Why..East Asia Summit

              การประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออก ที่กรงุกัวลาลัมปอร์ในวันพุธนี้ ถือเป็นเหตุการณ์ประศาสตร์ ที่จะส่งผลสะเทือนต่ออนาคต และจะเกริกไกรเช่นเดียวกับการประชุมสุดยอดครั้งแรก ของผุ้นำกลุ่มสมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียนที่บาหลี เมื่อปี 1976  ในการประชุมครั้งนั้น อาเซียนมีเพียง 5 ประเทศ ( อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์  สิงคโปร์ และไทย) ยังไม่มีการรวมเป็น 10 ชาติ ที่รวมประเทศคอมมิวนิสต์ในอินโดจีนที่เพ่ิงอุบัติขึ้นเข้ามาด้วย
             ในปัจจุบันการที่จีนผงาดขึ้นมา อินเดียฟื้นต้ว และสหรัฐมที่ครองความเป็นเจ้าแต่ผุ้เดียวในย่านเอเชีย - แปซิฟิก มาตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 หายไปในการประชุมที่กัวลาลัมเปอร์ในครั้งนี้ ขั้ให้เห็นว่าเราได้มาถึงจุดบรรจบแห่งยุคใหม่แล้ว การปฐมฤกษ์แห่งการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ครั้งนี้ เกิดขึ้นหลังการประชุมสุดยอดครั้งที่ 11 ของอาเซียนในกรุงกัวลาลัมเปอร์ นับเป็ฯการเฉลิมฉลองการฟื้นตัวขึ้นมาอย่างกล้าแข็ง จากโรคเรื้อรังทางเศราฐกิจการคลังของเอเชีย จนกระทั่งนำมาซึ่งวิกฤตการณ์ างการเงินในเอเชีย ในช่วงปี 1997-98  ขณะที่สหรัฐถุกหันเปไปกับพันธะะกรณีที่ตัวมีต่ออีรัก
               ความแน่นแฟ้นของเอเชียตะวันออก  การประชุมสุดยอดในวันพุธนี้สำคัญเพราะเอเชียได้รเริ่มก้าวแรกออกำปจากคำนิยาาม และการจำกัดวงที่คับแคบทางเชื้อชาติและเผ่าพันธุ์ ออกไปสู่การสร้างรากฐานให้กับสถายันระดับภูมิภาคใหม่ ก่อนการปรุชม EAS จะเป็นการพบปะสุดยอดประจำปีของอาเซียน ในการนี้ผุ้นำอเาซียนแต่ละประเทศจะแยกพบปะกับคู่เจรจาจีน ญี่ป่นุ และเกาหลีใต้ ตามมาด้วยการประชุมสุดยอดอาเซียน +3
              การผนวกเข้ามาของอินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ รวมทั้งการปรากฎตัวของวลาดิเมียร์ ปูติน แห่งรัศเซีย สะท้อนให้เห็นการมองออกไปนอกตัวเอง แสดงว่ากลุ่มภุมิภาคเอเชียตะวันออกที่เกิดใหม่นี้ จะต้องใช้ครรลองของการมีส่วนร่วมจากทางอื่นด้วย(ในทางภูมิศาสตร์ อินเดีย รัศเซีย ออกเตรเลีย และนิวซีแลนด์ อยุ่นอกเอเชียตะวันออก) นายอเหลินเจีนเป่าของจีน เสนอจะจัด EAS ครังที่สอง คราวนั้น ศูนย์การวิทัตคงจะย้ายจากเอเชียอาคเนย์ ขึ้นไปทางเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมุมมองของอาเซียนอาจจะไม่ชอบนัก และอาจจะด้วยเหตุนี้ ที่นำไปสู่ความรปารถนาที่จะนำประเทศอื่นๆ ที่ีมีปฏิสัมพันธ์อันดีกับย่านนี้เข้ามาร่วมด้วย
               ความเป็นปฏิปักษ์กับที่นับวัเพ่ิมขึ้น ของจีนและญี่ปุ่น ความเป็นอริกันทำให้เอชียอาคเนย์เกรงว่า จะเกิดสงครามเย็นรอบสองขึ้นในย่านนี้อีก ทุกวันนี้ จึงยังกระตุ้มเตือนในคนในย่านั้นตะหนักถึงลัะิขยายอาณาจักรของญี่ป่นุ ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เสมอ โดยชี้ข้อเท็จจริงที่นายก ฯจุนอิชิโร่ โคอิสุมิ  ไปเยื่อศาลเจ้ายาสุกุนิ ซึ่งเป้ฯที่เก็บอัฐิของอาชญากรสงครามตชของญี่ป่นุ เป้นประจำทุกปี รวมทั้งการที่ญี่ป่นุไม่ให้ความสำคัญต่อการกระทำทารุณกรรมของตน ในสงครามครั้งนั้น ว่าญี่ป่นุยังไม่แสดงความสำนึกผิดต่อการกระทำของตนอย่างเพียงพอ
             
  ท่มีวิพากษืวิจารณืของจีนก่อให้เกิดปฏิกิริยาในญีปุ่่นอย่างรุนแรง ส่วนที่น่าเป้นกังงวลที่สุด ก็น่าจะเป็นพวกเยาชนจีนและญี่ป่นุที่ชาตินิยมเห็นได้ชชัดจากถือยตอบดต้กันที่รุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ในหมู่พวกพัวกระทิทั้งสองฝ่าย ในที่รปะชุมสัมมนาต่างๆ ทั้งในระดับภูมิภาคและรดับสากล ทั้งๆ ที่ความสัมพันธ์ทางเสณาฐกิจระหว่างประเทศทั้งสอง นับวันย่ิงผุกพันสนิทแน่นกันอย่างรวดเร็วยิงขึ้นไปอี ขณะที่สมาชิกต่างๆ ในอาเซียนมีประสบการณื ต้องใช้เวลานานถึง 4 ทศวรรษกวาจะปรองดอ
ย่านนี้ขึ้นมาเป้นสถาบันได้สำเร็จ ประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเแียงเหนือก็ยังคงเน้นอยู่แค่ความสัมพันธ์ระดับทวิภาคี กับการหารรือ ระดับพหุภาคีเพื่อแก้ปขกรณีพิพาทเป้นการเฉพาะเชนากรหารือ 6 ฝ่าย เพื่อถอดชนวนดครงการอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือ เป็นต้น
               กระนั้นก็ดีประเด็นที่ญี่ป่นุยังขอขาในเหตุการณืสงครา่มโลกครังที่ 2 ไม่พอ  ก็ยังประสานคลองจ้องกันไปทั้งภูมิภาค โดยเฉพาะย่างยิ่งเกาหลีใต้ และอาจจะทำให้ญี่ป่นุโดดเดียวตัวเองออกมามากขึ้น
               สหรัฐกับโอกาสเชิงรุก สำหรับสหรัฐ EAS  เป็ฯปัฐหาทางการทูตของตัวประการหนึ่ง ถคึงหรัฐจะเป็นคู่ค้าชั้นนำของทุกใน EAS และมีความสัมพันธ์ด้านความมั่นคงกับตัวละครสำคัญ เช่น ญ่ปุ่น แ่สหรัฐก็ยังหาเหตุเข้าประชุมคตรั้งนี้ไม่ได้  เพียงเพราะสหรัฐไม่ยอมรับสนธิสัญญามิตรไมตรีและความร่วมมือ ของอาเซียน ในปี 1976 ที่หวังจะ "ส่งเสริมให้เกิดสันติภาพที่ยั่งยืน มิตรไม่ตรีและความร่วมมือที่ถายรในหมู่ประชาชน (อาเซียน)ของตน อันจะนำมาซึ่งความเข้มแข็ง ความสาานฉันท์ และความสัมพันธ์อันใกฃล้ชิดยิ่งขึ้น" เมื่อพิจารณาจากกำหนดการเร่งด่วของทำเนียบขาว เกือบไม่น่าจะเป้ฯไปได้ ที่ปรธานาธิบดีสหรัฐฯ จะยอมตามคำหว่านล้อม เพื่อเดินทางไปเยือนกลุ่มประเทศ ทราน-แผซิฟิกเป็นประจำปี ห่างจากการประชุมเอเปค ไม่ถึง 1 เดือน ทุกวันนี้ ระบบพันธมิตรของสหรัฐในเอเชีย  ก็มีแค่เอเปค และชมรมภุมิภาคอาเซียน เท่านั้น แต่สหรัฐจะต้องกลับไปทบทบวน หาทางเข้าร่วม EAS ใหม่ เพราะต่อไปนี้ EAS จะกลายเป้นสวนหนึ่งของสถาบันในภูมิภาคนี้ไปแล้ว
             
 อเมริกายังเป้นกังวลอยุ่แต่การที่ไต้หวันจะถูกลดขึ้น ทำให้ตัวไม่ให้ความสำคัญต่อบทบาทริเร่ิมของจีน ที่จะขอจัดระชุมรัฐมนตรีต่างประเทศเอเปค ที่กรุงซานดิอเโก้ เประเทศชิลีในปี 2004  อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาว่าเอเชียตะวันออก กำลังผงาดขึ้มาเป้ฯสถาปนิกเขียนแบบความร่วมมือด้านความั่นคงในภูมิภาคนี้ ก็ย่อมเป็นผลประโยชน์ของสหรัฐเอง ที่จะต้องเปข้าไปสรับสนุนบทบาทางการเมืองและความมั่นคงของเอเปค ให้มากขึ้น การยกเครื่องเพิ่มพลังเอเปค แบบนี้ไม่จำเป็นต้องแข่งดกับ EAS หรือ APT หากควรประกอบส่วนำันไปมากกว่า การที่สถบันเหล่านี้จะมีสมาชิกภาพที่เหลือมซ้อนกันอยู่ ก็น่าจะใหญ่พอที่จะเป้นแกนเป็นศุนย์กลางของเอเชีย-แปซิฟิได้อย่างสบาย
                ขณะที่ตอนนี้ เอเปคมีผุ้อนวยการที่ต้องรับผิดชอบประเด็นด้านความมั่นคงนอแแบบ อาทิ เช่น การตอบโต้การก่อการร้าย และโรคระบาด เอเปคก็ควรพิจารณาแต่างตั้งผุ้อำนวยการ ทที่จะมาดูแลประเด็นเรืองการเมือง สังคม และความมั่นคงที่เกิดจากการต้า อาทิ เช่นสนองให้เกิดความมั่นคงที่เป็นลูกโซ่ ความปลอดภัยทางทะเล พลังงาน และสิ่งแวดล้อมขึ้นด้วย การอำเอเปคให้มีวาระที่กว้างขึ้น ก็น่านจะสอดคล้องกบการที่เอเปคเป้นสถาบันเดียวในเอเชีย-แปซิฟิก อันเป็นที่องค์ประชุมในระดับหัวหน้ารัฐบาลทั้งหลายใยบ่านนี้
                นักวิเคราะห์ชาวอเมริกันหลายคน รวมทั้งจอห์น มีอาร์ไวเมอร์ ประจำมหาวิทยาลัยชิคาโก้ ยังคงกังวลที่จะต้องไปเผชิญหน้ากับจีนที่ผงาดขึ้นมา และหมกมุ่นกับการสร้างควมสัมพันะ์กับประเทศชายเขตของจีน เพื่อถ่วงดุลจีน อาทิ เช่น ญี่ป่นุ อินเดีย และเวียดนาม... สำหรับ ARF ก็คลบ้ายๆ กัน การที่นางคอนโรีซซ่า ไรซ์ รมต.ต่างประเทศสหรัฐ ตัดสินใจไม่เข้เาร่วมการปรุมประจำปี ARF เป็นการกระทำที่ผิดพลาด แม้สไรัญจะต้องเผชิญความเสี่ยงในเอเชียตะวันออกมากว่า นดยบายของสหรัฐก็ยังคงเน้นอยุ่ที่ยุโรปเหมือนเดิม
                 ในช่วงสงครามเย็น  แม้จะใช้นโยบายไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด แต่เห็นได้ชัดว่าอาเซียนอยู่อยู่ฝ่ายตะวันตก ด้วยการเดินหมกทางการทูต เพื่อสถาปนาองค์การใรนระดับภูมิภาคแบบทวิภาคี ที่สลับซับซ้อนของจีน อาเซียนเร่ิมพัฒนความสัมพันธืที่ใกล้ชิดกับจีนากขึ้น ทั้งนี้ดดยนมองกันว่า เพื่อถ่วงดุลลัทะิฉายเดี่ยวของสหรัฐ สมาชิกใหม่ของอาเซียนบางประเทศ เช่น พม่า ลาว และกัมพูชาได้ประโยชน์จากความใจป้ำของจีนและช่วยผ่อนคลายความกังวลจีนในหมุ่อาเซียนด้วยกัน แต่สมาชิกดั่งเดิมของอาเซียนลบางประเทศ เช่นมาเลเซียกับไทยก็แห่ตามไปกับจีน
               สำหรับอาเซียนบางประเทศ ที่เห้ฯด้วยกับหลักการถ่วงดุลอำนาจในภุมิาภาค การเขียนพิมพ์เขียวด้วยมุมมองอกไปจากตัวและส่งเสริมให้ประพฤติปฏิบัติตามบรรทัดฐาน และบทบัญญัติระหว่างประเทศต่างๆ ย่อมเป็ฯที่น่าปรารถนามากว่าจะไปอยู่ใต้ศอกของมหาอำนาจชาิตหนึ่งชาติใดโดยเฉพาะ การที่สหรัฐปรากฎตัวในภูมิภาคนี้อย่างคึกคัก ย่อมจะช่วยรักษาอนาคตของภุิภาคแถบนี้ไว้ ดังนั้น ในปี ต่อๆ ไป สหรัฐก็ควรเข้าร่วมประชุมกับ EAS เพราะมันกำลังจะกลายเป(็นแกนหลัก ที่จถสถาปนาสถาบันแห่งเอเชียตะวันออกขึ้นมาโดยไม่ต้องสงสัย...(www.manager.co.th..."การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกสำคัญอย่างไร")

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)