าจะไปอยู่ใต้ศอกของมหาอำนาจชาิตหนึ่งชาติใดโดยเฉพาะ การที่สหรัฐปรากฎตัวในภูมิภาคนี้อย่างคึกคัก ย่อมจะช่วยรักษาอนาคตของภุิภาคแถบนี้ไว้ ดังนั้น ในปี ต่อๆ ไป สหรัฐก็ควรเข้าร่วมประชุมกับ EAS เพราะมันกำลังจะกลายเป(็นแกนหลัก ที่จถสถาปนาสถาบันแห่งเอเชียตะวันออกขึ้นมาโดยไม่ต้องสงสัย...(www.manager.co.th..."การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกสำคัญอย่างไร")
ในปัจจุบันการที่จีนผงาดขึ้นมา อินเดียฟื้นต้ว และสหรัฐมที่ครองความเป็นเจ้าแต่ผุ้เดียวในย่านเอเชีย - แปซิฟิก มาตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 หายไปในการประชุมที่กัวลาลัมเปอร์ในครั้งนี้ ขั้ให้เห็นว่าเราได้มาถึงจุดบรรจบแห่งยุคใหม่แล้ว การปฐมฤกษ์แห่งการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ครั้งนี้ เกิดขึ้นหลังการประชุมสุดยอดครั้งที่ 11 ของอาเซียนในกรุงกัวลาลัมเปอร์ นับเป็ฯการเฉลิมฉลองการฟื้นตัวขึ้นมาอย่างกล้าแข็ง จากโรคเรื้อรังทางเศราฐกิจการคลังของเอเชีย จนกระทั่งนำมาซึ่งวิกฤตการณ์ างการเงินในเอเชีย ในช่วงปี 1997-98 ขณะที่สหรัฐถุกหันเปไปกับพันธะะกรณีที่ตัวมีต่ออีรัก
ความแน่นแฟ้นของเอเชียตะวันออก การประชุมสุดยอดในวันพุธนี้สำคัญเพราะเอเชียได้รเริ่มก้าวแรกออกำปจากคำนิยาาม และการจำกัดวงที่คับแคบทางเชื้อชาติและเผ่าพันธุ์ ออกไปสู่การสร้างรากฐานให้กับสถายันระดับภูมิภาคใหม่ ก่อนการปรุชม EAS จะเป็นการพบปะสุดยอดประจำปีของอาเซียน ในการนี้ผุ้นำอเาซียนแต่ละประเทศจะแยกพบปะกับคู่เจรจาจีน ญี่ป่นุ และเกาหลีใต้ ตามมาด้วยการประชุมสุดยอดอาเซียน +3
การผนวกเข้ามาของอินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ รวมทั้งการปรากฎตัวของวลาดิเมียร์ ปูติน แห่งรัศเซีย สะท้อนให้เห็นการมองออกไปนอกตัวเอง แสดงว่ากลุ่มภุมิภาคเอเชียตะวันออกที่เกิดใหม่นี้ จะต้องใช้ครรลองของการมีส่วนร่วมจากทางอื่นด้วย(ในทางภูมิศาสตร์ อินเดีย รัศเซีย ออกเตรเลีย และนิวซีแลนด์ อยุ่นอกเอเชียตะวันออก) นายอเหลินเจีนเป่าของจีน เสนอจะจัด EAS ครังที่สอง คราวนั้น ศูนย์การวิทัตคงจะย้ายจากเอเชียอาคเนย์ ขึ้นไปทางเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมุมมองของอาเซียนอาจจะไม่ชอบนัก และอาจจะด้วยเหตุนี้ ที่นำไปสู่ความรปารถนาที่จะนำประเทศอื่นๆ ที่ีมีปฏิสัมพันธ์อันดีกับย่านนี้เข้ามาร่วมด้วย
ความเป็นปฏิปักษ์กับที่นับวัเพ่ิมขึ้น ของจีนและญี่ปุ่น ความเป็นอริกันทำให้เอชียอาคเนย์เกรงว่า จะเกิดสงครามเย็นรอบสองขึ้นในย่านนี้อีก ทุกวันนี้ จึงยังกระตุ้มเตือนในคนในย่านั้นตะหนักถึงลัะิขยายอาณาจักรของญี่ป่นุ ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เสมอ โดยชี้ข้อเท็จจริงที่นายก ฯจุนอิชิโร่ โคอิสุมิ ไปเยื่อศาลเจ้ายาสุกุนิ ซึ่งเป้ฯที่เก็บอัฐิของอาชญากรสงครามตชของญี่ป่นุ เป้นประจำทุกปี รวมทั้งการที่ญี่ป่นุไม่ให้ความสำคัญต่อการกระทำทารุณกรรมของตน ในสงครามครั้งนั้น ว่าญี่ป่นุยังไม่แสดงความสำนึกผิดต่อการกระทำของตนอย่างเพียงพอ
ท่มีวิพากษืวิจารณืของจีนก่อให้เกิดปฏิกิริยาในญีปุ่่นอย่างรุนแรง ส่วนที่น่าเป้นกังงวลที่สุด ก็น่าจะเป็นพวกเยาชนจีนและญี่ป่นุที่ชาตินิยมเห็นได้ชชัดจากถือยตอบดต้กันที่รุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ในหมู่พวกพัวกระทิทั้งสองฝ่าย ในที่รปะชุมสัมมนาต่างๆ ทั้งในระดับภูมิภาคและรดับสากล ทั้งๆ ที่ความสัมพันธ์ทางเสณาฐกิจระหว่างประเทศทั้งสอง นับวันย่ิงผุกพันสนิทแน่นกันอย่างรวดเร็วยิงขึ้นไปอี ขณะที่สมาชิกต่างๆ ในอาเซียนมีประสบการณื ต้องใช้เวลานานถึง 4 ทศวรรษกวาจะปรองดอ
ย่านนี้ขึ้นมาเป้นสถาบันได้สำเร็จ ประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเแียงเหนือก็ยังคงเน้นอยู่แค่ความสัมพันธ์ระดับทวิภาคี กับการหารรือ ระดับพหุภาคีเพื่อแก้ปขกรณีพิพาทเป้นการเฉพาะเชนากรหารือ 6 ฝ่าย เพื่อถอดชนวนดครงการอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือ เป็นต้น
กระนั้นก็ดีประเด็นที่ญี่ป่นุยังขอขาในเหตุการณืสงครา่มโลกครังที่ 2 ไม่พอ ก็ยังประสานคลองจ้องกันไปทั้งภูมิภาค โดยเฉพาะย่างยิ่งเกาหลีใต้ และอาจจะทำให้ญี่ป่นุโดดเดียวตัวเองออกมามากขึ้น
สหรัฐกับโอกาสเชิงรุก สำหรับสหรัฐ EAS เป็ฯปัฐหาทางการทูตของตัวประการหนึ่ง ถคึงหรัฐจะเป็นคู่ค้าชั้นนำของทุกใน EAS และมีความสัมพันธ์ด้านความมั่นคงกับตัวละครสำคัญ เช่น ญ่ปุ่น แ่สหรัฐก็ยังหาเหตุเข้าประชุมคตรั้งนี้ไม่ได้ เพียงเพราะสหรัฐไม่ยอมรับสนธิสัญญามิตรไมตรีและความร่วมมือ ของอาเซียน ในปี 1976 ที่หวังจะ "ส่งเสริมให้เกิดสันติภาพที่ยั่งยืน มิตรไม่ตรีและความร่วมมือที่ถายรในหมู่ประชาชน (อาเซียน)ของตน อันจะนำมาซึ่งความเข้มแข็ง ความสาานฉันท์ และความสัมพันธ์อันใกฃล้ชิดยิ่งขึ้น" เมื่อพิจารณาจากกำหนดการเร่งด่วของทำเนียบขาว เกือบไม่น่าจะเป้ฯไปได้ ที่ปรธานาธิบดีสหรัฐฯ จะยอมตามคำหว่านล้อม เพื่อเดินทางไปเยือนกลุ่มประเทศ ทราน-แผซิฟิกเป็นประจำปี ห่างจากการประชุมเอเปค ไม่ถึง 1 เดือน ทุกวันนี้ ระบบพันธมิตรของสหรัฐในเอเชีย ก็มีแค่เอเปค และชมรมภุมิภาคอาเซียน เท่านั้น แต่สหรัฐจะต้องกลับไปทบทบวน หาทางเข้าร่วม EAS ใหม่ เพราะต่อไปนี้ EAS จะกลายเป้นสวนหนึ่งของสถาบันในภูมิภาคนี้ไปแล้ว
อเมริกายังเป้นกังวลอยุ่แต่การที่ไต้หวันจะถูกลดขึ้น ทำให้ตัวไม่ให้ความสำคัญต่อบทบาทริเร่ิมของจีน ที่จะขอจัดระชุมรัฐมนตรีต่างประเทศเอเปค ที่กรุงซานดิอเโก้ เประเทศชิลีในปี 2004 อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาว่าเอเชียตะวันออก กำลังผงาดขึ้มาเป้ฯสถาปนิกเขียนแบบความร่วมมือด้านความั่นคงในภูมิภาคนี้ ก็ย่อมเป็นผลประโยชน์ของสหรัฐเอง ที่จะต้องเปข้าไปสรับสนุนบทบาทางการเมืองและความมั่นคงของเอเปค ให้มากขึ้น การยกเครื่องเพิ่มพลังเอเปค แบบนี้ไม่จำเป็นต้องแข่งดกับ EAS หรือ APT หากควรประกอบส่วนำันไปมากกว่า การที่สถบันเหล่านี้จะมีสมาชิกภาพที่เหลือมซ้อนกันอยู่ ก็น่าจะใหญ่พอที่จะเป้นแกนเป็นศุนย์กลางของเอเชีย-แปซิฟิได้อย่างสบาย
ขณะที่ตอนนี้ เอเปคมีผุ้อนวยการที่ต้องรับผิดชอบประเด็นด้านความมั่นคงนอแแบบ อาทิ เช่น การตอบโต้การก่อการร้าย และโรคระบาด เอเปคก็ควรพิจารณาแต่างตั้งผุ้อำนวยการ ทที่จะมาดูแลประเด็นเรืองการเมือง สังคม และความมั่นคงที่เกิดจากการต้า อาทิ เช่นสนองให้เกิดความมั่นคงที่เป็นลูกโซ่ ความปลอดภัยทางทะเล พลังงาน และสิ่งแวดล้อมขึ้นด้วย การอำเอเปคให้มีวาระที่กว้างขึ้น ก็น่านจะสอดคล้องกบการที่เอเปคเป้นสถาบันเดียวในเอเชีย-แปซิฟิก อันเป็นที่องค์ประชุมในระดับหัวหน้ารัฐบาลทั้งหลายใยบ่านนี้
นักวิเคราะห์ชาวอเมริกันหลายคน รวมทั้งจอห์น มีอาร์ไวเมอร์ ประจำมหาวิทยาลัยชิคาโก้ ยังคงกังวลที่จะต้องไปเผชิญหน้ากับจีนที่ผงาดขึ้นมา และหมกมุ่นกับการสร้างควมสัมพันะ์กับประเทศชายเขตของจีน เพื่อถ่วงดุลจีน อาทิ เช่น ญี่ป่นุ อินเดีย และเวียดนาม... สำหรับ ARF ก็คลบ้ายๆ กัน การที่นางคอนโรีซซ่า ไรซ์ รมต.ต่างประเทศสหรัฐ ตัดสินใจไม่เข้เาร่วมการปรุมประจำปี ARF เป็นการกระทำที่ผิดพลาด แม้สไรัญจะต้องเผชิญความเสี่ยงในเอเชียตะวันออกมากว่า นดยบายของสหรัฐก็ยังคงเน้นอยุ่ที่ยุโรปเหมือนเดิม
ในช่วงสงครามเย็น แม้จะใช้นโยบายไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด แต่เห็นได้ชัดว่าอาเซียนอยู่อยู่ฝ่ายตะวันตก ด้วยการเดินหมกทางการทูต เพื่อสถาปนาองค์การใรนระดับภูมิภาคแบบทวิภาคี ที่สลับซับซ้อนของจีน อาเซียนเร่ิมพัฒนความสัมพันธืที่ใกล้ชิดกับจีนากขึ้น ทั้งนี้ดดยนมองกันว่า เพื่อถ่วงดุลลัทะิฉายเดี่ยวของสหรัฐ สมาชิกใหม่ของอาเซียนบางประเทศ เช่น พม่า ลาว และกัมพูชาได้ประโยชน์จากความใจป้ำของจีนและช่วยผ่อนคลายความกังวลจีนในหมุ่อาเซียนด้วยกัน แต่สมาชิกดั่งเดิมของอาเซียนลบางประเทศ เช่นมาเลเซียกับไทยก็แห่ตามไปกับจีน
สำหรับอาเซียนบางประเทศ ที่เห้ฯด้วยกับหลักการถ่วงดุลอำนาจในภุมิาภาค การเขียนพิมพ์เขียวด้วยมุมมองอกไปจากตัวและส่งเสริมให้ประพฤติปฏิบัติตามบรรทัดฐาน และบทบัญญัติระหว่างประเทศต่างๆ ย่อมเป็ฯที่น่าปรารถนามากว่าจะไปอยู่ใต้ศอกของมหาอำนาจชาิตหนึ่งชาติใดโดยเฉพาะ การที่สหรัฐปรากฎตัวในภูมิภาคนี้อย่างคึกคัก ย่อมจะช่วยรักษาอนาคตของภุิภาคแถบนี้ไว้ ดังนั้น ในปี ต่อๆ ไป สหรัฐก็ควรเข้าร่วมประชุมกับ EAS เพราะมันกำลังจะกลายเป(็นแกนหลัก ที่จถสถาปนาสถาบันแห่งเอเชียตะวันออกขึ้นมาโดยไม่ต้องสงสัย...(www.manager.co.th..."การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกสำคัญอย่างไร")
วันอังคารที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
Kuala Lumpur Declaration on the East Asia Summit
EAS ย่อมาจาก East Asia Summit หมายถึง การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก เกิดขึ้นากการประชุมสุดยอดอาเซียน + 3 เมื่อปี พ.ศ. 2547 ซึ่งผุ้นำอาเซียน +3 เห็นตรงกันว่าการจัดตั้งเอเชียตะวันออก EASเป็นเป้าหมายระยะยาวของกรอบอาเซียน + 3 และเห็นควรให้มีการจัดประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2548 ที่ประเทศมาเลเซีย โดยมี 16 ประเทศเข้าร่วมได้แก่ 10 ประเทศอาเซียน และ จีน ญี่ป่นุ เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
มีการลงนามปฏิญากรุงกัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยการประชุมสุดยอดเอเชีย -ตะวันออก Kuala Lumpur Declaration on the East Asia Summit ซึ่งกำหนดให้ EAS เป็นเวทีสำหรับการหารือประเด็นทางยุทธศาสรตร์การเมืองและเศรษฐกิจที่เปิดกว้างและครอบคลุม
การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก เป็ฯการประชุมระดับผุ้นำประเทศ ซึ่งเกิดขึ้นจากแนวคิดของอตีตนายกรัฐมนตรี มหาเธร์ บิน โมฮัมหมัดของประเทศมาเลเซีย ที่ได้เสนอแนวคิดจัดตั้งความร่วมมือทางเขตเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก East Asia Economic Caucus : EAEC ในปี 1991 ซึ่งจะเป็ฯการรวมกลุ่มเฉพาะประเทศเอเชียตะวันออกโดยไม่มีสหรัฐอเมริการรวมอยู่ด้วย เพื่อถ่วงดุลอำนาจหรัฐอเมริการนั่นเอง แต่แนวคิดนี้ไม่ได้รับการตอบสนองจากหลายประเทศ โดยเฉาพะญี่ปุ่น
ต่อมาในปี 2002 ได้มีกลุ่มศึกษาเอเชียตะวันออกซึ่งจัดตั้งดดยกลุ่มประเทศอาเซียน +3 ทำรายงานให้มีการจัดประชุมสุดยอดขึ้นเป็นประจำของสมาชิกเอเชียตะวันออก โดยมีอาเซียนเป็นแกนำ และในการจัดประชุมนั้นจะต้องเชื่อมโยงกับการจัดการประชุมสุดยอดอาเซียนด้วย
EAS ถือกำเนิดขึ้นในป 2004 จากการประชุมสุดยอดอาเซ๊ยน +34 และในปี 2005 มีสมาชิกมาร่วมอีก 3 ประเทศ รวมทั้งสิ้น 16 ประเทศ หรืออาเซียน + 6 โดยมีการลงนามและประชุมครั้งแรกที่กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ต่อมา ในการประชุมครั้งที่ 2 ปี 2007 ที่ประชุมได้เห็นชอบให้กำหนดสาขาความร่วมมือหลัก 5 สาขา ได้แก่ พลังงาน การศึกษา การเงิน และการจัดการภัยพิบัติไข้หวัดนก(ต่อมาได้ปรับเป็นประเด็นสาธารณะสุขระดับโลกและโรคระบาดในปี 2011) อีทั้งเห็นชอบข้อเสนอของญี่ปุ่นให้จัดตั้ง Economic Research Institute for ASEAN and East Asia : ERIA และจัดทำ Comprehensive Economic Partnership in East Asia : CEPEA การประชุม EAS ครั้งที่ 5 ในปี 2010 ณ กรุง ฮานอย ประเทศเวียดนาม ที่ประชุมได้มีมติรับประเทศสหรัฐอเมริกา และรัสเซีียเข้าเป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการ โดยประเทศทั้งสองเข้าประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกอย่างเป็นทางการในการประชุมครั้งที่ 6 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ในปี 2011 ปัจจุบันมีสมาชิกจำนวน 18 ประเทศ ประกอบด้วย ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซึีแลนด์ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย
บทบาทสำคัญของ EAS คือ การประสานนดยบายระหว่างประเทศสมาชิกทั้งทางด้านเศราฐกิจ การเมืองและสังคม โดย เฉพาะอย่างยิ่งการผลักดันให้เกิดการจัดตั้งความตกลงเขตการต้าเสีเอเชียตะวันออก East Asia Free Trade Area : EAFTA และการจัดตั้งประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก East Asia Economic Community : EAEC ต่อไป
การประชุม EAS ครั้งที่ 9 จัดขึ้น ณ กรุงเนปิดอว์ ประเทศเมียนมา ปี 2014 โดยประธานในที่ประชุม คือ ฯพณฯ U Thein Sein ประธานาธิบดีสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา มีผลการประชุมที่สำคัญบางประเด็น ดังนี้
- ที่ประชุมได้รับรองเอกสารจำนวน 4 ฉบับ คือ ปฏิญญาการประชุมสุดยอเอเชียตะวันออก ว่าด้วยการปราบปรามการลักลอบค้าสัตว์ป่า, แถลงการณ์การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ว่าด้วยแนวทางในการตอบสนองอย่างเร่ิงด่วนต่อัยพิบัติ, แถลงการณืร่วมว่าด้วยการรับมือกับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสอีโบล่าของภุมิภาค และ แถลงการณ์การประชุมสุดยอเอเชียตะวันออกว่าด้วยความรุนแรงและความโหดร้ายที่เพิ่มขึ้นจากการกระทำขององค์องคก์การก่อการร้าย/หัวรุนแรง ่ในอิรักและซิเลีย
- ในการประชุม EAS คงความเป็นเวทีหารือเชิงยุทธศาสตร์ระดับผุ้นำทีเปิดกว้าง โปร่งใส และครอบคลุม โดยมีอาเซียนเป็นแกนกลางในการขับเคลือน รวมทั้งส่งเสริมค่านิยมร่วมและแนวปฏิบัติ ที่เป็นสกล ตลอดจนหลักนิติะรรมและกำหมายระหวา่ประเทศ
- มีการกระชับความร่วมมือใน 6 สาขาที่ EAS ให้ความสำคัญในลำดับต้น ได้แก่ การเงิน พลังงาน การจัดการภัยพิบัติ การศึกษา สาธารณสุข และความเชื่่อมโยง
- สนับสนุนให้มีการจัดประชุมรัฐมนตรีคลัง EAS เป็นประจำทุกปี
- การให้ความสำคัญกับความร่วมมือด้านการจัดการภัยพิบัติ
- สนับสนุนข้อเสนอร่วมของออสเตรเลียและเวียดนาม ที่ตั้งเป้าหมายร่วมกันที่จะขจัดมาลาเรียให้หมดไปจากภุมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกในปี 2030
- มีการแสดงความกังวลเกี่ยวกับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสอีโบลาและสนับสนุนความร่วมมือในเรื่องนี้ โดยหลายประเทศได้ให้ความช่วยเหลือทั้งในด้ารงบประมาณและอุปรากรณ์ทางการแพทย์
- ประเด็นความมั่นคงทางทะเล โดยเฉพาะในบริบทสถานการณ์ในทะเลจีนใต้ ซึ่งมีประชุม ฯ ย้ำถึงการแก้ไขปัญหาด้วยการเจรจาอย่างสันติ โดยให้ความสำคัญกับการปฏิบัติตามกฎหมายระหว่างประเทศ การใช้ความยับยั้งชั่งใจไม่ดำเนินการใด ๆ ที่ทำใหสถานการณ์ทวีความตึงเครียดมากขึ้น และการเจรจาจัดทำแนวปฏิบัติในทะเลจีนใต้
- ประเด็นปัญหาคาบสมุทรเกาหลี สนับสนนุให้มีการปฏิบัติตามข้อมติที่เกี่ยวข้องของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ รวมทั้งสนับสนุนความพยายามต่างๆ ที่จะทำให้กลับคืนสู่การเจรจา 6 ฝ่าย ที่ประกอบด้วย เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้ รัสเซีย จีน ญี่ป่นุ สหรัฐอเมริกา
- ประเด็นปัญหาความรุนแรงจากกลุ่มก่อการร้ายในอิรักและซีเรีย Isalamic State of Iraq and the Levant : ISIL มีการเรียกร้องให้มีการปฏิบัติตามข้อตกลงของ UNSC และการส่งเสริมความร่วมมือเพือก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการ โดยสนับสนนุการแลกเปลี่ยนข้อมุลกันให้มากยิ่งขึ้น และการส่งเสริมความมั่นคงชายแดน..(www.aseanthai.ne... บทความพิเศษ "การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก : ประเด็นที่สำคัญบางประเด็นจากการประชุมครั้งที่ 9)
มีการลงนามปฏิญากรุงกัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยการประชุมสุดยอดเอเชีย -ตะวันออก Kuala Lumpur Declaration on the East Asia Summit ซึ่งกำหนดให้ EAS เป็นเวทีสำหรับการหารือประเด็นทางยุทธศาสรตร์การเมืองและเศรษฐกิจที่เปิดกว้างและครอบคลุม
การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก เป็ฯการประชุมระดับผุ้นำประเทศ ซึ่งเกิดขึ้นจากแนวคิดของอตีตนายกรัฐมนตรี มหาเธร์ บิน โมฮัมหมัดของประเทศมาเลเซีย ที่ได้เสนอแนวคิดจัดตั้งความร่วมมือทางเขตเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก East Asia Economic Caucus : EAEC ในปี 1991 ซึ่งจะเป็ฯการรวมกลุ่มเฉพาะประเทศเอเชียตะวันออกโดยไม่มีสหรัฐอเมริการรวมอยู่ด้วย เพื่อถ่วงดุลอำนาจหรัฐอเมริการนั่นเอง แต่แนวคิดนี้ไม่ได้รับการตอบสนองจากหลายประเทศ โดยเฉาพะญี่ปุ่น
ต่อมาในปี 2002 ได้มีกลุ่มศึกษาเอเชียตะวันออกซึ่งจัดตั้งดดยกลุ่มประเทศอาเซียน +3 ทำรายงานให้มีการจัดประชุมสุดยอดขึ้นเป็นประจำของสมาชิกเอเชียตะวันออก โดยมีอาเซียนเป็นแกนำ และในการจัดประชุมนั้นจะต้องเชื่อมโยงกับการจัดการประชุมสุดยอดอาเซียนด้วย
EAS ถือกำเนิดขึ้นในป 2004 จากการประชุมสุดยอดอาเซ๊ยน +34 และในปี 2005 มีสมาชิกมาร่วมอีก 3 ประเทศ รวมทั้งสิ้น 16 ประเทศ หรืออาเซียน + 6 โดยมีการลงนามและประชุมครั้งแรกที่กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ต่อมา ในการประชุมครั้งที่ 2 ปี 2007 ที่ประชุมได้เห็นชอบให้กำหนดสาขาความร่วมมือหลัก 5 สาขา ได้แก่ พลังงาน การศึกษา การเงิน และการจัดการภัยพิบัติไข้หวัดนก(ต่อมาได้ปรับเป็นประเด็นสาธารณะสุขระดับโลกและโรคระบาดในปี 2011) อีทั้งเห็นชอบข้อเสนอของญี่ปุ่นให้จัดตั้ง Economic Research Institute for ASEAN and East Asia : ERIA และจัดทำ Comprehensive Economic Partnership in East Asia : CEPEA การประชุม EAS ครั้งที่ 5 ในปี 2010 ณ กรุง ฮานอย ประเทศเวียดนาม ที่ประชุมได้มีมติรับประเทศสหรัฐอเมริกา และรัสเซีียเข้าเป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการ โดยประเทศทั้งสองเข้าประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกอย่างเป็นทางการในการประชุมครั้งที่ 6 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ในปี 2011 ปัจจุบันมีสมาชิกจำนวน 18 ประเทศ ประกอบด้วย ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซึีแลนด์ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย
บทบาทสำคัญของ EAS คือ การประสานนดยบายระหว่างประเทศสมาชิกทั้งทางด้านเศราฐกิจ การเมืองและสังคม โดย เฉพาะอย่างยิ่งการผลักดันให้เกิดการจัดตั้งความตกลงเขตการต้าเสีเอเชียตะวันออก East Asia Free Trade Area : EAFTA และการจัดตั้งประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก East Asia Economic Community : EAEC ต่อไป
การประชุม EAS ครั้งที่ 9 จัดขึ้น ณ กรุงเนปิดอว์ ประเทศเมียนมา ปี 2014 โดยประธานในที่ประชุม คือ ฯพณฯ U Thein Sein ประธานาธิบดีสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา มีผลการประชุมที่สำคัญบางประเด็น ดังนี้
- ที่ประชุมได้รับรองเอกสารจำนวน 4 ฉบับ คือ ปฏิญญาการประชุมสุดยอเอเชียตะวันออก ว่าด้วยการปราบปรามการลักลอบค้าสัตว์ป่า, แถลงการณ์การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ว่าด้วยแนวทางในการตอบสนองอย่างเร่ิงด่วนต่อัยพิบัติ, แถลงการณืร่วมว่าด้วยการรับมือกับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสอีโบล่าของภุมิภาค และ แถลงการณ์การประชุมสุดยอเอเชียตะวันออกว่าด้วยความรุนแรงและความโหดร้ายที่เพิ่มขึ้นจากการกระทำขององค์องคก์การก่อการร้าย/หัวรุนแรง ่ในอิรักและซิเลีย
- ในการประชุม EAS คงความเป็นเวทีหารือเชิงยุทธศาสตร์ระดับผุ้นำทีเปิดกว้าง โปร่งใส และครอบคลุม โดยมีอาเซียนเป็นแกนกลางในการขับเคลือน รวมทั้งส่งเสริมค่านิยมร่วมและแนวปฏิบัติ ที่เป็นสกล ตลอดจนหลักนิติะรรมและกำหมายระหวา่ประเทศ
- มีการกระชับความร่วมมือใน 6 สาขาที่ EAS ให้ความสำคัญในลำดับต้น ได้แก่ การเงิน พลังงาน การจัดการภัยพิบัติ การศึกษา สาธารณสุข และความเชื่่อมโยง
- สนับสนุนให้มีการจัดประชุมรัฐมนตรีคลัง EAS เป็นประจำทุกปี
- การให้ความสำคัญกับความร่วมมือด้านการจัดการภัยพิบัติ
- สนับสนุนข้อเสนอร่วมของออสเตรเลียและเวียดนาม ที่ตั้งเป้าหมายร่วมกันที่จะขจัดมาลาเรียให้หมดไปจากภุมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกในปี 2030
- มีการแสดงความกังวลเกี่ยวกับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสอีโบลาและสนับสนุนความร่วมมือในเรื่องนี้ โดยหลายประเทศได้ให้ความช่วยเหลือทั้งในด้ารงบประมาณและอุปรากรณ์ทางการแพทย์
- ประเด็นความมั่นคงทางทะเล โดยเฉพาะในบริบทสถานการณ์ในทะเลจีนใต้ ซึ่งมีประชุม ฯ ย้ำถึงการแก้ไขปัญหาด้วยการเจรจาอย่างสันติ โดยให้ความสำคัญกับการปฏิบัติตามกฎหมายระหว่างประเทศ การใช้ความยับยั้งชั่งใจไม่ดำเนินการใด ๆ ที่ทำใหสถานการณ์ทวีความตึงเครียดมากขึ้น และการเจรจาจัดทำแนวปฏิบัติในทะเลจีนใต้
- ประเด็นปัญหาคาบสมุทรเกาหลี สนับสนนุให้มีการปฏิบัติตามข้อมติที่เกี่ยวข้องของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ รวมทั้งสนับสนุนความพยายามต่างๆ ที่จะทำให้กลับคืนสู่การเจรจา 6 ฝ่าย ที่ประกอบด้วย เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้ รัสเซีย จีน ญี่ป่นุ สหรัฐอเมริกา
- ประเด็นปัญหาความรุนแรงจากกลุ่มก่อการร้ายในอิรักและซีเรีย Isalamic State of Iraq and the Levant : ISIL มีการเรียกร้องให้มีการปฏิบัติตามข้อตกลงของ UNSC และการส่งเสริมความร่วมมือเพือก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการ โดยสนับสนนุการแลกเปลี่ยนข้อมุลกันให้มากยิ่งขึ้น และการส่งเสริมความมั่นคงชายแดน..(www.aseanthai.ne... บทความพิเศษ "การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก : ประเด็นที่สำคัญบางประเด็นจากการประชุมครั้งที่ 9)
วันจันทร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
East Asean Summit : EAS
การจัดการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก East Asia Summit : EAS ในปี พ.ศ. 2548 เป็นพัฒนาการที่สำคัญในความรน่วมมือเอเชียตะวันออกเนื่องจากเป็นการเปิดมิติใหม่ของความสัมพันธ์และความร่วมมือในภูมิภาคและมีการเปิดโอกาสให้ประเทศนอกภูมิภาคเข้ามามีส่วนร่วมด้วย ดดยประเทศอาเซียน + 3 ที่ผลักดันให้ประเทศนอกูมิภาคได้เข้าร่วมใน EASแม้จะมีเหตุผลแตกต่างกันไป แต่ก็มีเป้าหมายตรงกัน คือ ไม่ต้องการให้ EAS จำกัดอยู่เฉพาะแค่ประเทศอาเซียน +3เนื่องจากยังมีความหวาดระแวงกันเองทั้งที่จุดประสงค์ดั้งเดิมของ EAS จะเป็นวิวัฒนาการของการประชุมสุดยอดอาเซียน +3 ซึ่งจะจัดขึ้นเมื่อประเทศอาเซียน +3 มีความไว้เนื้อเชื่อใจกันมากพอ
ปัจจุบัน EAS ประกอบไปด้วยสมาชิก 16 ประเทศ ซึ่งได้แก่ ประเทศอาเซียน +3 และประเทศที่เข้ามาใหม่ 3 ประเทศ ได้แก่ อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ซึ่งมักเรียกกันว่าอาเซียน +6 โดยในมุมมองของอาเซียน EAS จะเป็นเวทีใหม่อีกเวทีหนึ่งที่อาเซียนปรารถนาจะมีบทบา นำ แต่ในมุมมองของประเทศภายนอกอาเซียนโดยเฉพาะประเทศที่เข้ามาใหม่ทั้ง 3 ประเทศ EAS เป็นเวทีที่ประเทศทั้ง 16 ประเทศมีความเท่าเทียมกัน
EAS จะเข้ามาแทนที่กรอบอาเซียน +3 หรือจะพัฒนาคู่ขนานกันไปจะทำให้ความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเข้มแข็งหรืออ่นแอลงเป็นสิ่งที่ต้องศึกษากันต่อไป อยางไรก็ดี EAS อาจเป็นผลดีต่อความร่วมมือในเอเชียตะวันออกในระยะยาวเพราะช่วยให้ความร่วมมือในเอเชียตะวันออกมีพลงัตมากขึ้น การที่เป็นเวทีความร่วมมือที่เปิดกว้างไม่จำกัดเฉพาะประเทศในเอเชียตะวันออกทำให้ EAS สามารถปรับตัวให้เข้ากับการปลี่ยนแปลงของโครงสร้างทางเศราฐกิจและการเมืองของโลกไ้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ ยังอาจใช้เป็นเครื่องมือสำคัญควบคุมจีน หากในอนาคตจีนมีท่าที่เปลี่ยนไปในทางที่พยายามจะแสดงอิทธิพลมากขึ้น ทั้งนี้ ในปัจจุบัน EAS มีการประชุมมาแล้ว 5 ครั้ง ในการประชุม EAS ครั้งที่ 5 ในเดือนตุลาคม 2553 ที่กรุงฮานอย ได้มีการออกเอกสาร Ha Noi Declaration on the Commemoration of 5th Anniversary of the EAS เพื่อแสดงเจตนารมณ์และพันธะทางการเมืองในการส่งเสริมควารมร่วมมือและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ EAS ต่อไป อย่างไรก็ดีกรอบอาเซียน+3 เป็นกรอบที่มีความเป็นไปได้มากว่า EAS เนื่องจากมีความร่วมมือที่มีความก้าวหน้าไปแล้วในหลายๆ ประเด็น
ญีุ่่ปุ่นมีผลประโยชน์ทั้งทางเศราฐกิจและการเมืองอย่างสูงในการรวมตัวกันในเอเชียตะวันออก โดยการรวมตัวกันแบบ EAS (อาเซียน + 6 ) จะทำให้ประโยชน์ทางเศราฐกิจของญี่ป่นุเกิดขึ้นสูงที่สุด เนื่องจากจะมีการเติบโตทางเศราฐกิจสูงกว่าการรวมตัวในแบบอาเซียน +3 สำหรับด้านการเมืองการขัเคลื่อนประเด็นเกี่ยวกัยประชาคมเอเชียตะวันออกจะช่วยให้ญี่ปุ่นสามารถรักษาสถานภาพการมีบทบาทนำในภูมิภาคไว้ได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานภาพนำต่อจีนโดยญี่ปุ่นมองว่าการดำเนินนโยบายการต่างประเทศในประเด็นนี้ จะสามารถตอบสนองผลประดยชน์ของญี่ป่นุได้ใน 3 ประการ คือ 1. กระบวนการความร่วมมือนี้มีประโยชน์ในเนื้อหาสาระในตัวของมันเอง 2. การพบปะหารือกันแบบพหุภาคีเป็นโอกาศที่จะสามารถหารือในประเด็นอื่นๆ ที่นอกเหนือจากเรื่องประชาคมได้ทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี 3. เป็นโอกาสดีที่ญี่ปุ่นจะสามารถมีนโยบายต่อเอเชียอย่างรอคลุมเป็นครั้งแรกตั้งแต่สิ้นสุดสงคราดลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา
ทั้งนี้ ญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะใช้เอเชียตะวันออกเป็นฐานเพื่อมีบทบาทในการปฏิรูรประบบการบริหารจัดการโลกเพื่อแก้ไขปัญหาการเกิดวิกฤตพลังงาน วิกฤติอาหาร และวิกฤติการเงินโลกในปี 2551 อย่างยั่งยืนตลอดจนเดื้อต่การสร้างระบบการบริหารจัการเศราฐกิจโลกใหม่ที่เหมาะสมขึ้นมา
ญี่ปุ่นเน้นแนวทาง EAS (ASEAN +6 ) ที่มีออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดียเข้าเป็นสมาชิกด้ยโดยนโยบายและบทบาทของญี่ปุ่นมักจะขึ้นอยู่กับนโยบายและบทบาทของจีนในประชาคมเอเชียตะวันออกเป็นอย่างมาก หลายฝ่ายในญี่ปุ่นมองว่า เอเชียตะวันออกจะไม่สามารถพัฒนาเป็นประชาคมในลักาณะเดียวกับสหภาพยุโรปได้เพราะมีเงื่อนไขที่ต่างกันทั้งในเชิงสถาบันแลค่านิยมไม่ว่าจะเป็นการขาดองค์การระหว่างประเทศที่จะเป็นกลไกในการประสานความร่วมมือค่านิยมที่แตกต่างกันในประเด็นประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนตลอดจนความรุ้สึกชาตินิยมที่ยังคงเข้มข้นในหม่ชาติเอเชีย อย่างไรก็ตามเอเชียตะวันออกน่าจะสามารถรวมตัวกันได้ในลักษณะเฉพาะแบบเอเชีย ที่ผ่านมา ญี่ปุ่นยงขาดการบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประชาคมเอเชยตะวันออกเนืองจากการแบ่งแยกกันสูงระหว่างการทำงานของกระทรวงต่างๆ โดยนโยบายประชาคมเอเชียตะวันออกของญี่ผ่นุมุ่งเน้นไปที่การแก้ไขปัญหาความสัมพันธ์กับจนเป้ฯหลักโดยเฉพาะอย่างอยิ่งในสมัยนายกรัฐมนตรีจุอิจิโร โคอิสึมิ อย่างไรก็ดี หลังจากที่ญี่ปุ่นมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งใหญ่ หลังพรรคประชาธิปไตยญี่ปุ่นได้รับชัยชนะการเลือกตั้งทั่วไปเหนือพรรคเสรีประชาธิปไตยซึ่งเป็นรัฐบาลมายาวนานกว่า 50 ปี และนายยูกิโอะ ฮาโตยามา เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีดดยได้ประกาศอย่างแข็งขันที่จะผลักดันการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกทั้งยังได้กล่าวเชิญจีนให้มาร่วมมือกันสร้างประชาคมอยางแข็งขัน
แสดงให้เก็นถึงท่าที่ใหม่ของรัฐบาลญี่ปุ่นในการดำเนินนดยบายการต่างประเทศศที่ให้ความสำคัญกับเอเชียมากยิ่งขึ้นโดยนายฮาโตยามาต้องการผลักดันการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์และความเจริญรุ่งเรื่องในภุมิภาค บนพื้นฐานของการเปิดกว้าง โปร่งใส และครอบคลุม และเน้นหลักการความเป็นพี่น้องกันเริ่มจากความร่วมมือด้านเศราฐกิจก่อน แล้วค่อยๆ ขยายไปในสาขาอืนๆ นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงการมีเงินสกุลเดียวกันอีกด้วย ทั้งนี้ นายฮาโตยามามิได้กล่าวถึงประเทศที่จะเป็นสมาชิกของประชาคมเอเชียตะวันออก แต่เป็นที่เข้าใจได้ว่าญี่ป่นุต้องการให้ครอบคลุมประเทศที่เข้าร่วมใน EAS แต่หลีกเลี่ยงที่จะกล่างถึงเรื่องจากไม่อยากจะเผชิญหน้ากับจีน ซึ่งมีท่าที่ที่ชดเจนว่าประชาคมเอเชียตะวันออกควรเร่ิมจากกรอบอาเซียน +3 ก่อน
โดยในปี พ.ศ. 2553 สำนักเลขาะิการคณะรัฐมนตรีของญี่ป่นุได้เผลแพร่เอกสารเกี่ยวกับการดำเนินการในอนาคตเกี่ยวกับแนวคิดประชาคมเอเชียตะวันออก ซึ่้งเน้นการดำเนินการในก้านต่างๆ ได้แก่ 1) ด้านเศรษฐกิจโดยการส่งเสริมการจัดทำความตกลงเขตการต้าเสรี และหุ้นส่วนเศราฐกิจและการส่งเสริมการลงทุนในภูมิภาค และส่งเสริมความเชื่อมโยงในภูมิภาคด้านการแก้ปขปัญหาการเปลี่นแปลงสภาพภูมิอากาศ 2) ด้านการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศดดยเสนอที่จะแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยเสนอที่จะแก้ไขปัญหาด้วยการส่งเสริมให้มีกรใช้เทคโนดลยีที่ก้าวหน้าของญี่ป่นุรวมทั้งถ่ายทอดความรุ้แลประสบการณ์ของตนให้แก่ประเทศอื่นๆ 3) ด้านการป้องกันภัยพิบัติและโรคระบาดโดยเสนอให้มีการตั้งศูนย์ป้องกันภัยพิบัติแห่งเอเชียเพื่อเป็นจุดศูนย์กลางในการให้ความรุ้แลถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง และสร้างเครือข่ายเพื่อป้องกันและสร้างมาตรการในการรับมือกับโรคระบาด 4) ด้านความมั่นคงทางทะเล ดดยส่งเสริมการแก้ไขปัญหาโจรสลัด รวมทั้งส่งเสริมความมั่นคงและความปลอภัยทางทะเล 5) ด้านการศึกษาและวัฒนธรรม ดดยส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนบุคลากรทั้งนักเรียน เยาวชน และนักวิจัย
ในกรอบอาเซียน + 3 ญี่ป่นุแสดงบทบาทแข็งขันไม่ว่าจะเป็นบทบาทในความร่วมือทางการเงินโดยเฉพาะในส่วนของข้อตกลงความริเริ่มเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี 2543 หรือการประกาศที่จะจัดทำความตกลงหุ้นส่วนทางเศราฐกิจระหว่างอาเซียนกับญี่ป่นุ ในปี 2545 เป็นต้น โดยในทางปฏิบัติ ญี่ปุ่นมีเครื่องมือทางนโยบายที่สำคัญอยุ่ 3 ประการ เพื่อผลักดันนโยบายและแสดงบทบาทของตน ได้แก่ 1) การจัดทำและใชบังคับ AJCEP ซึ่งเป็นความตกลงเชตการต้าเสรีระหว่งญี่ปุ่นกับอาเซียนซึญี่ป่นุถือว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญในการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกเนื่องจากมีส่วนในการส่งเสริมสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทสที่จะส่งผลต่อญี่ป่นุในการกำหนดกลยุทธ์ทางการทูตกับประเทศอื่นๆ เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการก่อตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก 2) การช่วยเสริมสร้างสมรรคภาพ ให้แก่ประเทศกำลังพัฒนาในอาเซียน ด้วยการให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนเพื่อลช่องว่าของระดับการพัฒนาในภุมิภาค ซึ่งที่ผ่านมาเป็นอุปสรรคต่อการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจและการรวมตัวกันฃของประชุาคมเอชียตวะันออกโดยญีปุ่นได้ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศต่างๆ ในอาเซียนโดยเฉพาะประเทศในอนุภุมิภาคลุ่มน้ำโขงในหลายรุปแบบ เช่น การพัฒนาสาธารณุปโภคและเทคโนดลยี การพัฒนการศึกษาและทรัพยากรบุคคล และการเสริมสร้างสมรรถนะ 3) ความร่วมมือด้านการเงินภายในภูมิภาค เพื่อสร้างเสถียรภาพของค่าเงินและเศราฐกิจในภูมิภาค เช่น นโยบายการทำให้เิงนเปยเป็นสากล ตลอดจนเพื่อตอบสองผลประโยชน์ของของญี่ปุ่นเองทั้งในสวนของภาคเอเชนและภาครัฐ เน่องจากการพึ่งพาอาศยทางเศราฐกิจระหว่างประเทศในภุมิภาคที่มีเครือข่ายการต้าการลงทุนของญี่ป่นุมีเป็นจำนวนมาก อีกทัี้งสถาบันการเงินของญี่ป่นุได้ปล่อยเงินกุ้จำนวนมหาศาลแก่ประเทศเหล่านี้เมื่อประเทศที่เป็ฯฐานการผลิตและลูกหนี้เวินกุ้ของญี่ปุ่นประสบวิกฤติ ญี่ป่นุก็ย่อมได้รับผลกระทบด้วยเชิ่นกัน ญี่ป่นุจึงต้องเข้าไปให้ความช่วยเหลือด้านการเงินเพื่อรักษาเสถียรภาพทางการเงินและกระตุ้มเศรษฐกิจของประเทศในภุมิภาค นอกจานี้ญี่ป่นุยังเล็งเห็นว่าการผูกติดค่าเงินสกุลต่างๆ ของเอเชียกับค่าเงินคอลลาร์สหรัฐไม่เป็นผลดีประเทศในภูมิภาคควรมทีกลไกช่ยเลหือตนเอง ดังนั้น การทำให้เงินเยนเป็นสกลจึงเป็นการทำให้เงินเยนเป็นเงินสกุลหลักที่ใ้ในธุรกรรมทางเศราฐกจิระหว่างประเทศซึ่งจะช่วยสร้างระบบลทางการเงินที่มีเสถียรภาพ ไมุ่กติดกับเงินสกุลเดียวและลดความเสี่ยงด้านเิงนทุนที่เป็นเงินสกุลต่างประเทศซึ่งจะเห็นได้ว่าญี่ปุ่นมีทั้งวิสัยทัศน์และบทบาทเด่นในการผลักดันการรวมตัวของเอเชยตะวันออกซึ่งบทบาทดังกล่าวย่อมเป็นการตอบสนองผลประโยชน์ของญีปุ่เองทั้งในส่วนของธุรกิจภาคเอกชน และภาครัฐที่ต้องการสร้างเกี่ยติภูมิขิงญี่ป่นุนประชาคมโลก แต่ในขณะเดียวกันถือได้ว่าบทบาทดังกล่าวจะก่อให้เกิดความเข้มแข็งทางเศราฐกิจอขงญีปุ่่นปละภูมิภาคในลักษณะผลประดยชน์ร่วมมือจากการพึงพาอาศัยกันระหวางประเทศในูมิภาค
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก ได้แก่ 1 นโยบายและบทบาทของญี่ปุ่และจีนในประเด็นการรวมตัวในภุมิภาคซึ่งต่างขึ้นอยุ่กับนโยบายและบทบาทของอีกฝ่ายหนึ่งเป็นอย่างมากโดยต่างฝ่ายต่างช่วงชิงบทบาทนำในการริเริ่มข้อเสนอต่างๆ 2. ทัศนะและท่าที่ที่แตกต่างกันของประเทศในอาเซียน +3 และความสนใจอย่างมากของประเทศภายนอกที่มีต่อความร่วมมืแอละการรวมตัวกันในเอเชียตะวันออก และ 3. ปัจจัยพื้นฐานของประเทศภายในภุมิาคซึ่งมีควาหลากหลายและแตกต่างกันมาก
จากปัจจัยสำคัญข้องต้นการรวมตัวเป้นประชาคมเอเชียตะวันออกจะมีความแตกต่างจากสหภาพยุโรปที่มีการรวมตัวกันในเชิงลึกจนพัฒนาก้าวหน้าจนเป็นสหภาพทางการเมืองซึ่งเอเชียตะวันออกคงไม่สามารถเจริญรอยตามนั้นได้อย่างไรก็ตาม เอเชียตะวันออกจะรวมตัวและร่วมมือกันด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ เขตการต้าเสรี ความร่วมมือด้านการเงินและความร่วมมือเชิงหน้าที่ โดยท้ง 3 ส่วนนี้ มีพัฒนาการทีค่อนข้างดีในกรอบอาเซียน + 3 ซึ่งในปี 2550อาเซียน +3 ได้ออกแผนงานเพื่อความร่วมมืออาเซียน +3 ระหว่างปี 2550-2560 เพื่อกำหนดทิศทางในการเพิ่มความร่วมมือต่างๆ อีก้ดวยซึ่งเอเชียตะวันออกน่าจะมีการรวมตัวกันในลักษณะเฉพาะของัวเอง เนื่องจากยังมีความแตกต่างและข้อจำกัดอยู่มากแต่ก็ถือได้ว่า เป็นประบวนการความร่วมมือละภูมิภาคนิยมที่มีนัยสำคัญอันจะก่อให้เกิดประเดยชน์แก่ประเทศในภุมิาภคได้... ( บทความ "บทบาทของญี่ปุ่นในประชาคมเอเชียตะวันออกและนัยต่อประเทศไทย")
ปัจจุบัน EAS ประกอบไปด้วยสมาชิก 16 ประเทศ ซึ่งได้แก่ ประเทศอาเซียน +3 และประเทศที่เข้ามาใหม่ 3 ประเทศ ได้แก่ อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ซึ่งมักเรียกกันว่าอาเซียน +6 โดยในมุมมองของอาเซียน EAS จะเป็นเวทีใหม่อีกเวทีหนึ่งที่อาเซียนปรารถนาจะมีบทบา นำ แต่ในมุมมองของประเทศภายนอกอาเซียนโดยเฉพาะประเทศที่เข้ามาใหม่ทั้ง 3 ประเทศ EAS เป็นเวทีที่ประเทศทั้ง 16 ประเทศมีความเท่าเทียมกัน
EAS จะเข้ามาแทนที่กรอบอาเซียน +3 หรือจะพัฒนาคู่ขนานกันไปจะทำให้ความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเข้มแข็งหรืออ่นแอลงเป็นสิ่งที่ต้องศึกษากันต่อไป อยางไรก็ดี EAS อาจเป็นผลดีต่อความร่วมมือในเอเชียตะวันออกในระยะยาวเพราะช่วยให้ความร่วมมือในเอเชียตะวันออกมีพลงัตมากขึ้น การที่เป็นเวทีความร่วมมือที่เปิดกว้างไม่จำกัดเฉพาะประเทศในเอเชียตะวันออกทำให้ EAS สามารถปรับตัวให้เข้ากับการปลี่ยนแปลงของโครงสร้างทางเศราฐกิจและการเมืองของโลกไ้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ ยังอาจใช้เป็นเครื่องมือสำคัญควบคุมจีน หากในอนาคตจีนมีท่าที่เปลี่ยนไปในทางที่พยายามจะแสดงอิทธิพลมากขึ้น ทั้งนี้ ในปัจจุบัน EAS มีการประชุมมาแล้ว 5 ครั้ง ในการประชุม EAS ครั้งที่ 5 ในเดือนตุลาคม 2553 ที่กรุงฮานอย ได้มีการออกเอกสาร Ha Noi Declaration on the Commemoration of 5th Anniversary of the EAS เพื่อแสดงเจตนารมณ์และพันธะทางการเมืองในการส่งเสริมควารมร่วมมือและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ EAS ต่อไป อย่างไรก็ดีกรอบอาเซียน
วันอาทิตย์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
ฺBuilding East Asia Economic Community
การบูรณาการในเชิงลึกของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือ อาเซียน ยังไม่สามารถสร้างศักยภาพทางด้านการแข่งขันทางเศราฐกิจให้ทัดเทียมกับสหภาพยุโปห้อาเซียนจึงควรเริ่มต้านาร้างการบูรณาการในเชขิงกว้างอย่างจริงจังเป็นลำดับแรก โดยการขยายกรอบความร่วมมือไปสู่ ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวนออก เพื่อที่จะสามารถสร้างอำนาจต่อรองใเวทีเศรษฐกิจโลก ละสามารถพึ่งพากันและกันภายในภูมิภาคได้เองยามเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ทั้งนี้แนวทางการไปสู่การเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้น ต้องอาศัยการบูรณาการทางเศราฐกิจ เป็นตัวขัยเคลื่อน ต้องมีการจัดตังองค์กรที่มีกลไกในการดำเนินงานทางด้านเศราฐกิจและการเงินที่มีประสิทธิภาพ ตลาดจนถึงต้องสร้างจิตสำนึกในการเป็นประชาคมเศรษฐกิจและการเงินที่มีประสิทธิภาพ ตลาดจนถึงต้องสร้างจิตสำนึกในการเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก อย่างไรก็ดี หนทายงในการก้าวไปสู่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้นยังมีปัญหาอุปสรรคที่สำคัญอยู่หลากประการ ไม่ว่าจะเป็นปัฐหาความขัดแย้งของประเทศสมาชิก + 3 ปัญหาความเหลื่อมทางเศษฐกิจของประเทศสมาชิก ปัญหารการแย่งชิงความเป็นผุ้นำในระหว่างจีนและญี่ป่นุ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อการรวมกลุ่มในภุมิภาคซึ่งหากประเทศในภุมิภาคเอเชียตะวันออก และประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สามารถก้าวพ้นอุปสรรคปัญหาเหล่านี้ได้จะนำไปสู่การบูรณาการในเชิงลึกภายในภูมิภาคและระว่างภูมิภาคในด้านอื่นๆ ต่อไป
ด้วยข้อจำกัดของสมาคมเศราฐกิจอาเซียน จากวิกฤตเศรษฐกิจ ค.ศ. 1997 ที่อาเซียนยังขาดความร่วมมือทางเศราฐกิจและกลไกทางการิงนที่มีประสิทธิภาพ ทำให้อาเซียนต้องหันไปขอความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นองค์กรที่ถูกควบคุมโดยชาติตะวันตก ส่งผลให้เมื่อประเทศในภูมิาคเอเชียและอาเซียนกุ้ยืมเงินจาก IMF แล้วต่างก็ถูกครอบงำทางเศรฐกิจจากชาติตะวันตก
เอเชียตะวันออกต้องสร้างการบูรณาการที่เข้มแข็งและเป็นเอกภาพกว่าที่เป็นอยุ่โดยจะตองสร้างสำนึกร่วมกันและการเป็นเจ้าของร่วมกันที่มีจากภัยคุกคามทางวิกฤติเศราฐกิจด้วยกัน ดดยจะต้องมีการจัดตั้ง Asian Monetary Fund AMF เพื่อจะสามารถนำเงินกองทุนของเอเชียมาชวยเหลือประเทศเอเชียที่จะประสบกับปัญหาสภาพคล่องทางเศรษฐกิจ และเป็นการป้องกันไม่ให้วิกฤตการณ์ทางเศราฐกิจลุกลามเหมือนปี ค.ศ. 1997 ประกอบกับจะต้องผลักดันให้เกิดการรวมกันระหว่างเขตการต้าเสรีของจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ กับ AFTA เพ่อเป็นเขตการต้าเสรีเอเชีย
การเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก นั้นจะทำให้ภูมิภาคนี้กลายเป็นภูมิภาคที่มีศักยภาพทางเศราฐกิจที่ทัดเทียมกับสหภาพยุโรป สามารถที่จะพึ่งพาซึ่งกันและกันภายในภุมิภาคได้เอเงในยามที่เกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ
การรวมกลุ่มที่สำคัญๆ ในภูมิภาคเอเชีย
1. เอเปค APEC Asia Pacific Economic Cooperation เป็นองค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากการผลักดันของออสเตรเลียที่ต้องการสร้างพื้นที่บนเวทีเศราฐกิจของเอเชีย โดยมีวัตถุประสงค์พื่อเป็นเวทีในการหารือ แลกเปลี่ยน และสร้างความร่วมมือทางเศราฐกจิในภูมิภาค ซึ่งมีสามาชิกทั้งหมด 21 ประเทศ ที่มาจากหลากหลายภุมิภาคมีทั้ง เอเชีย ยุโรป โอเซียเนีย อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ จึงทำให้เป็นการยากที่จะสร้างความรุ้สึกร่วมกันของประเทศสมชิก อัน่งผลต่อการสร้างความเป็นประชาคมได้ เพราะแต่ละประเทศนั้นต่างก็มีความแตกต่างกันทั้งในด้านชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ที่ขาดความเป็นมาร่วมกัน ด้วยเหตุนี้จึงเป็นไปได้ยากในการที่จะสร้างการบูรณาการในเชิงลึกภายใต้กรอบความร่วมมือเอเปค..เอเปคกลายเป็นเวทีที่สหรัฐฯ เข้ามากดดันขยายอิทธิพลสมาบิกต้องยอมรับแนวทางของสหรัฐฯ และภายหลังวิกฤตเศราฐกิจเอเชีย เอเปคและสหรัฐฯ ไม่สามารถช่วยเหลือประเทศสมาชิกได้ ยิ่งไปกว่านั้น สหรัฐฯกลับเป็นแกนหลักในการต่อต้านแนวคิดการตั้ง Asian Monetary Fund AMF
2. ACD Asia Cooperation Dialogue เป็นกรอบความร่วมมือที่เกิดึ้นจากการผลักดันของรัฐบาล ทักษิณ ชินวัตร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะให้เวทีในการสร้างความร่วมมือ และหารือกันในทางเศราฐกิจสำหรับภุมิภาคเอเชีย และหารือกันในทางเศราฐกิจสำหรับภุมิภาคเอเชีย ซึ่งโดยเมื่อพิจารณาถึงจำนวนสมาชิกของ ACD ในเอเชียทั้งหมดที่เข้ามาเป็นสมาชิกนั้นจะเห็นได้ว่า ACD มีสถานะเช่นเดียวกับ APEC ในประเด็นของการบูรณาการด้วยเหตุที่วาสมาชิกประเทศในเอเชียนั้นมีจำนวนรวมกันหลายสิบประเทศ และแต่ละประเทศถึงแม้ว่าจะมีความสัมพันธ์กันบ้างในทางด้านการต้าแต่ในด้านความร่วมมือทางเศราฐกิจนั้น ทั้งภุมิภาคเอเชียยังไม่มีการเชื่อมโยงความร่วมมือที่แนบแน่นและยาวนานทำให้ ACD ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ก็เนื่องจากว่า ACD นั้นเกิดมาจากความริเริ่มของไทย ซึ่งในมุมมองของประเทศเอเชียด้วยกันก็มองว่าไทยนั้นไม่มีศักยภพและอิทธิพลในการผลักดันและแสดงบทบาทนำบนเวที จึงส่งผลให้ไม่สามารถชักจูงประเทศในเอเชยเข้ามาร่วมมือภายใต้กรอบ ACD ได้อย่างจริงจัง
APEC และ ADC เป็นกรอบความร่่วมมือที่มีข้อจำกัดอยุ่มาก เมื่อเปรียบเทียบกับการเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้น ในแง่ที่มองถึงความเป็ฯประชาคม นั่้นคือความรุ้สึกร่วมกันหรือความรู้สึกเป้นเจ้าของผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งผุ้เขียนเชื่อว่าจากประสบการณ์เกี่ยวกับวิกฤตเศราฐกิจทั้งในปี ค.ศ. 1997 และวิกฤตเศราฐกิจโลกในปัจจุบันจะสร้างในเอเชียตะวันออก ตระหนักถึงการปกป้องผลประโยชน์ทางเศราฐกิจร่วมกัน ดดยการสร้างการบูรณาการในเชิงบลึก คือ การมีเขตการค้าเสรีตะวันออกการเป็นตลาดร่วมการมีกลไกทางการเงินที่มีประสทิะิภาพ เช่น การมี AMF เพื่อแก้ไขปัญหาทางการเงินของภูมิภาค ส่วนในการบูรณาการเชิงกว้างนันมีความเห็นว่าจะต้องเริ่มจากรากฐานของ ASEAN +3 ..
หากพิจารณาข้อจำกัดขงอการจัดตั้งประชาคมเศราฐกิจอาเซียนบนเวทีเศรษฐกิจโลกนั้นมีอยู่หลายประการ กล่าวคือ ศักยภาพเศรฐษกิจของประเทศสมาชิก โดยเฉพาะระหว่างกลุ่มสมาชิกดั้งเดิมกับกลุ่มสมาชิกใหม่ที่เข้ามาภายหลัง จอกจากนีการที่อาเซียนพึ่งพาตลาดนอกภูมิภาคเป็นส่วนใหญ่ส่งผลต่อการก้าวไปสู่การเป็นตลาดร่วมของอาเซียน ซึ่งอาจจะทำให้เป้าหมายในกาดำเนินการดัะงกล่าวมีความล่วช้าออกไป ทั้งนี้อาเซียนจะต้องเร่งสร้างกระบวนการบูรณาการทางเศราฐกิจ โดยแสวงหาความร่วมมือจากกลุ่มประเทศภายนอกขอบเขตของอาเซียนเอง โดยเฉพาะจากจีน ญี่ป่นุ และเกาหลี ซึ่งจะเป็นการบูรณาการทั้งเชิงกว้างและลึก เพื่อสร้างกลุ่มเศราฐกิจที่มีขนาดใหญ่ที่สามารถแข่งขขันบนเวทีเศราฐกิจโลกได้ ซึ่งแม้ว่าอาเซียนจะมีกรอบความร่วมมือในด้านเศราฐกิจกับประเทศจีน เกาหลี และยี่ปุ่น ภายใต้กรอบ ASEAN +3 หากแต่โครกงสร้างดังกล่าวก็ยังไม่มีศักยภาพเพียงพอที่จะชับเคลื่อนพลวัตรทางเศราฐกิจที่สามารถแข่งขันกับกลุ่มเศราฐกิจอื่นๆ บนเวทีโลกได้
จากสถานการณ์ดังกล่าว การก้าวไปสุ่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกจึงเป็ฯอีกทางเลือกหนึ่งที่จะสร้างความเข้มแข็งทางเศราฐกิจให้แก่กลุ่มประเทศในภุมิภาค ดดยการจัดตั้งเขตการต้าเสรีเอเชียตะวันออก และการเป็นตลาดร่วมซึ่งนอกจากจะเป้นการเพ่ิมศักยภาพและอำนาจในการต่อรองแล้ว ยังเป็ฯการพึ่งพาซึ่งกันและกันภายในภูมิภาคได้เป็นอย่างด ดดยอาศัยกลไกการเงินที่มีประสิทธิภาพโดยผ่าน AMF ทั้งนี้การจัดตั้งประชาเศรษฐกิจเอเชียตะวันออกจะต้องสร้างความรู้สึกของการเป็นเจ้าของ
ร่วมกัน หรือความรุ้สึกร่วมมกันภายต้ภัยคุกคามจากวิกฤตเศรษฐกิจ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจหใ้แก่ประเทศสมาชิกอยากเข้ามามีส่วร่วมมากขึ้น อันจะเป็นพลังขึบเคลืื่อนองค์กรให้มีความเข้มแข็.และมีพลงัตรอย่างต่อเนื่องมิฉะนั้นแล้วแาจจะมีสถานภาพเช่นเดียงกับ APEC หรือ ACD ที่ไม่มีบทบาทเด่นชัดในทางปกิบัติ เนื่องจากประเทศสมาชิกขาดความรุ้สึกเป็นเจ้าของร่วมกัน จึงไม่มีแรงผลักดันในการสร้างความร่วมมือให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
อย่างไรก็ดี การก้าวไปสู่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้นจำเป้นต้องอาเศัยกรอบความร่วมมือ ASEAN + 3 เป็นพื้นฐานเหนื่องจากภายใต้กรอบความร่วมมือ ASEAN +3 นั้นมีกระบวนการพัฒนาที่จะนำไปสู่การจัดตั้งเขตการต้าเสรีเอเชียตะวันออก นอกจากนี้ภายใต้กรอบความร่วมมือ ASEAN +3 นั้นมีกลไกการดำเนินงานที่เปิดโอกาศใหผุ้นำประเทศ เจ้าหน้าที่ระดับสุง ตลอดจนคณะทำงานได้ร่วมประชุมเพื่อปรึกษาหารือถึงประเด็นสำคัญๆ ทั้งทางด้านการเมือง เศรษบกิจและสังคม อันเป็นสวนความสำคัญในการสร้างความเข้าใจระหว่างกันให้ดีขึ้น และนำหปสู่การปรับโครงสร้างภายในเพื่อรองรับการบูรณาการไปสู่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก
สำหรับแนวทางการบูรณาการทางเศรษฐกิจ นั้นปัจจัยสำคัญสองปะการที่เป็นตัวเร่งในการรวมตัวกันระหว่าง อาเซียนและ อาเซียนบวกสาม นั้นคือ แนวโน้มของวิกฤตเศราฐกิจดลกในปัจจุบันที่กำลังทวีความเลงร้ายจนกลายเป็นแรงผลักดันให้เกิดประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกขึ้น และอีกประการคือ กระแสการรวมกลุ่มทางเศราฐกจิที่เป็นตัวเร่งให้ อาเซียนบวกสาม ต้องรวมกลุ่มกันให้แข็งแกร่งมากขึ้น เพื่อสร้างอำนาจต่อรองที่มีประสิทธิภาพ
- "ความเป็นไปได้แลข้อจำกัดของการสร้างประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก" ,วรางคณา ก่อเกี่ยรติพิทักษ์.
ด้วยข้อจำกัดของสมาคมเศราฐกิจอาเซียน จากวิกฤตเศรษฐกิจ ค.ศ. 1997 ที่อาเซียนยังขาดความร่วมมือทางเศราฐกิจและกลไกทางการิงนที่มีประสิทธิภาพ ทำให้อาเซียนต้องหันไปขอความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นองค์กรที่ถูกควบคุมโดยชาติตะวันตก ส่งผลให้เมื่อประเทศในภูมิาคเอเชียและอาเซียนกุ้ยืมเงินจาก IMF แล้วต่างก็ถูกครอบงำทางเศรฐกิจจากชาติตะวันตก
เอเชียตะวันออกต้องสร้างการบูรณาการที่เข้มแข็งและเป็นเอกภาพกว่าที่เป็นอยุ่โดยจะตองสร้างสำนึกร่วมกันและการเป็นเจ้าของร่วมกันที่มีจากภัยคุกคามทางวิกฤติเศราฐกิจด้วยกัน ดดยจะต้องมีการจัดตั้ง Asian Monetary Fund AMF เพื่อจะสามารถนำเงินกองทุนของเอเชียมาชวยเหลือประเทศเอเชียที่จะประสบกับปัญหาสภาพคล่องทางเศรษฐกิจ และเป็นการป้องกันไม่ให้วิกฤตการณ์ทางเศราฐกิจลุกลามเหมือนปี ค.ศ. 1997 ประกอบกับจะต้องผลักดันให้เกิดการรวมกันระหว่างเขตการต้าเสรีของจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ กับ AFTA เพ่อเป็นเขตการต้าเสรีเอเชีย
การเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก นั้นจะทำให้ภูมิภาคนี้กลายเป็นภูมิภาคที่มีศักยภาพทางเศราฐกิจที่ทัดเทียมกับสหภาพยุโรป สามารถที่จะพึ่งพาซึ่งกันและกันภายในภุมิภาคได้เอเงในยามที่เกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ
การรวมกลุ่มที่สำคัญๆ ในภูมิภาคเอเชีย
1. เอเปค APEC Asia Pacific Economic Cooperation เป็นองค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากการผลักดันของออสเตรเลียที่ต้องการสร้างพื้นที่บนเวทีเศราฐกิจของเอเชีย โดยมีวัตถุประสงค์พื่อเป็นเวทีในการหารือ แลกเปลี่ยน และสร้างความร่วมมือทางเศราฐกจิในภูมิภาค ซึ่งมีสามาชิกทั้งหมด 21 ประเทศ ที่มาจากหลากหลายภุมิภาคมีทั้ง เอเชีย ยุโรป โอเซียเนีย อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ จึงทำให้เป็นการยากที่จะสร้างความรุ้สึกร่วมกันของประเทศสมชิก อัน่งผลต่อการสร้างความเป็นประชาคมได้ เพราะแต่ละประเทศนั้นต่างก็มีความแตกต่างกันทั้งในด้านชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ที่ขาดความเป็นมาร่วมกัน ด้วยเหตุนี้จึงเป็นไปได้ยากในการที่จะสร้างการบูรณาการในเชิงลึกภายใต้กรอบความร่วมมือเอเปค..เอเปคกลายเป็นเวทีที่สหรัฐฯ เข้ามากดดันขยายอิทธิพลสมาบิกต้องยอมรับแนวทางของสหรัฐฯ และภายหลังวิกฤตเศราฐกิจเอเชีย เอเปคและสหรัฐฯ ไม่สามารถช่วยเหลือประเทศสมาชิกได้ ยิ่งไปกว่านั้น สหรัฐฯกลับเป็นแกนหลักในการต่อต้านแนวคิดการตั้ง Asian Monetary Fund AMF
2. ACD Asia Cooperation Dialogue เป็นกรอบความร่วมมือที่เกิดึ้นจากการผลักดันของรัฐบาล ทักษิณ ชินวัตร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะให้เวทีในการสร้างความร่วมมือ และหารือกันในทางเศราฐกิจสำหรับภุมิภาคเอเชีย และหารือกันในทางเศราฐกิจสำหรับภุมิภาคเอเชีย ซึ่งโดยเมื่อพิจารณาถึงจำนวนสมาชิกของ ACD ในเอเชียทั้งหมดที่เข้ามาเป็นสมาชิกนั้นจะเห็นได้ว่า ACD มีสถานะเช่นเดียวกับ APEC ในประเด็นของการบูรณาการด้วยเหตุที่วาสมาชิกประเทศในเอเชียนั้นมีจำนวนรวมกันหลายสิบประเทศ และแต่ละประเทศถึงแม้ว่าจะมีความสัมพันธ์กันบ้างในทางด้านการต้าแต่ในด้านความร่วมมือทางเศราฐกิจนั้น ทั้งภุมิภาคเอเชียยังไม่มีการเชื่อมโยงความร่วมมือที่แนบแน่นและยาวนานทำให้ ACD ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ก็เนื่องจากว่า ACD นั้นเกิดมาจากความริเริ่มของไทย ซึ่งในมุมมองของประเทศเอเชียด้วยกันก็มองว่าไทยนั้นไม่มีศักยภพและอิทธิพลในการผลักดันและแสดงบทบาทนำบนเวที จึงส่งผลให้ไม่สามารถชักจูงประเทศในเอเชยเข้ามาร่วมมือภายใต้กรอบ ACD ได้อย่างจริงจัง
APEC และ ADC เป็นกรอบความร่่วมมือที่มีข้อจำกัดอยุ่มาก เมื่อเปรียบเทียบกับการเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้น ในแง่ที่มองถึงความเป็ฯประชาคม นั่้นคือความรุ้สึกร่วมกันหรือความรู้สึกเป้นเจ้าของผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งผุ้เขียนเชื่อว่าจากประสบการณ์เกี่ยวกับวิกฤตเศราฐกิจทั้งในปี ค.ศ. 1997 และวิกฤตเศราฐกิจโลกในปัจจุบันจะสร้างในเอเชียตะวันออก ตระหนักถึงการปกป้องผลประโยชน์ทางเศราฐกิจร่วมกัน ดดยการสร้างการบูรณาการในเชิงบลึก คือ การมีเขตการค้าเสรีตะวันออกการเป็นตลาดร่วมการมีกลไกทางการเงินที่มีประสทิะิภาพ เช่น การมี AMF เพื่อแก้ไขปัญหาทางการเงินของภูมิภาค ส่วนในการบูรณาการเชิงกว้างนันมีความเห็นว่าจะต้องเริ่มจากรากฐานของ ASEAN +3 ..
หากพิจารณาข้อจำกัดขงอการจัดตั้งประชาคมเศราฐกิจอาเซียนบนเวทีเศรษฐกิจโลกนั้นมีอยู่หลายประการ กล่าวคือ ศักยภาพเศรฐษกิจของประเทศสมาชิก โดยเฉพาะระหว่างกลุ่มสมาชิกดั้งเดิมกับกลุ่มสมาชิกใหม่ที่เข้ามาภายหลัง จอกจากนีการที่อาเซียนพึ่งพาตลาดนอกภูมิภาคเป็นส่วนใหญ่ส่งผลต่อการก้าวไปสู่การเป็นตลาดร่วมของอาเซียน ซึ่งอาจจะทำให้เป้าหมายในกาดำเนินการดัะงกล่าวมีความล่วช้าออกไป ทั้งนี้อาเซียนจะต้องเร่งสร้างกระบวนการบูรณาการทางเศราฐกิจ โดยแสวงหาความร่วมมือจากกลุ่มประเทศภายนอกขอบเขตของอาเซียนเอง โดยเฉพาะจากจีน ญี่ป่นุ และเกาหลี ซึ่งจะเป็นการบูรณาการทั้งเชิงกว้างและลึก เพื่อสร้างกลุ่มเศราฐกิจที่มีขนาดใหญ่ที่สามารถแข่งขขันบนเวทีเศราฐกิจโลกได้ ซึ่งแม้ว่าอาเซียนจะมีกรอบความร่วมมือในด้านเศราฐกิจกับประเทศจีน เกาหลี และยี่ปุ่น ภายใต้กรอบ ASEAN +3 หากแต่โครกงสร้างดังกล่าวก็ยังไม่มีศักยภาพเพียงพอที่จะชับเคลื่อนพลวัตรทางเศราฐกิจที่สามารถแข่งขันกับกลุ่มเศราฐกิจอื่นๆ บนเวทีโลกได้
จากสถานการณ์ดังกล่าว การก้าวไปสุ่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกจึงเป็ฯอีกทางเลือกหนึ่งที่จะสร้างความเข้มแข็งทางเศราฐกิจให้แก่กลุ่มประเทศในภุมิภาค ดดยการจัดตั้งเขตการต้าเสรีเอเชียตะวันออก และการเป็นตลาดร่วมซึ่งนอกจากจะเป้นการเพ่ิมศักยภาพและอำนาจในการต่อรองแล้ว ยังเป็ฯการพึ่งพาซึ่งกันและกันภายในภูมิภาคได้เป็นอย่างด ดดยอาศัยกลไกการเงินที่มีประสิทธิภาพโดยผ่าน AMF ทั้งนี้การจัดตั้งประชาเศรษฐกิจเอเชียตะวันออกจะต้องสร้างความรู้สึกของการเป็นเจ้าของ
ร่วมกัน หรือความรุ้สึกร่วมมกันภายต้ภัยคุกคามจากวิกฤตเศรษฐกิจ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจหใ้แก่ประเทศสมาชิกอยากเข้ามามีส่วร่วมมากขึ้น อันจะเป็นพลังขึบเคลืื่อนองค์กรให้มีความเข้มแข็.และมีพลงัตรอย่างต่อเนื่องมิฉะนั้นแล้วแาจจะมีสถานภาพเช่นเดียงกับ APEC หรือ ACD ที่ไม่มีบทบาทเด่นชัดในทางปกิบัติ เนื่องจากประเทศสมาชิกขาดความรุ้สึกเป็นเจ้าของร่วมกัน จึงไม่มีแรงผลักดันในการสร้างความร่วมมือให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
อย่างไรก็ดี การก้าวไปสู่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้นจำเป้นต้องอาเศัยกรอบความร่วมมือ ASEAN + 3 เป็นพื้นฐานเหนื่องจากภายใต้กรอบความร่วมมือ ASEAN +3 นั้นมีกระบวนการพัฒนาที่จะนำไปสู่การจัดตั้งเขตการต้าเสรีเอเชียตะวันออก นอกจากนี้ภายใต้กรอบความร่วมมือ ASEAN +3 นั้นมีกลไกการดำเนินงานที่เปิดโอกาศใหผุ้นำประเทศ เจ้าหน้าที่ระดับสุง ตลอดจนคณะทำงานได้ร่วมประชุมเพื่อปรึกษาหารือถึงประเด็นสำคัญๆ ทั้งทางด้านการเมือง เศรษบกิจและสังคม อันเป็นสวนความสำคัญในการสร้างความเข้าใจระหว่างกันให้ดีขึ้น และนำหปสู่การปรับโครงสร้างภายในเพื่อรองรับการบูรณาการไปสู่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก
สำหรับแนวทางการบูรณาการทางเศรษฐกิจ นั้นปัจจัยสำคัญสองปะการที่เป็นตัวเร่งในการรวมตัวกันระหว่าง อาเซียนและ อาเซียนบวกสาม นั้นคือ แนวโน้มของวิกฤตเศราฐกิจดลกในปัจจุบันที่กำลังทวีความเลงร้ายจนกลายเป็นแรงผลักดันให้เกิดประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกขึ้น และอีกประการคือ กระแสการรวมกลุ่มทางเศราฐกจิที่เป็นตัวเร่งให้ อาเซียนบวกสาม ต้องรวมกลุ่มกันให้แข็งแกร่งมากขึ้น เพื่อสร้างอำนาจต่อรองที่มีประสิทธิภาพ
- "ความเป็นไปได้แลข้อจำกัดของการสร้างประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก" ,วรางคณา ก่อเกี่ยรติพิทักษ์.
วันเสาร์ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
Economic Institute for ASEAN and East Asia : ERIA
บทบาทของญี่ปุ่นในการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการสร้างความเย้มแบ็งและการบูรณาการทางเศราฐกิจของเอเซียตะวันออก ดดยผ่านการใหความช่วยเหลือจาก "สภาบันวิจัยทางเศรษฐฏิจเพื่ออาเซียนและเอเซียตะวันออก" ซึ่งเป็นองค์การระหว่างประเทศที่สำคัญที่มีหน้าที่นการทำวิจัยเพื่อสนับสนุนและเสริมสร้างความเข้มแข็งของประชาคมเอเชียตะวันออก
ญี่ปุ่นได้เสนอให้มีการก่อตั้ง EARI และให้วงระมาณสนับสนุนเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเผยแพร่องค์ความรุ้เกี่ยวกับการพัฒนาที่สอดคลอ้งไปกับผลประโยชน์ทางเศราฐกิจของญี่ป่นุ ดดยเฉพาะอย่างยิ่งบริษัทเอกชนของญี่ป่นุที่ดำเนินการลงทุนอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มานานแล้ว
สถาบันวิจัยทางเศราฐฏิจเพื่อเซียนและเอเชียตะวันออก มีสถานะเป็นองค์การระหว่างประเทศและมีเป้าหมายในการสนับสนุนการทำงานของสำนักเลขาธิการอาเซียนในการทำงิจัยและออกข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย รวมไปถงการจัดทำโครงการเพ่ิมศักยภาพ เพื่อเพิ่มระดับความสามารถด้านการทำวิจัยเชิงนโยบายให้กับประเทศพัฒนาน้อยที่สุด บทบาทของ ERIA ด้านการทำวิจัยนั้นครอบคลุมหลายมิติ ทั้งเรื่งเศราฐกิจ แารเปิดเสรีทางการต้าประชาคมเศราฐกิจอาเซียน ความตกลงหุ้นส่วนทางเศราฐกิจระดับภุมิภาค ระบบสาธารณูปโภค วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พลังงาน และด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นเหล่านี้ครอบคลุมหลักสำคัญของการพัฒนาด้านเศรษฐกิจทั้งระดับรัฐและระดับภุมิภาค และทำให้เราเห็ฯาพกว้างว่ายุทธศาสตร์ของ ERIA นันเนิ้นไปที่เรื่องการสนับสนุนการก่อตั้ง AEC การสนับสนุนให้อาเซียนเป็นผุ้ขับเคลื่อนหลักของกระบวนการบูรณาการทางเศราฐกิจระดับภุมิภาค การพยายามลดช่องว่างของการพัฒนาในเอเชียตะวันออก และการพยาบามเพ่ิมความรู้สึกของประชาคมในเอเชียตะวันออก ประเด็นด้านการวิจัยเหล่านี้นั้นสอดคล้องและสนับสนุนซึ่งกันและกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่า่ว แต่ ERIA ก็ยังถูกตั้งำถามต่อสถานะความเป้ฯกลางและความเป็ฯอิสระขององค์กรที่จะไม่ขึ้นกับประเทศใดประเทศหนึงเป็ฯสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นที่เป็นผุ้เสอนให้มีการจัดตั้ง ERIA และการให้งบประมาณสนับสนุนจำนวนมหาศาลเพื่อใช้ในการดำเนินกิจการและการทำวิจัยขององค์กร
ผลงานด้านการวิจัยของ ERIA ได้รับการยอมรับในเวทีระหว่างประเทศ สภาบันวิชาการอย่าง มหาวิทยาลัยเพนนิวาเนีย ประเทศสหรัฐฯ ได้จัดอันดับคลังสมองที่อยู่ในกลุ่ม Top International Economics Think Tanks อันดับที่ 31 ของดลก อีกทั้งยังได้จัดให้ ERIA เป็ฯอันดับที่ 24 ของ Best Think Tank Network และเป็นคลังสมองอันดับที่ 17 ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแถบแปซิฟิก การได้รับการยอมรับถึงบทบาทของ ERIA ในเวทีระหว่างประเทศดดยเฉพาะด้านความสามารถในการเป็นคลังสมองในระดับโลกและระดับภูมิภาคสะท้อนให้เห็นความสำคัญในฐานะที่เป็นคลังสมองที่สำคัญที่ช่วยสนับสนุนการทำงานของประชาคมเอเชียตะวันออกโดยเแพาะในมิติเศรษฐกิจและการพัฒนา...
การก่อตั้ง ERIA นั้นเป็นความพยายามของญี่ปุ่นในการที่จะแสดงบทบาทนำในฐานะที่เป็นผู้นำทางปัญญาของภูมิภาคเอเชียตะวันออก ก่อนจะมีการจัดตั้ง ERIA อย่างเป็นทางการ อาจารย์จามหาวิทยาลัยและบุคลากรจากหน่วยงานราชการของประเทศญี่ปุ่นที่มีส่วนอย่างมากในการวาแผนและจัดตั้ง ERIA ได้เดินทางมาติดต่อกับอาจารย์ในมหาวิทยาลัยในประเทศต่างๆในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อขอความเห็นด้านวิชาการ รวมไปถึงการสนับสนุนด้านวิชาการจากอาจารย์ในมหาวิทยาลัยว่าจะสนับสนุนการก่อตั้ง ERIA หรือไม่ และจะเข้าไปมีส่วนร่วมในการทำงิจัยของ ERIA ได้อย่างไร รวมไปถึงการประชุมเพื่อวางแผนออกแบบองค์กร และวางเป้าหมายขององค์กร
ERIA ยังถูกมองว่าเป็นความพยายามของรัีฐบาลญี่ป่นุในการเสนอให้มีการก่อตังเพื่อมาคามอำนาจด้านการแสดงบทบาทเป็นผุ้นำทางด้านความรุ้ ซึ่งในปี 2003 รัฐบาลจีนได้สนับสนุนให้มีการก่อตั้ง The Network of East Asian Think - Tanks (NEAT) ซึ่งอยุ่ภายใต้กรอบความร่วมมือ ASEAN +3 ที่่รัฐบาลจีนให้ความสำคัญ เป้าหมายหลักของ NEAT คือการพยายามให้การสนับสนุนด้านความรู้และการให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในประเด็นที่เกี่ยวข้องเพื่อประสานความร่วมมือในเอเชียตะวันออกภายใต้ NEAT นี้เองที่ทำให้รัฐบาลญี่ป่นุมองว่า NEAT เป็นความพยายามของจีนในการแสวงหาตำแหน่งและบทบาทในการเป็นผุ้นำทางความรุ้แลปัญญาของเอเชียตะวันออกดังนั้นญี่ป่นุจึงจำเป็นต้องมีบทบาทในจลักาณเช่นเดียวกันเพื่อคานบทบา ของจีนในมิติด้านการให้การสนับสนุนการทำงิจัยเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเอเชียตะวันออก
อาจกล่าวได้ว่า สถาบนวิจัยระหว่างประเทศหรือคลัวสมองเปรียบเสมือนสมองและแขนขาของรัฐใดรัฐหนึ่ง หรือเป็นหน่วยงานที่ทำวิจัยให้กับประเทศสมาชิกที่ให้การสนัยสนนุสถาบันนั้นๆ ความมีอิสระทั้งทางการบริหารและการทำวิจัยของสถาบันวิจัยเช่นนี้แม้จะเป็นประเด็นหลักที่ทุกสภาบันให้ความสำคัญในฐานะที่มันเป็นเงื่อนไขเบื้องต้นของการกล่าวอ้างว่าตนเองนั้นมีอิสระ เป็นกลาง มีความชอบธรรม และมีคุณสมบัติของความเป็นวิชาการเชิงสถายันเหนือการเมืองใดๆ แต่ในความเป็นจริงข้อคิดเห็นหรือข้อกล่าวอ้างดังกล่าวอาจถูกปฏิเสธจากบุคคลภายนอกที่มองเข้าไปยังองค์กรนั้นๆ หรือแม้แต่คนภายในองค์การกันเอง
บทบาทของ ERIA ที่มีใน EAS เพื่อสนับสนนุการก่อตั้ง EAC และการจัดการประเด็นปัญหาต่างๆ ระดับภูมิภาคได้ทำให้ ERIA ได้รับการยอมรับมากขึ้นจากประเทศสมาชิกและสังคมระหว่างประเทศ แต่ ERIA ได้รับการยอมรับมากขึ้นจากประเทศสมาชิกและสังคมระหว่างประเทศ แต่ ERIA ก็ไม่ใช่ข้อยกเว้นพิเศษที่ปราศจากการวิพากษ์วิจารณ์จากรัฐ องค์กา หรือบุคคลอื่นๆ เพราะภาพที่สะท้อนออกมาให้เห็นต่อสังคมระหว่างประเทศก็คือ ERIA เป็นเครื่องมือที่รัฐบาลญี่ป่นุก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นแขนขาในการทำงิจัยหาข้อมูลส่งไปให้รัฐบาลญี่ปุ่น หรือเพื่อเผยแพร่องค์ความรุ้วิจัยที่มีลักษณะที่เอื้อต่อผลประโยชน์ของญี่ปุ่น และนำมาเป็นกรอบคิดหลักเพื่อใช้พัฒนาเอเชียตะวันออก
บทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นในฐานะผุ้ที่ให้การสนบสนนุการจัีดตั้ง ERIA เพื่อแสดงบทบาทเป็นผุ้นำทางปัญญาและความรุ้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกจึงสะท้อนให้เห็นความพยายามของญี่ปุ่นในการเป็นเจ้าแห่งปัญญาระดับภุมิภาค ในการสนับสนนุนการก่อตั้งสถาบันวิจัยที่มีหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลและเสนอแนะนโยบายต่ออาเซียน และการให้การฝึกอบรมกับปรเทศสมาชิกที่ยังมีความพร้อมน้อยกว่าประเทศสมาชิกอื่นๆ ด้วยบทบาทนี้เองทำให้ ERIA ถูกมองว่าไม่มีความเป็นกลางเพราะมุ่งสนับสนนุการวิจัยที่เอื้อต่อประโยชน์ของระบบเศราฐกิจของญี่ปุ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อบริษัทเอกชนของญี่ป่นุที่ทำงานอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทำให้รัฐบาลญี่ป่นุมีช่องในการที่จะเข้ามาแสดงบทบาทเป้ฯผุ้นำในการพัฒนเอเชียตะวันออก
นักวิชาการที่ทำงานอยู่ใน ERIA และที่ทำงานอยุ่ในหน่วยงานอื่นๆ ทั้งในญี่ป่นุและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่างตระหนักดีถึงภาพลักษณ์ที่ญี่ป่นุมีเหนือ ERIA และได้กลายเป็นข้อเสนอที่ถูกสะท้อนออกามาว่าควรจะมีการปรับปรุงหรือเปิดโอกาสให้ตัวแสดงอื่นๆ ได้เข้าไปมีบทบาทในการบริหารองค์กรหรือการทำวิจัยของ ERIA มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อเป็ฯการปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์ของ ERIA ให้มีความเป้นกลางและเป็นการทำให้ ERIA เป็นองค์การระหว่างประเทศของเอชียตะวันออกที่จะสร้างประดยชน์ให้กับประเทศสมาชิกทุกประเทศอย่างแท้จริง... ( "ประชาคมเอเชียตะวันออกภายใต้ ERIA : บทบาทของญี่ป่นุต่อคลังสมองกับการพัฒนาประชาคมเอเชียตะวันออก", นรุตม์ เจริญศร๊, คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่"
ญี่ปุ่นได้เสนอให้มีการก่อตั้ง EARI และให้วงระมาณสนับสนุนเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเผยแพร่องค์ความรุ้เกี่ยวกับการพัฒนาที่สอดคลอ้งไปกับผลประโยชน์ทางเศราฐกิจของญี่ป่นุ ดดยเฉพาะอย่างยิ่งบริษัทเอกชนของญี่ป่นุที่ดำเนินการลงทุนอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มานานแล้ว
สถาบันวิจัยทางเศราฐฏิจเพื่อเซียนและเอเชียตะวันออก มีสถานะเป็นองค์การระหว่างประเทศและมีเป้าหมายในการสนับสนุนการทำงานของสำนักเลขาธิการอาเซียนในการทำงิจัยและออกข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย รวมไปถงการจัดทำโครงการเพ่ิมศักยภาพ เพื่อเพิ่มระดับความสามารถด้านการทำวิจัยเชิงนโยบายให้กับประเทศพัฒนาน้อยที่สุด บทบาทของ ERIA ด้านการทำวิจัยนั้นครอบคลุมหลายมิติ ทั้งเรื่งเศราฐกิจ แารเปิดเสรีทางการต้าประชาคมเศราฐกิจอาเซียน ความตกลงหุ้นส่วนทางเศราฐกิจระดับภุมิภาค ระบบสาธารณูปโภค วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พลังงาน และด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นเหล่านี้ครอบคลุมหลักสำคัญของการพัฒนาด้านเศรษฐกิจทั้งระดับรัฐและระดับภุมิภาค และทำให้เราเห็ฯาพกว้างว่ายุทธศาสตร์ของ ERIA นันเนิ้นไปที่เรื่องการสนับสนุนการก่อตั้ง AEC การสนับสนุนให้อาเซียนเป็นผุ้ขับเคลื่อนหลักของกระบวนการบูรณาการทางเศราฐกิจระดับภุมิภาค การพยายามลดช่องว่างของการพัฒนาในเอเชียตะวันออก และการพยาบามเพ่ิมความรู้สึกของประชาคมในเอเชียตะวันออก ประเด็นด้านการวิจัยเหล่านี้นั้นสอดคล้องและสนับสนุนซึ่งกันและกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่า่ว แต่ ERIA ก็ยังถูกตั้งำถามต่อสถานะความเป้ฯกลางและความเป็ฯอิสระขององค์กรที่จะไม่ขึ้นกับประเทศใดประเทศหนึงเป็ฯสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นที่เป็นผุ้เสอนให้มีการจัดตั้ง ERIA และการให้งบประมาณสนับสนุนจำนวนมหาศาลเพื่อใช้ในการดำเนินกิจการและการทำวิจัยขององค์กร
ผลงานด้านการวิจัยของ ERIA ได้รับการยอมรับในเวทีระหว่างประเทศ สภาบันวิชาการอย่าง มหาวิทยาลัยเพนนิวาเนีย ประเทศสหรัฐฯ ได้จัดอันดับคลังสมองที่อยู่ในกลุ่ม Top International Economics Think Tanks อันดับที่ 31 ของดลก อีกทั้งยังได้จัดให้ ERIA เป็ฯอันดับที่ 24 ของ Best Think Tank Network และเป็นคลังสมองอันดับที่ 17 ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแถบแปซิฟิก การได้รับการยอมรับถึงบทบาทของ ERIA ในเวทีระหว่างประเทศดดยเฉพาะด้านความสามารถในการเป็นคลังสมองในระดับโลกและระดับภูมิภาคสะท้อนให้เห็นความสำคัญในฐานะที่เป็นคลังสมองที่สำคัญที่ช่วยสนับสนุนการทำงานของประชาคมเอเชียตะวันออกโดยเแพาะในมิติเศรษฐกิจและการพัฒนา...
การก่อตั้ง ERIA นั้นเป็นความพยายามของญี่ปุ่นในการที่จะแสดงบทบาทนำในฐานะที่เป็นผู้นำทางปัญญาของภูมิภาคเอเชียตะวันออก ก่อนจะมีการจัดตั้ง ERIA อย่างเป็นทางการ อาจารย์จามหาวิทยาลัยและบุคลากรจากหน่วยงานราชการของประเทศญี่ปุ่นที่มีส่วนอย่างมากในการวาแผนและจัดตั้ง ERIA ได้เดินทางมาติดต่อกับอาจารย์ในมหาวิทยาลัยในประเทศต่างๆในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อขอความเห็นด้านวิชาการ รวมไปถึงการสนับสนุนด้านวิชาการจากอาจารย์ในมหาวิทยาลัยว่าจะสนับสนุนการก่อตั้ง ERIA หรือไม่ และจะเข้าไปมีส่วนร่วมในการทำงิจัยของ ERIA ได้อย่างไร รวมไปถึงการประชุมเพื่อวางแผนออกแบบองค์กร และวางเป้าหมายขององค์กร
ERIA ยังถูกมองว่าเป็นความพยายามของรัีฐบาลญี่ป่นุในการเสนอให้มีการก่อตังเพื่อมาคามอำนาจด้านการแสดงบทบาทเป็นผุ้นำทางด้านความรุ้ ซึ่งในปี 2003 รัฐบาลจีนได้สนับสนุนให้มีการก่อตั้ง The Network of East Asian Think - Tanks (NEAT) ซึ่งอยุ่ภายใต้กรอบความร่วมมือ ASEAN +3 ที่่รัฐบาลจีนให้ความสำคัญ เป้าหมายหลักของ NEAT คือการพยายามให้การสนับสนุนด้านความรู้และการให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในประเด็นที่เกี่ยวข้องเพื่อประสานความร่วมมือในเอเชียตะวันออกภายใต้ NEAT นี้เองที่ทำให้รัฐบาลญี่ป่นุมองว่า NEAT เป็นความพยายามของจีนในการแสวงหาตำแหน่งและบทบาทในการเป็นผุ้นำทางความรุ้แลปัญญาของเอเชียตะวันออกดังนั้นญี่ป่นุจึงจำเป็นต้องมีบทบาทในจลักาณเช่นเดียวกันเพื่อคานบทบา ของจีนในมิติด้านการให้การสนับสนุนการทำงิจัยเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเอเชียตะวันออก
อาจกล่าวได้ว่า สถาบนวิจัยระหว่างประเทศหรือคลัวสมองเปรียบเสมือนสมองและแขนขาของรัฐใดรัฐหนึ่ง หรือเป็นหน่วยงานที่ทำวิจัยให้กับประเทศสมาชิกที่ให้การสนัยสนนุสถาบันนั้นๆ ความมีอิสระทั้งทางการบริหารและการทำวิจัยของสถาบันวิจัยเช่นนี้แม้จะเป็นประเด็นหลักที่ทุกสภาบันให้ความสำคัญในฐานะที่มันเป็นเงื่อนไขเบื้องต้นของการกล่าวอ้างว่าตนเองนั้นมีอิสระ เป็นกลาง มีความชอบธรรม และมีคุณสมบัติของความเป็นวิชาการเชิงสถายันเหนือการเมืองใดๆ แต่ในความเป็นจริงข้อคิดเห็นหรือข้อกล่าวอ้างดังกล่าวอาจถูกปฏิเสธจากบุคคลภายนอกที่มองเข้าไปยังองค์กรนั้นๆ หรือแม้แต่คนภายในองค์การกันเอง
บทบาทของ ERIA ที่มีใน EAS เพื่อสนับสนนุการก่อตั้ง EAC และการจัดการประเด็นปัญหาต่างๆ ระดับภูมิภาคได้ทำให้ ERIA ได้รับการยอมรับมากขึ้นจากประเทศสมาชิกและสังคมระหว่างประเทศ แต่ ERIA ได้รับการยอมรับมากขึ้นจากประเทศสมาชิกและสังคมระหว่างประเทศ แต่ ERIA ก็ไม่ใช่ข้อยกเว้นพิเศษที่ปราศจากการวิพากษ์วิจารณ์จากรัฐ องค์กา หรือบุคคลอื่นๆ เพราะภาพที่สะท้อนออกมาให้เห็นต่อสังคมระหว่างประเทศก็คือ ERIA เป็นเครื่องมือที่รัฐบาลญี่ป่นุก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นแขนขาในการทำงิจัยหาข้อมูลส่งไปให้รัฐบาลญี่ปุ่น หรือเพื่อเผยแพร่องค์ความรุ้วิจัยที่มีลักษณะที่เอื้อต่อผลประโยชน์ของญี่ปุ่น และนำมาเป็นกรอบคิดหลักเพื่อใช้พัฒนาเอเชียตะวันออก
บทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นในฐานะผุ้ที่ให้การสนบสนนุการจัีดตั้ง ERIA เพื่อแสดงบทบาทเป็นผุ้นำทางปัญญาและความรุ้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกจึงสะท้อนให้เห็นความพยายามของญี่ปุ่นในการเป็นเจ้าแห่งปัญญาระดับภุมิภาค ในการสนับสนนุนการก่อตั้งสถาบันวิจัยที่มีหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลและเสนอแนะนโยบายต่ออาเซียน และการให้การฝึกอบรมกับปรเทศสมาชิกที่ยังมีความพร้อมน้อยกว่าประเทศสมาชิกอื่นๆ ด้วยบทบาทนี้เองทำให้ ERIA ถูกมองว่าไม่มีความเป็นกลางเพราะมุ่งสนับสนนุการวิจัยที่เอื้อต่อประโยชน์ของระบบเศราฐกิจของญี่ปุ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อบริษัทเอกชนของญี่ป่นุที่ทำงานอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทำให้รัฐบาลญี่ป่นุมีช่องในการที่จะเข้ามาแสดงบทบาทเป้ฯผุ้นำในการพัฒนเอเชียตะวันออก
วันศุกร์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
The Effect of ASEAN And The ASEAN + 6
ผลจากการรวมกลุ่มทางการค้าของกลุ่มอาเซียนและกลุ่ม +6 พบว่า ผลติตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศของประเทศผุ้ส่งออกและประเทศผุ้ำเข้ามีต่าเพ่ิมขึ้นกว่าก่อนรวมกลุ่มทางการต้า แสดงว่าเกิดการเพิ่มปริมาณทางการค้า ส่วนตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับมูลค่าการส่งออก คือ ผลิตภัณฑฺ์มวลรวมภายในประเทศของประเทศผุ้ส่งออกและผุ้นำเข้า รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผู้ส่งออกและประเทศผู้นำเข้าและอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศผุ้ส่งออก ส่วนตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับมูลค่าการส่งออกคือ ระยะทางระหว่างประเทศ การนับถือศาสนาเดียวกัน ประเทศที่มีภุมิศาสตร์เป็นเกาะและการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ ส่วนตัวแปรที่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ประเทศที่มีพรมแดนติดกันและวิกฤตเศรษฐกิจ
ในปัจจุบันเกือบทุกประเทศ รวมถึงประเทศไทย เป็นประเทศที่มีระบบเศราฐฏิจแบบเปิดการบริโภค การลงทุน การต้าทั้งในประเทศ และระหว่างประเทศ ต่างมีบทบาทสำคัญต่อระบบเศราฐกิจของแต่ละประเทศเป็นอย่างมาก ทุกประเทศต้องพึ่งพาและร่วมมือกัน โดยเฉพาะหากมีกรรวกลุ่มทงเศราฐกิจ จะทำให้กลุ่มประเทศสมาชิกมีอำนาจต่อรองกับกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วมากยิ่งขึ้น สามารถช่วยลดอุปสรรคในการกีดกันทางการต้าของกลุ่มประเทศใหญ่ๆ ได้ อีกทั้งเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน ทางการค้ากับกลุ่มประเทศอื่นๆ ได้เป็นอย่างดี....
การตกลงทางการค้าของกลุ่มอาเซียน +6 ประกอบด้วยสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ + จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ และอินเดีย
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 กลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ได้มีการลงนามทำความตกลงเปิดเสรีทางการค้า โดยลดภาษีสินค้าเหลือร้อยละ 0 นั้น ทำให้การลงนามทำความตกลงเปิดเสรีทางการต้า โดยลดภาษีสินค้าเหลือร้อยละ 0 นั้น ทำให้มูลค่าการส่งออกของกลุ่มประเทศอาเซียนมีมูลค่าุขึ้นหากไม่นับรวมวิกฤติสนเชื่อซับไพรม์หรือวิกฤตแฮมเบอร์เการ์ในประเทศสหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. 2550-2551 ซึ่งเป็นประเทศมหาอำนาจทางเศราฐกิจของโลก แลเป็นประเทศคุ่ค้ารายใหญ่ของกือบทุกประเทศรวมถึงประเทศอาเซียนเกือบทุกประเทศทำให้กำลังซื้อสินค้านำเข้าของสหรัฐอเมริกาลดลง ผลกระทบนี้ส่งผลต่อเศราฐกิจโลกเป็นอย่างมาก
เมื่อเรียบเทียบมุลค่าและสัดส่วนการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 พบว่า มุลค่าการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนมีมุลค่าสุงสุดเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ส่วนประเทศนอกกลุ่มอาเซียนที่มีมูลค่าการส่งออกสูงสุด คือ สาะารณรัฐประชาชนจีน ญี่ป่นุ เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ตามลำดับ ดดยมูลค่าการส่งออกของสาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศ ญี่ปุ่นใกลเคียงกัน เนื่องจากทั้งสองประเทศเป็นประเทศคู่ค้าหลักอันดับต้นๆ ของทุกประเทศดในกลุ่มอาเซียน รวมถึงมีการลงทุนตั้งฐานการผลิตในเกือบทุกประเทศของอาเซียน เพราะฉะนั้นการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมมีปริมาณการค้าสูงที่สุด ส่วงนประเทศที่มูลค่าการส่งออกลำดับถัดมา คือ ประเทศเกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ หากเปรียบเทียบสัดส่วนมูลค่าการส่งออกของแลุ่มประเทศอาเซียน +6 มีสัดดส่วนเพ่ิมขึ้นและอยู่ในทิศทางบวก ยกเว้น พ.ศ. 2552 ซึ่งอยุในช่วงรับผลกระทบของวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ ของสหรับอเมริกา ทำให้มูลค่าและสัดส่วนกานส่งออกของทุกประเทศลดลง และอยุ่ในทิศทางบล หลังจาก พ.ศ. 2552 ผลกระทบของเศราฐกิจสหรัฐอเมิรกาที่มีต่อประเทศต่างๆ มีแนวโน้มฟื้นตัวขึ้นทำให้เศราฐกิจของประเทศนั้นๆ ดีขึ้น ดังนั้นมูลค่าการส่งออกแลสัดส่วนการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนไปกลุ่มอาเซียน +6 เร่ิมกลับเชข้าสู่สภาวะปกติ และในอนาคตมีแนวโน้มดีขึ้นกว่าปัจจุบัน
มูลค่าและสัดสวนการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ในปี พ.ศ. 3555 สัดส่วนการส่งออกเมื่อเทีียบกับมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของปี พ.ศ. 2555 กลุ่มประเทศอาเซียนมีสัดส่วนการครองตลาดของการส่งออกสูงสุดรองลงมา คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ป่นุ เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ตามลำดับ
เมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนมุลค่าการส่งออกแยกตามรายประเทศระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 พบว่า สัดส่วนมูลค่าการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนมากว่ากลุ่มอเซียน +6 และสัดส่วนมูลค่าการส่งออกไปสาธารณรับประชาชนจีนและประเทศญี่ปุ่น มีสัดส่วนการส่งออกมากที่สุด เนื่องจากทั้งสองประเทศนี้ทำการต้ากับกลุ่มประเทศอาเว๊นมานาน รวมถึงมีฐานการผลิตอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน ดังนั้นมูลค่าและสัดส่วนการนส่งออกจึงมีมกว่าอีก 4 ประเทศที่เหลือ ในอนาคตเมื่อรวมกลุ่มประชาคมเศราฐกิจอาเซียนจะสามารถเพ่ิมปริมาณการสน่งออกได้อีก
กลุ่มประเทศ + 6 จึงเป้ฯกลุ่มปะเทศคู่ค้าที่มีความสำคัญต่อกลุ่มอาเซียนเป็นอย่างย่ิงเนื่องจากประเทศเหล่านี้มีฐานการผลิตกระจายตามกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นจำนวนมาก อีกทั้งมีภูมิศาสตร์ใกล้ชิดกับภุมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถลดต้นทุนการขนส่ง จึงทำให้สัดส่วนมูลค่าการส่งออกกับกลุ่มอาเซียน +6 ถือเป็นสัดส่วนที่สุง รองจากสัดส่วนระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนและกลุ่มอาเซียน +6 โดยเฉพาะวิเคราะห์ผลของก่อนการรวมกลุ่มและหลังการรวมกลุ่มเศราฐกิจ ซึ่งได้ลงนามทำความตกลงเขตการต้่าเสรีอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ซึ่งลดภาษีการนำเข้าและการส่งออกของสินค้าจำนวนหลายรายการ..
ทฏษภีการต้าระหว่างประเทศ มีบุคคลหลายท่านได้เขยนถึง แวคิดการต้าระหว่างประเทศ ดดยพัฒนาแนวคิดมาจากนักเศราฐกศาศตร์สำนักคลาสสิก คือ อดัม สมิธ และเดวิด ริคาร์โด้ กล่าวถึงข้อสมมติฐานของทฤษฎีการต้าระกว่างประเทศ ดังนี้
- ตลาดการแข่งขันอย่างสมบูรณ์
- ปัจจัยการผลิตที่ใช้คือมีเพียงแรงงานเท่านั้น และต้องเป็นแรงงานที่มีประสิทธิภาพใหนกาผลิตเท่ากันหมด ต้นทุนในการผลิตคิดจาแรงงาน ส่วนราคาสินค้าที่แลกเปลี่ยนภายในประเทศ ขึ้นอยุ่กับจำนวนชั่วโมงการผลิตสินค้าของแรงงาน
- การต้าระหว่างประเทสเกิดขึ้นระหว่าง 2 ประเทศ และสินค้าที่ซื้อขายแลกเปลี่ยนกันมีเพียง 2 ชนิด
- ไม่มีข้อจำกันทางการต้าและไม่มีค้าขนส่ง...
ทฤษฎีการได้เปรียบอย่างสมบูรณ์ แนวคิดทฤษฎีการได้เปรียบอย่างสมบูรณ์หรืออย่างเด็ดขาดนี้ เป็นแนวคิดของ อดัม สมิธ ซึ่งได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับหลักแบ่งงานกันทำ กล่าวคือ แต่ละคนมีหน้าที่ในการผลิตสินค้าเฉพาะอย่างแทนที่ จะทำหน้าที่ผลิตปมกทุกอย่าง การแบ่งงานกันทำ ช่วยให้เกิดความชำนาญ และสามารถผลิตสินค้าได้ในปริมาณที่ีมากขึ้น การต้าระหว่างประเทศภายมต้ทฤษฎีการได้เแรียบอย่างสมบูรณ์ได้อธิบายว่า ประเทศใดประเทศหนึ่งจะผลิตสินค้าที่ตนมีความได้เปรียบอย่างสมบุรณ์แล้วนำมาแลกเปลี่ยนสินค้าของอีกประเทสหนึค่ง การที่ประเทศมีควารมได้เปรียบอย่างสมบุรณืในการผลิตสินค้าชนิดใด แสดงว่า ประเทศนั้นสามารถผลิตสินค้าชนิดนั้นด้วยต้นทุนการผลิตที่ถูกกว่าอีกประเทศหสึ่ง จากทฤษฎีสามารถสระปได้ว่า ประเทศใดผลิตสินคึ้าที่ตนได้เปรียบอย่างสมบูรณ์ได้นั้น ต้องมีต้นทุนการผลิตสินค้าชนิดนั้นด้วยต้นทุนที่ถูกกว่าประเทศอื่น
ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ ตามแนวคิดของ ริคาโด้ ได้ อธิบายถึง ทฤษฎีการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบว่า สาเหตุของการต้าระหว่างประเทสไม่ได้ขึ้นอยู่ว่า ประเทศนั้นได้เปรียบดดยสัมบูรณ์เสมอไป แต่สามารถขึ้นอยู่กับการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ โดยอธิบายแนวคิดว่า ประเทศ 2 ประเทศ เมื่อมีการต้าขายระหว่างประเทศสามารถเกิดขึ้นได้ หากประเทศนั้นเลือผลิตสินต้าที่ตนถนัดมีประสทิะิภาพสูงกว่าและเสียยเปรียบน้อยที่สุด เมื่อเทียบกับสินค้ัาชนิดนั้นในอีกประเทศหนึ่ง สามาารถสรุปได้ว่า การได้เปรียบโดยเปรียบยเทีนบ หมายถึง ความสามารถของประเทศใดประเทศหนึ่งในกาผลิตสินค้า และบริการด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่าประเทศอื่นการต้าระหว่างประเทศช่วยให้ประเทศคู่ค้าทั้งสองได้ประโยชน์มากขึ้น ก็ต่อเมื่อแต่ละประเทสมุ่งผลิตสินค้าทีตนมีความเชี่ยวชาญเฉพาะ และ้วนำมาแลกเปลี่ยนกัน
การต้าระหว่างประเทศตามทฤษฎีความได้เปรียบดดยสัมบุรณ์นีั มีผลให้ทุกประเทศได้รับผลประดยชน์เพ่ิอมขึ้น คือ มิสินค้าบริโภคแทบทุกชนิดราคาถูก จำนวนผลผลิต โดยรวมของโลกสูงขึ้น เกิดจากการแบ่งงานกันทำระหว่างประเทศต่างๆ ในโลกเกิดความชำนาญเฉพาะอย่างและสวัสดิการของประชากรโลกสูงขึ้น ในทรรศนะของ อดัม สมิธ แตกต่างจกาสมัยคลาสสิก ในเรื่องแรงงานระหว่างประเทศต่าง ๆ ซึ่งสมัยคลาสสิก มีปัจจัยการผลิตและทรัพยากรในแต่ละประเทศอย่างมาก....
ผลก่อนและหลังการรวมกลุ่มทางการค้าระหว่างประเทศอาเซียน มีดังนี้
- ก่อนรวมกลุ่มทางการค้า ตัวแปรที่มีอทิศทาเดีวชยวกับมูลค่าการส่งออก คือ รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผุ้ส่งออก รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผุ้นำเข้า อัตราแลกเปลี่ยนของประเทศผุ้ส่งออก และประเทศที่มีพรมแดนติดกัน โดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ตัวแปรที่มีทิศทางตรงกันข้ามกับมุลค่าการส่งออก คือผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศของผุ้ส่งออก ระยะห่างระหว่างสองประเทศ และประเทศที่มีภุมิศาสตร์เป็นเกาะ ดดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ตัวแปรที่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ผลิตภัณฑฺ์มวลรวมภายใรปะเทศของผู้นำเข้า การนัถือศานาเดียวกัน และวิกฤตเศรษฐกิจ
- หลังรวมกลุ่มทางการต้า ตัวแปรที่มีทิศทางเดี่ยวกับมูลค่าการส่งออก คือ ผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายใรปะเทศของผุ้ส่งออก รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผุ้ส่งออก รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผู้นำเข้า และประเทศที่มีพรมแดนติดกันโดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ส่วนตัวแปรที่มีทิศทางตรงกันข้ามกับมูลค่าการส่งออก คื ผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายใรปะเทศของผุ้นำเข้า ดดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 90 ระยะทางระหว่างสองประเทศ และประเทศที่มีภุมิศาสรตร์เป็ฯเกาะ โดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ส่วนตัวแปรที่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ คือ อัตราแลกเปลี่ยนของผู้ส่งออก การนับถือศาสราเดียวกัน และวิกฤติเศรษฐกิจ
- การเปลี่ยนแปลงก่อนและหลังรวมกลุ่ทางการต้า ผลการศึกษาการรวมกลุ่มทางการต้าระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน พบว่า เกิดการเพ่ิมประมาณทางการต้า โดยดูจากค่าสัมประสิทธิ์หรือค่าความยืดหยุ่นของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของผุ้ส่งออก ว่าค่าสัมประสิทธิ์หลังรวมกลุ่มทางการต้ามากว่าก่อนรวมกลุ่มทางการต้า จากผลการศึกษาพบว่า ค่าสัมประสิทธิ์ของหลังรวมกลุ่มทางการต้ามากว่าก่อนรวมกลุ่มทางการต้าร้อยละ 0.94 อีกทั้งเมื่อเปรียบเทียบมุลค่าการต้ากับประเทศคู่ค้าอาเซียนค้าขายระหว่างกันเป็นสัดส่วนมากที่สุด ส่วนตัวแปรที่สะท้อนต้นทุนค่าขนส่ง คือ ตัวแปรหุ่น ประเทศที่มีพรมแดนติดกัน และประเทศที่มีภุมิศาสตร์เป็นเกาะ หลังรวมกลุ่มทางการต้ ค่าสัมประสิทธ์ของตัวแปรทั้งสองลดลง แสดงว่า การรวมกลุ่มทางการค้า ช่วยลดอุปสรรคทางการค้าทด้านต้นทุนขนส่งได้เป็นอย่างดี
การประมวลผลความแตกต่างก่อนและหลงรวมกลุ่มทางการค้า พบว่า หลังรวมกลุ่ทางการต้าระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียน ส่งผลให้เกิดการเพ่ิมปริมาณทางการต้า โดยตัวแปรที่สะท้อนกำลังการผลิตของผุ้ส่งออก และอำนาจการซื้อของประเทศผุ้นำเข้าสูง คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของประเทศผุ้ส่งออกและประเทศผุ้นำเข้า โดยดุจาค่าสัมประสิทธิ์ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของผุ้ส่งออกและผุ้นำเข้า เพิ่มขึ้นกว่าก่อนรวมกลุ่มทางการค้าร้อยละ 0.10 และร้อบละ 0.0016 ตามลำดับ ดดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 และร้อยละ 90 ตามลำดับ
ผลสรุปจากการวิจัยพบว่า ก่อนและหลังรวมกลุ่มีควาแตกต่างกน เต่ค่า F ที่ได้จากการคำนวณใกล้เคียงกับค่า F ที่เปิดจากตาราง เนื่องจากการทำควารมตกลงเขตการต้าเสรีอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ได้ลงนามความตกลงเขตการต้าเสรีเพียง 5-6 ปี เท่านั้น มีเพียงประเทศจีนที่ได้ลงนามความตกลงเขตการต้าเสรีมา 10 ปี ดังนั้นความแตกต่างของก่อนและหลังการรวมกลุ่มทางการค้าจึง "ไม่เห็นความแตกต่างที่ชัดเจน"...
- "ผลของการรวมกลุ่มทางการค้าระหว่างประเทศอาเซียนกับกลุ่มประเทศ +6", วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง, โดย "เพชรไพลิน สายสิงห์", 2557.
ในปัจจุบันเกือบทุกประเทศ รวมถึงประเทศไทย เป็นประเทศที่มีระบบเศราฐฏิจแบบเปิดการบริโภค การลงทุน การต้าทั้งในประเทศ และระหว่างประเทศ ต่างมีบทบาทสำคัญต่อระบบเศราฐกิจของแต่ละประเทศเป็นอย่างมาก ทุกประเทศต้องพึ่งพาและร่วมมือกัน โดยเฉพาะหากมีกรรวกลุ่มทงเศราฐกิจ จะทำให้กลุ่มประเทศสมาชิกมีอำนาจต่อรองกับกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วมากยิ่งขึ้น สามารถช่วยลดอุปสรรคในการกีดกันทางการต้าของกลุ่มประเทศใหญ่ๆ ได้ อีกทั้งเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน ทางการค้ากับกลุ่มประเทศอื่นๆ ได้เป็นอย่างดี....
การตกลงทางการค้าของกลุ่มอาเซียน +6 ประกอบด้วยสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ + จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ และอินเดีย
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 กลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ได้มีการลงนามทำความตกลงเปิดเสรีทางการค้า โดยลดภาษีสินค้าเหลือร้อยละ 0 นั้น ทำให้การลงนามทำความตกลงเปิดเสรีทางการต้า โดยลดภาษีสินค้าเหลือร้อยละ 0 นั้น ทำให้มูลค่าการส่งออกของกลุ่มประเทศอาเซียนมีมูลค่าุขึ้นหากไม่นับรวมวิกฤติสนเชื่อซับไพรม์หรือวิกฤตแฮมเบอร์เการ์ในประเทศสหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. 2550-2551 ซึ่งเป็นประเทศมหาอำนาจทางเศราฐกิจของโลก แลเป็นประเทศคุ่ค้ารายใหญ่ของกือบทุกประเทศรวมถึงประเทศอาเซียนเกือบทุกประเทศทำให้กำลังซื้อสินค้านำเข้าของสหรัฐอเมริกาลดลง ผลกระทบนี้ส่งผลต่อเศราฐกิจโลกเป็นอย่างมาก
เมื่อเรียบเทียบมุลค่าและสัดส่วนการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 พบว่า มุลค่าการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนมีมุลค่าสุงสุดเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ส่วนประเทศนอกกลุ่มอาเซียนที่มีมูลค่าการส่งออกสูงสุด คือ สาะารณรัฐประชาชนจีน ญี่ป่นุ เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ตามลำดับ ดดยมูลค่าการส่งออกของสาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศ ญี่ปุ่นใกลเคียงกัน เนื่องจากทั้งสองประเทศเป็นประเทศคู่ค้าหลักอันดับต้นๆ ของทุกประเทศดในกลุ่มอาเซียน รวมถึงมีการลงทุนตั้งฐานการผลิตในเกือบทุกประเทศของอาเซียน เพราะฉะนั้นการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมมีปริมาณการค้าสูงที่สุด ส่วงนประเทศที่มูลค่าการส่งออกลำดับถัดมา คือ ประเทศเกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ หากเปรียบเทียบสัดส่วนมูลค่าการส่งออกของแลุ่มประเทศอาเซียน +6 มีสัดดส่วนเพ่ิมขึ้นและอยู่ในทิศทางบวก ยกเว้น พ.ศ. 2552 ซึ่งอยุในช่วงรับผลกระทบของวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ ของสหรับอเมริกา ทำให้มูลค่าและสัดส่วนกานส่งออกของทุกประเทศลดลง และอยุ่ในทิศทางบล หลังจาก พ.ศ. 2552 ผลกระทบของเศราฐกิจสหรัฐอเมิรกาที่มีต่อประเทศต่างๆ มีแนวโน้มฟื้นตัวขึ้นทำให้เศราฐกิจของประเทศนั้นๆ ดีขึ้น ดังนั้นมูลค่าการส่งออกแลสัดส่วนการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนไปกลุ่มอาเซียน +6 เร่ิมกลับเชข้าสู่สภาวะปกติ และในอนาคตมีแนวโน้มดีขึ้นกว่าปัจจุบัน
มูลค่าและสัดสวนการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ในปี พ.ศ. 3555 สัดส่วนการส่งออกเมื่อเทีียบกับมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของปี พ.ศ. 2555 กลุ่มประเทศอาเซียนมีสัดส่วนการครองตลาดของการส่งออกสูงสุดรองลงมา คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ป่นุ เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ตามลำดับ
เมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนมุลค่าการส่งออกแยกตามรายประเทศระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 พบว่า สัดส่วนมูลค่าการส่งออกระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนมากว่ากลุ่มอเซียน +6 และสัดส่วนมูลค่าการส่งออกไปสาธารณรับประชาชนจีนและประเทศญี่ปุ่น มีสัดส่วนการส่งออกมากที่สุด เนื่องจากทั้งสองประเทศนี้ทำการต้ากับกลุ่มประเทศอาเว๊นมานาน รวมถึงมีฐานการผลิตอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน ดังนั้นมูลค่าและสัดส่วนการนส่งออกจึงมีมกว่าอีก 4 ประเทศที่เหลือ ในอนาคตเมื่อรวมกลุ่มประชาคมเศราฐกิจอาเซียนจะสามารถเพ่ิมปริมาณการสน่งออกได้อีก
กลุ่มประเทศ + 6 จึงเป้ฯกลุ่มปะเทศคู่ค้าที่มีความสำคัญต่อกลุ่มอาเซียนเป็นอย่างย่ิงเนื่องจากประเทศเหล่านี้มีฐานการผลิตกระจายตามกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นจำนวนมาก อีกทั้งมีภูมิศาสตร์ใกล้ชิดกับภุมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถลดต้นทุนการขนส่ง จึงทำให้สัดส่วนมูลค่าการส่งออกกับกลุ่มอาเซียน +6 ถือเป็นสัดส่วนที่สุง รองจากสัดส่วนระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนและกลุ่มอาเซียน +6 โดยเฉพาะวิเคราะห์ผลของก่อนการรวมกลุ่มและหลังการรวมกลุ่มเศราฐกิจ ซึ่งได้ลงนามทำความตกลงเขตการต้่าเสรีอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ซึ่งลดภาษีการนำเข้าและการส่งออกของสินค้าจำนวนหลายรายการ..
ทฏษภีการต้าระหว่างประเทศ มีบุคคลหลายท่านได้เขยนถึง แวคิดการต้าระหว่างประเทศ ดดยพัฒนาแนวคิดมาจากนักเศราฐกศาศตร์สำนักคลาสสิก คือ อดัม สมิธ และเดวิด ริคาร์โด้ กล่าวถึงข้อสมมติฐานของทฤษฎีการต้าระกว่างประเทศ ดังนี้
- ตลาดการแข่งขันอย่างสมบูรณ์
- ปัจจัยการผลิตที่ใช้คือมีเพียงแรงงานเท่านั้น และต้องเป็นแรงงานที่มีประสิทธิภาพใหนกาผลิตเท่ากันหมด ต้นทุนในการผลิตคิดจาแรงงาน ส่วนราคาสินค้าที่แลกเปลี่ยนภายในประเทศ ขึ้นอยุ่กับจำนวนชั่วโมงการผลิตสินค้าของแรงงาน
- การต้าระหว่างประเทสเกิดขึ้นระหว่าง 2 ประเทศ และสินค้าที่ซื้อขายแลกเปลี่ยนกันมีเพียง 2 ชนิด
- ไม่มีข้อจำกันทางการต้าและไม่มีค้าขนส่ง...
ทฤษฎีการได้เปรียบอย่างสมบูรณ์ แนวคิดทฤษฎีการได้เปรียบอย่างสมบูรณ์หรืออย่างเด็ดขาดนี้ เป็นแนวคิดของ อดัม สมิธ ซึ่งได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับหลักแบ่งงานกันทำ กล่าวคือ แต่ละคนมีหน้าที่ในการผลิตสินค้าเฉพาะอย่างแทนที่ จะทำหน้าที่ผลิตปมกทุกอย่าง การแบ่งงานกันทำ ช่วยให้เกิดความชำนาญ และสามารถผลิตสินค้าได้ในปริมาณที่ีมากขึ้น การต้าระหว่างประเทศภายมต้ทฤษฎีการได้เแรียบอย่างสมบูรณ์ได้อธิบายว่า ประเทศใดประเทศหนึ่งจะผลิตสินค้าที่ตนมีความได้เปรียบอย่างสมบุรณ์แล้วนำมาแลกเปลี่ยนสินค้าของอีกประเทสหนึค่ง การที่ประเทศมีควารมได้เปรียบอย่างสมบุรณืในการผลิตสินค้าชนิดใด แสดงว่า ประเทศนั้นสามารถผลิตสินค้าชนิดนั้นด้วยต้นทุนการผลิตที่ถูกกว่าอีกประเทศหสึ่ง จากทฤษฎีสามารถสระปได้ว่า ประเทศใดผลิตสินคึ้าที่ตนได้เปรียบอย่างสมบูรณ์ได้นั้น ต้องมีต้นทุนการผลิตสินค้าชนิดนั้นด้วยต้นทุนที่ถูกกว่าประเทศอื่น
ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ ตามแนวคิดของ ริคาโด้ ได้ อธิบายถึง ทฤษฎีการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบว่า สาเหตุของการต้าระหว่างประเทสไม่ได้ขึ้นอยู่ว่า ประเทศนั้นได้เปรียบดดยสัมบูรณ์เสมอไป แต่สามารถขึ้นอยู่กับการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ โดยอธิบายแนวคิดว่า ประเทศ 2 ประเทศ เมื่อมีการต้าขายระหว่างประเทศสามารถเกิดขึ้นได้ หากประเทศนั้นเลือผลิตสินต้าที่ตนถนัดมีประสทิะิภาพสูงกว่าและเสียยเปรียบน้อยที่สุด เมื่อเทียบกับสินค้ัาชนิดนั้นในอีกประเทศหนึ่ง สามาารถสรุปได้ว่า การได้เปรียบโดยเปรียบยเทีนบ หมายถึง ความสามารถของประเทศใดประเทศหนึ่งในกาผลิตสินค้า และบริการด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่าประเทศอื่นการต้าระหว่างประเทศช่วยให้ประเทศคู่ค้าทั้งสองได้ประโยชน์มากขึ้น ก็ต่อเมื่อแต่ละประเทสมุ่งผลิตสินค้าทีตนมีความเชี่ยวชาญเฉพาะ และ้วนำมาแลกเปลี่ยนกัน
การต้าระหว่างประเทศตามทฤษฎีความได้เปรียบดดยสัมบุรณ์นีั มีผลให้ทุกประเทศได้รับผลประดยชน์เพ่ิอมขึ้น คือ มิสินค้าบริโภคแทบทุกชนิดราคาถูก จำนวนผลผลิต โดยรวมของโลกสูงขึ้น เกิดจากการแบ่งงานกันทำระหว่างประเทศต่างๆ ในโลกเกิดความชำนาญเฉพาะอย่างและสวัสดิการของประชากรโลกสูงขึ้น ในทรรศนะของ อดัม สมิธ แตกต่างจกาสมัยคลาสสิก ในเรื่องแรงงานระหว่างประเทศต่าง ๆ ซึ่งสมัยคลาสสิก มีปัจจัยการผลิตและทรัพยากรในแต่ละประเทศอย่างมาก....
ผลก่อนและหลังการรวมกลุ่มทางการค้าระหว่างประเทศอาเซียน มีดังนี้
- ก่อนรวมกลุ่มทางการค้า ตัวแปรที่มีอทิศทาเดีวชยวกับมูลค่าการส่งออก คือ รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผุ้ส่งออก รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผุ้นำเข้า อัตราแลกเปลี่ยนของประเทศผุ้ส่งออก และประเทศที่มีพรมแดนติดกัน โดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ตัวแปรที่มีทิศทางตรงกันข้ามกับมุลค่าการส่งออก คือผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายในประเทศของผุ้ส่งออก ระยะห่างระหว่างสองประเทศ และประเทศที่มีภุมิศาสตร์เป็นเกาะ ดดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ตัวแปรที่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ผลิตภัณฑฺ์มวลรวมภายใรปะเทศของผู้นำเข้า การนัถือศานาเดียวกัน และวิกฤตเศรษฐกิจ
- หลังรวมกลุ่มทางการต้า ตัวแปรที่มีทิศทางเดี่ยวกับมูลค่าการส่งออก คือ ผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายใรปะเทศของผุ้ส่งออก รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผุ้ส่งออก รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศผู้นำเข้า และประเทศที่มีพรมแดนติดกันโดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ส่วนตัวแปรที่มีทิศทางตรงกันข้ามกับมูลค่าการส่งออก คื ผลิตภัฒฑ์มวลรวมภายใรปะเทศของผุ้นำเข้า ดดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 90 ระยะทางระหว่างสองประเทศ และประเทศที่มีภุมิศาสรตร์เป็ฯเกาะ โดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 ส่วนตัวแปรที่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ คือ อัตราแลกเปลี่ยนของผู้ส่งออก การนับถือศาสราเดียวกัน และวิกฤติเศรษฐกิจ
- การเปลี่ยนแปลงก่อนและหลังรวมกลุ่ทางการต้า ผลการศึกษาการรวมกลุ่มทางการต้าระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน พบว่า เกิดการเพ่ิมประมาณทางการต้า โดยดูจากค่าสัมประสิทธิ์หรือค่าความยืดหยุ่นของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของผุ้ส่งออก ว่าค่าสัมประสิทธิ์หลังรวมกลุ่มทางการต้ามากว่าก่อนรวมกลุ่มทางการต้า จากผลการศึกษาพบว่า ค่าสัมประสิทธิ์ของหลังรวมกลุ่มทางการต้ามากว่าก่อนรวมกลุ่มทางการต้าร้อยละ 0.94 อีกทั้งเมื่อเปรียบเทียบมุลค่าการต้ากับประเทศคู่ค้าอาเซียนค้าขายระหว่างกันเป็นสัดส่วนมากที่สุด ส่วนตัวแปรที่สะท้อนต้นทุนค่าขนส่ง คือ ตัวแปรหุ่น ประเทศที่มีพรมแดนติดกัน และประเทศที่มีภุมิศาสตร์เป็นเกาะ หลังรวมกลุ่มทางการต้ ค่าสัมประสิทธ์ของตัวแปรทั้งสองลดลง แสดงว่า การรวมกลุ่มทางการค้า ช่วยลดอุปสรรคทางการค้าทด้านต้นทุนขนส่งได้เป็นอย่างดี
การประมวลผลความแตกต่างก่อนและหลงรวมกลุ่มทางการค้า พบว่า หลังรวมกลุ่ทางการต้าระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียน ส่งผลให้เกิดการเพ่ิมปริมาณทางการต้า โดยตัวแปรที่สะท้อนกำลังการผลิตของผุ้ส่งออก และอำนาจการซื้อของประเทศผุ้นำเข้าสูง คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของประเทศผุ้ส่งออกและประเทศผุ้นำเข้า โดยดุจาค่าสัมประสิทธิ์ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของผุ้ส่งออกและผุ้นำเข้า เพิ่มขึ้นกว่าก่อนรวมกลุ่มทางการค้าร้อยละ 0.10 และร้อบละ 0.0016 ตามลำดับ ดดยมีนัยสำคัญด้วยระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 และร้อยละ 90 ตามลำดับ
ผลสรุปจากการวิจัยพบว่า ก่อนและหลังรวมกลุ่มีควาแตกต่างกน เต่ค่า F ที่ได้จากการคำนวณใกล้เคียงกับค่า F ที่เปิดจากตาราง เนื่องจากการทำควารมตกลงเขตการต้าเสรีอาเซียนกับกลุ่มอาเซียน +6 ได้ลงนามความตกลงเขตการต้าเสรีเพียง 5-6 ปี เท่านั้น มีเพียงประเทศจีนที่ได้ลงนามความตกลงเขตการต้าเสรีมา 10 ปี ดังนั้นความแตกต่างของก่อนและหลังการรวมกลุ่มทางการค้าจึง "ไม่เห็นความแตกต่างที่ชัดเจน"...
- "ผลของการรวมกลุ่มทางการค้าระหว่างประเทศอาเซียนกับกลุ่มประเทศ +6", วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง, โดย "เพชรไพลิน สายสิงห์", 2557.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...