วันเสาร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Korean Peninsula ( Six - Party Talks)

            เกาหลีใต้มีความพยายามที่จะรวมประเทศอย่างสัติตั้งแต่ พ.ศ. 2513 โดยเปิดการเจรจากับเกาหลีเหนืออย่างต่อเนื่อง เร่ิมจากการเจรจาระหว่างสภกาชาตฝ่ายต้กับฝ่ายเหนือเพื่อให้ครอบครัวที่พลัดพรากระหว่างสงครามได้พบหน้ากัน มีการออกแถลงการณ์ระหว่างสองประเทศเมื่อ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 เพื่อยุติการกล่าวร้ายระหว่างกัน แต่การเจรจาเพื่อรวมประเทศข้ามเขตปลอดทหารไปมาหาสู่กันได้ในช่วง 20-23 กันยายน พ.ศ. 2528 และการเจรจาเกี่ยวกับกีฬาโอลิมปิก พ.ศ. 2531 ที่กรุงโซลเท่านั้น การเจรจาเรื่องอื่นๆ หยุดชะงักลงหลัง พ.ศ. 2529 เนื่องจากเกาหลีเหนือไม่พอใจเกี่ยวกับการซ้อมรบระหว่างเกาหลีใต้กับสหรัฐอเมริกาซึ่งถือเป็นการขัดแย้งกับการรวมชาติ เกาหลีใต้พยายามประนีประนอมกับเกาหลีเหนือเพื่อการเจรจาจนมีการประชุมระดับผุ้นำครั้งแรกเมื่อ 4 กันยายน พ.ศ. 2533 จากนั้นมีการประชุมต่อมาอีกหลายอย่าง อย่างไรก็ตาม การรวมชาติเกาหลียังเป็นสิ่งที่ต้องรอคอยต่อปไจนกระทั่งปัจจุบัน

            นับตั้งแต่เกิดเหตุการตึงเครียดในคาบสมุทรเกาหลีเมื่ปฃลาปี 2545 หลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้ใช้ความพยยามเพื่อลอความตึงเครียดดังกล่าวดังนี้
             การเจรจา 3 ฝ่าย จีนได้รับการ้องของจากสหรัฐฯ ให้จัดการเจรจา 3 ฝ่าย ระหว่าง สหรัฐฯ เกาหลีเหนือ และจีน ขึ้นที่กรุงปักกิ่ง เมื่อ 23-25 เมษายน พ.ศ. 2546 แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ เนื่อจากเกาหลีเหนือได้ตั้งข้อเรียกร้องต่างๆ ซึ่งสหรัฐฯ เห็นว่าเป็นการข่มขู่สหรัฐฯ
             การเจรจา 6 ฝ่ายรอบแรก จีนได้จัดให้ีการเจรจา 6 ฝ่าย รอบแรกขึ้นที่กรุงปักกิ่งเมื่อ 27-29 สิงหาคม พ.ศ. 2546 โดยมีสหรัญฯ เกาหลีเหนือ จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และรัศเซีย เข้าร่วมแต่ไ่มีความคืบหน้า เนื่องจากทั้งสองฝ่ายไม่มีท่าทียือหยุ่นและผ่อนปรนจุดยืนของตน สหรัฐฯต้องการให้เกาหลีเหนือล้มเลิกโครงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์โดยทันที่ก่อน ส่วนเกาหลีเหนือก็เสนอข้อเรียกร้องต่างๆ ได้แก่
           1. ให้สหรัญฯ จัดหาน้ำมันและอาหารให้แก่เกาหลีเหนือ
           2. ให้มีการจัดทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกัน
           3. ให้มีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างเกาหลีเหนือกับสหรัฐฯ และเกาหลีเหนือกับญี่ปุ่่น และ
           4. ให้ดำเนินการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2 แห่งที่สหรัฐฯ สัญญาจะสร้างให้
       
 การเจรจา 6 ฝ่ายรอบสอง จัดที่กรุงปักกิ่ง เมื่อ 25-28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 สหรัฐฯต้องการให้เกาหลีเหนือล้มเลิกด้วยการทำลาย โครงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์จากแร่พลูโตเนียมและแร่ยูเรเนียมอย่างสิ้นเชิง ตรวจสอบได้และหวนกลับคืนไม่ได้ แล้วสหรฐฯกับทุกฝ่ายจึงจะร่วมกันดูแลความมั่นคงปลอดภัยให้แก่เกาหลีเหนือ รวมทั้งให้ควมช่วยเหลือทาางเศราฐกิจและพลงงานส่งนเกาหลีเหนือต้องการสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเกาหลีเหนือกับสหรัญฯ หรือหลัักประกันจากทั้ง 5 ฝ่าย โดยคาดหวังว่าจะได้รับความช่วยเหลือด้านต่างๆ เป็นการตอบแทน ทั้ง 6 ฝ่ายได้จัดตั้งคณะระดับทำงาน
           การประชุมคณะระดับทำงานครั้งที่ 1 จัดขึ้นเมื่อ 12-14 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ที่กรุงปักกิ่ง โดยไม่มีความก้ายหน้าที่สำคัญมากนักเนื่องจากท่าที่ของสหัรฐฯและเกาหลเนือยังคงแตกต่างกันมาก การประชุมคณะระดับทำงานครั้งที่ 2 การเจรจา 6 ฝ่ายรอบสามีขึ้นระหว่าง 21-22 และ 23-26 มิถุนายน 2547
            การเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่สาม จัดที่กรุงปักกิ่งเมื่อ 23-26 มิถุนายน 2547 โดยได้มีความคืบห้า 3 ประการคือ
            1. จีนในฐานะประธานการเจรจาได้ออกคแถลงของประธาน มีเนื้อหาโดยสรุปคือ ทั้ง 6 ฝ่ายเน้นย้ำความจำเป็ฯในการดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอนของถ้อยคำต่อถ้อยคำและกากระทำต่อกากระทำ ในการหาแนวทางการแก้ปัญหาประเด็นอาวุธนิวเคลียร์
            2. กำหนดให้มีการประชุมคณะระดับทำงารนครั้งที่ 3 โดยเร็วที่สุด และ
            3. กำหนดให้มีการเจรจา 6 ฝ่ายรอบสี่ภายในเดือนกันยายน พ.ศ. 2547 เพื่อกำหนดขอบเขต ระยะเวล การตรวจสอบ และมาตการที่สอดคล้องกัน ในการดำเนินกำารรในขึ้นตอนแรกของการทำลายโครการพัฒนาอาวุธนิวเคียร์
             นอกจากนีั้ สหรัญฐฯ ได้ยื่อข้เสนแ 5 ประการแก่เกาหลีเหนือเพือ่เป็นากรตอบแทนที่เกาหลีเหนือระงับโครงการอาวุธนิวเคลียร์ ได้แก่
             - ช่วยเหลือด้านน้ำมันเชื้อเพลิง
             - ค้ำประกันเฉพาะกาลด้านความมั่นคง
             - ช่วยเหลือด้านพลังงานในระยะยาว
           
 - หารือกับเกาหลีเหนือโดยตรงเพื่อยกเลิการควำ่บาตทางเศราฐกิจและถอนเกาหลีเหนือออกจากบัญชีรายชื่อประเทศก่อการร้ายและ
             - ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์นิวเคียร์ในช่วง 3 เดือนซึ่งเป็นขั้นการเรียมการ ไปสู่กระบวนการขจัดอาวุธนิวเคียร์ในเกาหลเหนือ
              การเจรจา 6 ฝ่ายรอบสี่ การเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่ 4 ระยะที่ 1 วันที่ 26 กรกฎาคม - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2548 มัพัฒนาการที่สำคัญ ได้แก่ ด้านสารัตถุ ทุกฝ่ายสามารถบรรลุความเห็นชอบในหลักการร่วมกันใน Joint Statement ซึ่งจะเป็นเอกสารที่ก่อให้เกิดเจตนารมณ์ทางการเมืองร่วมกันและนำสู่การปฏิบัตเพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดในการทำให้คาบสมุทรเกาหลีเป็นเชตปลอดอาวุธนิวเคียร์ ด้านกลไก การเจรจาครั้งนี้เปิดให้สมาชิก 6 ฝ่ายพบหารือทวิภาคีเพื่อรปับท่าทีที่แตกต่างกน ดดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐฯ และเกาหลีเหนือได้พบกัน หารือทวิภาคกันมากกว่า 10 ครั้ง อยางำรก็ตาม การเจรจาครั้งนี้ต้อง recess เนื่องจากสหรัฐฯและเกาหลีเหนือยังมีท่าทีที่แตกต่างกันโดยสหรัฐฯย้ภว่าเกาหลีเหนือต้องยกเลิกโครงการนิวเคลียร์ทั้งหมด ขะที่เกาหลีเหนือ เห็นว่าโครงการนิวเคียร์เพื่อกิจการพลเรือนและากรใช้นิวเคลียร์อย่างสนติเป็นสิทธิอันชอบธรรมของรัฐอธิปไตย
              การเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่ 4 ระยะที่ 2 เร่ิมขึ้นระหว่างวันที่ 13-19 กันยายา 2548 โดยทั้ง 6 ฝ่ายได้ออกคำแถลงร่วม ซึ่งมีสาระสำคัญ ได้แก่
             - สมาชิกทั้ง 6 ฝ่ายยืนยันอย่างเป็นเอกฉันท์ถึงเป้าหมายของการเจรจา 6 ฝ่าย คือ กา่ทำให้คาบสมุทรเกาหลีปลอดอาวุธนิวเคียร์โดยสันติวิธี และสามารถตรวจสอบได้
             - สมาชิกทั้ง 6  ุ ฝ่ายเคาพรเป้าหมายและหลักากรของกฎบัตรสหประชาชาิและยอมรับบรรทัดฐานของการดำเนินความสมพันธ์ระหว่างประเทศในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างกัน
             - สมาชิกทั้ง 6 ฝ่ายจะส่งเสริมความร่วมมือด้านเศราฐกิจในสาชาพลังงาน การต้าและการลงทุน ทังใรกรอบทวิภาคและพหุภาคี
             - สมาชิก 6 ฝ่ายเห็นขอบที่จะจัดการเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่ ถ ที่กรุงปักกิ่งในต้นเดือนพศจิการยน 2548 โดยจะหารือเกี่ยวกับกำหนดวันต่อไป
               การเจรจา 6 ฝ่ายรอบ 5 การประชุมเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่ 5 เร่ิมขึ้นเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2548 โดยมีกำหนดระยะเวลา 3 วัน ก่อนที่จะมีการหยุดพักชั่วคราว เพื่อให้คณะผุ้แทนไปเข้าร่วมประชุม APEC ที่เมืองปูซาน ประเทศเกาหลีใต้ ประเด็นหลักในการเจรจาครั้งนี้ คือ การหารือในรายละเดียดของข้อตกลงร่วมที่สมาชิกทั้ง ุ6 ฝ่ายได้ตกลงกันไว้ในการเจรจารอบที่ 4 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 ได้แก่
               - การยกเลิกโครงการอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือ
               - การปรับความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯกับเกาหลีเหนือ
               - ความช่วยเหลือด้านพลังงานเกาหลีเหนือ

                               - https//th.wikipedia.org/../คาบสมุทรเกาหลี, ประวัติศาสตร์เกาหลี
         

วันศุกร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Korean Peninsula (Korean War)

             ในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา เกาหลีถูกรุกรานจากจีนและญี่ป่นุหลายครั้ง หลังจากที่ญี่ปุ่่นชนะจีนในสงครามจีนกับญี่ปุ่น (Sino-Japanese War 1894-1895) แต่ญีปุ่นก็ยังคงกำลังทหารไว้ในเกาหลี่และยึดครองพื้นที่ส่วนใหญ่ทางยุทธศาสตร์ของประเทศเกาหลีไว้ และอีก 10 ปีต่อมาญี่ป่นุก็สามารถเอาชนะในสงครามทางเรือต่อรัสเซีย -ญี่ปุ่น (Russo - Japanese War 1904-1905) ทำให้ญี่ปุ่นมาเป็นมหาอำนาจจักรวรรดินิยม ญี่ปุ่นจึงยังยึดครองเกาหลีต่อไปและขยายการยึดครองไปยังิดนแดนต่างๆ ของประเทศเกาลหลีโดยใช้กำลังทหาร จนรในที่สุดญี่ป่นุก็ได้ผนวกเกาหลีเป็นดินแดนของญี่ป่นุเมื่อเดือนสิงหาคม 1910
              เมื่อญี่ปุ่นเข้ามาปกรองเกาหลี ญี่ปุ่นจัดการฟื้นฟูประเทศเกาหลีให้มีความก้าวหน้าตามนโยบายจักรรรดินิยมของญี่ป่นุ เช่น ผลักดนให้เกาหลีมีความก้าวหน้าทางเศณาฐกิจ แต่ประชกรชาวเกาหลีกลับได้ผลประโยชน์จากความก้ายหน้าทางเศราฐกิจเพียงเล็กน้อย นอกจากนั้นญี่ปุ่่นยังกดขี่เกาหลีทงด้านวัฒนธรรมด้วย เช่น ห้ามใหช้ภาษาเกาหลี และเมื่อชาวเกาหลีกลุ่มใดเรียกร้องเสรีภาพ ญี่ป่นุจะให้ตำรวจเข้าทำการปราบปราม จึงทำให้ชาวเกาหลีด้ินตนแสวงหาอิสรภาพอย่างเต้ฒที่ในที่สุดได้เกิด
"ขบวนการซามิว" หรือ "ขบวนการ 1 มีนาคม" ขึ้นในปี ค.ศ. 1919 ซึ่งขบวนการซามิวนี้ประเกอบด้วยผูงชนที่ปราศจากอาวุธจำนวนมาก พากันเดินขบวนเรียกร้องให้ชาวโลกช่วยเกาหลีให้หลุ่มพ้นจากความเป็นทาสของญี่ป่นุ แต่การปฏิบัติการของขบวนการซามิวไม่สำเร็จผล บรรดาผู้นำในการกอบกุ้เอกราชของเกหลีจึงได้จักตั้งรัฐบาพลัดถ่ินขึ้นในประเทศจีน โดยตั้งให้นายชิงมัน รี เป็นประธานาธิบดีคนแรกของรัฐบาลเกาหลี แต่ต่อมาไม่นานรัฐบาลพลัดถ่ินดังกล่าวเกิดการแตกแยกเป็นหลายฝ่าย ในที่สุดกลุ่มที่นิยมโซเวียตก่อตัวเป็นกองโจรแล้วต่อต้านญี่ป่นุอยุ่ตามบริเวณพรมแดนที่ติดต่อระหว่างเกาหลีกับแมนจูเรีย ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งเป็นปรปักษ์ตจ่อคอมมิวนิสต์ซึ่งทำการต่อต้านอยาางดุเดือดเช่นเดียวกับกลุ่มนิยมโซเวียต และในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 กลุ่มที่เป็นปรปักษ์ต่อคอมมิวินสิต์ได้เข้าร่วมกับกองทัพจีน ส่งวนายชิงมัน รี เดินทางไปยังกรุงวอชิงตัน เพื่อหาทางกอบลกู้เอกราชให้เกาหลีโดยวิถีทางการทูตและการเมือง แต่ความแตกแยกทางความคิดของรัฐบาลพลัดถ่ินของเกาหลีในจีนก็ยังคงมีอยู่
              ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 นอกจาพันธมิตรจะประกาศให้เกาหลีเป็นเอกราชแล้วสหรัฐอเมริกากับอดีตสหภาพโซเวียตยังตกลงกัน่า เมื่อชนะสงครามแล้วจะใช้เส้นขนานที่ 38 เป็นเส้นแบ่งเขต สำหรับควบคุมกองทหารญี่ป่นุของแต่ละฝ่าย
                 และเมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1945 กองทัพสหรัฐอเมริกาเคลื่อนกำลังไปในดินแดนเกาหลีตั้งแต่ใต้เส้นขนานที่ 38 ขึ้นไป และแต่ละฝ่ายจัดตั้งการปกครองในเกาหลีทีั้ง 2 เขตตั้งแต่นั้นมา จึงก่อให้เกิดการแบ่งแยกประเทศเกาหลีออกเป็น  ประเทศ แต่สหรัฐอเมริกาไม่เห็นด้วยกับการแบ่งแยกดังกล่าวจึงขัดขวางโดยเสนอให้วมเกาหลีทั้ง 2 เป็นประเทศเดียวกัน ซึ่งทางสหภาพโซเวียตเห็นด้วยแต่ีเงื่อไขว่า รัฐบาลที่จะปกครองเกาหลีต้องเป็นรัฐบาลที่จัดตังขึ้นตามเหงื่อนไขของสหภาพโซเวียตเท่านั้ สหนรัฐอเมิรกาจึงนำปัญหานี้เสนอต่องค์การสหประชาชาติตามเบงื่อนไขของสหภาพโซเวียตเท่านั้นสหรัฐอเมริกาจึงนำปัญหานี้เสนอต่อองคการสหประชาชาติพิจารณาเมือกันยายน ค.ศ. 1947 ต่อมาสภาความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีมติให้เลือกตั้งทัี่้วไปในเกาหลีและให้อยุ่ในความควบคุมของสหประชาติ แต่สหภาพโซเวียนปฏิเสธความี่วมมือและ พฤษ๓าคม ค.ศ. 1948 จึงมีการเลือกตั้งทั่วไปในเกาหลีเฉพาะเขตคที่อยุ่ในการยึดครองของสหรัฐอเมริกาเพียงเขตเดียวเท่านัน การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกต้้งสมาชิกประจำสมัชชาแห่งชาติของเกาหลี หลังจาการเลือกตั้งผ่านพ้นสมัชชาแห่งชาติเกาหลีได่้ทำากรร่างรัฐธรรมนูญขคึ้นมาปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยและประกาศไช้รัฐ
ธรรมนูญฉยับบนี้ในวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1948 และในวันที่ 156 สิงหาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่ีงชาติเกาหลีประกาศจัดตั้งสาธารณรับเกาหลีขึ้นเป็นทางการโยมีนายชิงมัน รี เป็นประธานาธิบดีคนแรก และขณะเดียวกันใตช่วงต้นปี คซฦ.ศ. 1946 สหภาพโซเวียนก็ตอบโต้ด้วยการจัดตั้งรัฐบาลขึ้ามาปกครอง ในดินแดนยึดครองของตนเองบ้าง โดยมีนาย คิมอิล ซุง เป็นหัวหรเ้าคณะรัฐบาล ซึ่งเป็นไปในแนวทางคอมมิวนิสต์ ทำให้ชาวเกาหลีจำนวนามากที่อยุ่นเชตการปกครองนี้หนีลงข้ามเส้นขนาที่ 38 มาอาศัยในเขตที่สหรัฐอเมริกาได้ประกาศจึดตั้งสาธารณรัฐเกาหลีขึ้น ต่อมาเมื่อวันที่ 9 กันยายน ค.ศ. 1948 สหภาพโซเวียนตึงจัดตั้งเขต ยึดครองของตนเป็นประเทศ "สาธารณรับประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี" มีนายคิม อิล ซุง เป็นหัวหน้าคณะรัฐบาล  และเมื่อจัดตั้งประเทศเกาหลีเหนือสำเร็จ สหภาพโซเวียจตึงถอยทัพออกไปจากดินแดนเกาหลีเหนือนับแต่นั้นมา เกาหลีจึงกลายเป็น 2 ประเทศโดยมีเส้นขนานที่ 38 เป็นเส้นแบ่งดินแดน
            เหตุการณืที่เกิดกับเกาหลีหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แสดงให้เห็นว่าเกาหลี่เป็นอีกประเทสหนึค่งที่มหาอำนาจผู้ชนะสงครามได้วางแผนให้สู้รบกันเอง เพราะการแบ่งแยกประเทศและการแบ่งปยกแนวความคิดทางการเมือง และเมื่อสงครามสิ้นสุดลงแล้วชขาวเกาหลียังต้องจับอาวุธรบกันเองครั้งยิงใหญ่ เพราะเหตุที่มหาอำนาจ "ยัดเยียด" หรือ "ส่งเสริม" แนวความคิดทาสงการเมืองที่แตกต่างกันให้กับชาวเกาหลีนั้นเอง
             เกาหลีเป็นประเทศ ที่วัติศาสตร์ยาวนาไม่น้อยกว่า 5,000 ปรี และตลอดระยะเวลาที่ยายนามนั้นเกาหลีเต็มไปด้วยสงคราม เพราะที่ตั้งของประเทศเกาหลีเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญระหว่างญี่ปุ่น จีน และอดีตสหภาพโซเวียต ทำให้จีนและญี่ปุ่นต่างต้องการที่จะเข้าไปมีอิทธิพลเหนือเกาหลี ทำให้ประเทศทั้งสองเข้ารุกรานเกาหลีตลอดมา
             ในช่วงต้นและกลางศตวรรษที่ 20 ญี่ปุ่นได้เข้าครอบครองเกาหลีไว้ทั้งประเทศแล้วเปลี่ยนชื่อประเทศเกาหลีเป็น "ประเทศโซเซน" เมื่อญี่ปุ่นแพ้สงคราม ในสงครามโลกครั้งที่ 2 เกาหลีจึงได้รับอกราชตามคำประกาศแห่งไคโรของฝ่ายพันธมิตรซึ่งการได้รับเอกตาชของเกาหลีหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง ทำให้เกาหลีถูกแบ่งแยกออกเป็น 2 เขตการยึดครอง คือ เขตยึดครองของโซเวียนและเขตยึดครองของสหรัฐฯ ซึ่งต่อมาเขตยึดครองของมหาอำนาจทั้งสองกลายเป็นประเทศเกาหลี 2 ประเทศในปัจจุบัน
             เกาหลีก่อนแยกเป็นเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ เดิมเมืองหลวงอยู่ที่กรุงโซลเมื่อที่เป็นศูนบ์กลางการเมือง เศราฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมจของประเทศมานานกว่า 600 ปี มีแม่น้ำฮันกังไหลผป่านแลเทือกเขานัมซันตั้งอยุ่ใจกลางเมืองประเวัติของเกาหลีก่อนที่จะเจอสงครามเย็นจนแยกออกเป็นสองประเทศนั้นเคยถูกจีนและญี่ปุ่นรุกราน อย่างสหาหันสากัน ส่งสงครามเกาหลีเป็นช่วงต่อจากสงครามโลกครั้งที่ 2 และเริ่มจ้นสงครามเย็น กล่าวคือ สหภาพโซเวียตในขณะนั้น ภายใต้การนำของสตาลิน จดๆจ้องจะประกาศสงครามกับญีปุ่่น แต่อเมริกาท้ิงประมาณูบอมบ์ฮิโรชิม่าจนญี่ป่นุประกาศยอมแพ้ในปี 1945 โซเวียตจึงยกทัพบุกแมนจูเรียกับเกาหลีทางเหนือทันที่ ซึ่งไม่มีการต่อต้านจากสองดินแดนนี้ อเมริกามองสถานการณ์อย่างไม่พอใจนัก จึงแยกอำนาจเกาหลีออกเป็นสองฝ่าย โดยให้โซเวียตกำกับดินแดนที่อยูเหนือเส้นขนาน 38 ขึ้นไป ในช่วงเวลาดังกล่าวการเมืองของเกาหลีทั้งฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้วูบวาบตลอดเวลา แต่ฝ่ายเหนือดูเหมือจะมั่นคงกว่า เมื่อโซเวียตหนุนหลังคิม อิล ซุง สร้างอำนาจเต็มที่ ขณะที่ฝ่ายใต้แตกแยกเป็นฝ่ายนิยมคอมมิวนิสต์กับฝ่ายต่อต้านโดยมีอเมริกาแอบหนุนหลังฝ่ายต่อต้านคอมมิวนิสต์จนครองอำนาจเบ็ดเสร็จในปี 1947 ฝ่ายเหนือและใต้พยายามจะเปิดเจรจาเพื่อรวมชาติหลายคั้ง แต่ทั้งโซเวียตและอเมริกาต่างๆไม่ยอม เพราะเกรงจะเสียทีอีกฝ่ายในที่สุดทั้งสองดินแดจึคงจัดเลือกตั้งและมีรัฐบาลแยกตัวกันอย่างเด็ดขาด นำไปสู่การทำสงครามในปี 1950 และสิ้นสุดลงเมื่อ กรกฎาคม 1953 ซึ่งสงครามคร่าชีวิตชาวเกาหลีไปกว่า 3 ล้านราย สงครามเกาหลีเป็นส่วนหนึ่งของสงครามเย็น
             ในวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 1950 กองทัพเกาหลีเหือเคลื่นผ่านเส้นขนานที่ 38 มายังเกาหลีใต้ดินแดนเกาหลีต้องประสบกับภาวะสงครามครั้งยิ่งใหญ่นับจากสงครามดลกครั้งที่ 2 ยุติลง สงครามครั้งนี้เรียกว่า"สงครามเกาหลี" เป็นสงครามที่ดำเนินต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานถึง 4 ปี เกาหลีเหลืออ้างว่ากองทัพสาธารณรับเกาหลีภายใต้การนำของ ชิงมัน รี ผุ้ขายชาติ ได้บุกรุกข้ามชายแดนมาก่อน และชิงมัน รี จะต้องถุกจับกุมตัวและประหารชีวิต
              ในสงครามครั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบแล้วเกาหลีเหนือมียุทโธปกรณ์และกองกำังที่เหนืขั้นกว่าเกาหลีไต้อยุ่มาก ทำให้กองทัพเกาหลีเหนือเข้าจู่โจมและได้รับผลำเร็จอย่างรวดเร็ว ซึ่งทำให้กองทัพเหนือยึดกรุงโซลได้ในบ่ายวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1950 แต่อย่างไรก็ตามความหวังของเกาหลีเหนือที่จะได้รับการยอมรับการยอมแพ้จากรัฐบาลของ ซิงมัน รี และทำการรวมชาติได้อย่างรวดเร็วก็สลายไปเมื่อสหรัฐอเมริกาและชาติมหาอำนาจอื่นๆ เข้าแทรกแซงและขยายสงครามกลางเมืองเป็นความขัดแย้งนานาชาติ
               ประธานาธิปบดี ทรูแน ของสหรัฐอเมริาการนขณะนั้นได้เดินทาไปที่สหประชุาชาตเพื่อขอคำอนุมัติในการนำกำลังสหประชาชาติเข้าทำการยุติสงครามและเกาหลีเหนือต้องถอนกำลังไปที่เส้นขนานที่ 38 จัดตั้งคณะกรรมาธิการสหประชาชาติเพื่เผ้าดูสภานการณ์และให้ระงับการช่วยเบหือรัฐบาลเกาหลีเหนือ ซึ่งเรื่องดังกล่าว ทรูแมน กระทำโดยไม่ได้มีการเสนอให้ที่ประชุมสภาของสหรัฐอเมริการร่วมพิจารณาด้วย แต่คณะมนตีความมั่นคงสหประชุาชาติก็ได้ผ่านมติดังกล่าวอย่างเป็นเอกฉันท์ โดยปราศากผู้แทนของสหภาพโซเวียตเข้าร่วมในการประชุมครั้งนี้สหปะชาชาติจึงลงคะแนนเสีนงให้ช่วยเหลือเกาหลีต้ สหรัฐอเมริกาจึงได้ประกอบกำลังทหารและสงกำลังบำรุงจาชาติสมาชิก คือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อังกฤษ ฝรั่งเศส แอฟริกาใต้ เตอร์กี ไทย กรีก เนเธอิร์แลนด์ เอธิโอเปีย โคลัมเีย ฟิลิปปินส์ เบลเยี่ยม และลักแซมเยิร์ก เข้าร่วม
             
 นอกจากนัน ทรูแมนยังได้สั่งการให้นายพล ดักลาส แมคอาเธอร์ ผู้บังคับบัญชาการสูงสุดของฝ่ายพันธมิตร ซึ่งยึดครองญี่ป่นุอยู่ในขณะนั้น สงอาวุธ ยุทโธปกรณ์ สนับสนนุให้กับกองทัพเกาหลีใต้ และสั่งให้กองทัพเรือที่ 7 สหรัฐอเมริกาเดินทางมายังช่องแคบไต้หวันเพื่อป้องกันจีนคอมมิวินสต์บุกเข้ายึดเกาะไต้หวันและขณะเดียวกันป้องกันไม่ให้จีนคณะชาติที่ไต้หวันบุกยึดพื้ที่แผ่นดินใหญ่ของจีน เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้สงครามแผ่ขยายไปยังเอเชียตะวันออก
              เดือนสิงคหาคม ค.ศ. 1950 กองทัพเกาหลีใต้และกองทัพบกของสหรัฐอเมริกาภายใต้การบังคับบัญชาของ พลเอก วอลตัน วอคเคอร์ ถูกโจมตีถอยร่นมายังปูซาน ขณะที่อกงทัพเกาหลีเหนือบุกมานั้นได้ไล่สังหารชาวเมืองที่เคยช่วยพวกเขาในกาต่อต้าน ซิงมัน รี ในสงครามครั้งนี้อย่างโหดร้าย และในเือนกันยายนปีเดี่ยวกัน กองกำลังพันธมิตรชั่วคราวยังยึดพื้นที่รอบเมืองปูซานไว้ได้ซึ่งเป็นเพียง 10 % ของคาบสมุทรเกาหลี
              ในการเปชิญหน้ากับการโจตีอย่างดุเดือดของเกาหลีเหนือ การตั้งรับของฝ่ายพันธมิตรกลายเป็นการสู้รบเข้าตาจนที่ฝ่ายสหรัฐอเมริกาเรียกว่า "สงครามวงรอบปูซาน" อย่างไรก็ตาม เกาหลีเหนือไม่สามารถตีเมืองปูซานแตกได้ ซึ่งขณะนั้นทั่วทั้งเกาหลีเกต็มไปด้วยเครื่องบินทิ้งระเบิด สหรัฐได้โจมตีแหล่งส่งกำลังหลักต่างๆ ของเกาหลีเหนือเพื่อให้กองทัพเกาหลีเหนือขาดแคลนสิ่งจำเป็นในการทำสงคราม ซึ่งการำลายของเครื่องบินทิ้งระเบิดครั้งนี้ทำให้การส่งยุทโธปกร์ไม่สามารถไปถึงกองทัพเกาหลีเหนือ ที่ปฏิวัติการรบอยุ่ทางใต้ได้ ในขณะเดียวกันฐานส่งกำลังในญี่ป่นุของสหรัฐอเมริกาได้ทำการส่งอาวุธและกำลังทหารมายังเมืองปูซานอย่างมากมาย ทำให้เกาหลีใต้มีความแข็งแกร่งและมีกำลังทหารมากว่ากองทัพเกาหลีเหนือ อยู่กว่าเกือบแสน และในเวลานี้เองกองทัพสหประชาชาติและเกาหลีใต้ก็ได้เร่ิมปฏิยัติการโจมตีตอบโตค้ กองทัพสหประชาชาติได้ขับไล่กองทัพเกาหลีเหนือผ่านเส้นขนานที่ 38 จุดหมายปลายทงในการที่จะปกป้องรักษารัฐบาลเกาหลีใต้บรรลุแลว กองทัพสหประชาชาติได้ข้าแดนเข้าไปในเกาหลีเหนือเมื่อต้นเดือนตุลาคม ค.ศ. 1950 ทำให้กองทัพเกาหลีเหนือแตกกระจายและถูกจับเป็นเชลยถึง 135,000 คน และการรุกของกองสหประชาชาิ ครั้งนี้สร้างความกังวบลให้จีนมาก เพราะเป็นห่วงว่าสหประชาชาติจะไม่หยุดอยู่เพียงแม่น้ำยาบูซึ่งเป็นชายแดนระหว่างเกาหลีเหนือและจีน และดำเนินนโยบายให้จีนกลับสู่อำนาจเก่าคือ เจียงไค เชค หลายคนในชาติตะันตกรวมทั้งนายพล ดักลาส แมคอาเธอร์ คิดว่ามีความจำเป็นต้องขยายสงครามไปสู่จีน แต่ทรูแมนและผุ้นำคนอื่นๆ ไม่เห็นด้วย  นายพล ดักลาส จึงถูกกล่าวเตือนในเรื่องดังกล่าว แต่นายพลฯ ก็ไม่ใส่ใจการเตือนั้น โดยเข้าแย้งว่าเนื่องจากกองทัพเกาหลีเหนือได้รับการส่งกำลังจากฐานในเขตแดนจีน คลังสงกำลังเหล่านั้นจึงควรถูกทำลายด้วย
           
 8 ตุลาคม ค.ศ. 1950 หลังจากที่ทหารสรัฐอเมริกาข้ามเส้นขนานที่ 38 ไปแล้ว ประธานเหมาเจ๋อตุงของจีนได้ออกคำสั่งใหรวบรวมกองทัพอาสาสมัครประชุาชนจีนเคลื่อพลไปยังแม่น้ำยาลูและเตรียมพร้อมที่จะข้าแม่น้ำ ขณะเดียวกันเหมาเจ๋อ ตุงมองหาความช่วยเหลือจากสหภาพโซเวียตและมอว่ากรแทรกแซงสงครามเกาหลีครั้งนี้เป็นเพียงการป้องกันตนเอง ขอากล่าวกับสตาลินว่า "ถ้าเรายินยอมให้สหรัฐอเมริกาครอบครองเกาหลีทั้งหมด เราก็ต้องเตรียมตัวให้สหรัฐฯประกาศสงครามกับจีน" อย่างไรก็ตาม สหภาพโซเวียตก็ได้ตัดสินใจให้การช่วยเหลืออย่างจำกัดกับจีน ทไใ้จีนโกรธเคื่องมก ในขณะที่สหรัฐอเมริการก็รู้ดีว่าสหภาพโซเวียรไต้ส่งกำลังทางอากาศเข้ามาในสงครามเกาหลี แต่ก็น่ิงเฉยเพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่อาจนำไปสู่สงครามนิเคลียร์ และในวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1950 นั้นเองที่เป็นวันที่กองทัพอาสาประชาชนจีนเข้าปะทะกับทหารสรัีฐอเมริกา โดยใการปารปะทะครั้งนี้จนทำการเคลื่อนพลได้อย่างมีระเบียบวินัยและแยบยลเป็ยอย่างยิ่ง
             ปลายเดือนพฤศติกายน ค.ศ. 1950 กองทัพจีนได้เข้าโจมตีพื้ี่ด้านตะวันตกตามแนวแม่น้ำของ ซอน และสามารถเอาชนะกองทัพเกาหลีใต้หลายกองพลและประสบความสำเร็จในการเข้าตรีกองทัพสหประชาชาติ ที่เหลืออยู่ จากความพ่ายแพ้ของกองทัพสหรัฐอเมริกาเป็นเหตุให้ทหารสหรัฐอเมริกาต้องล่าถอยเป็นระยะยาวที่สุดในประวัติศาสตร์
            ในเดือน มกราคม ค.ศ. 1951 ฝ่ายคอมมิวนิสต์ได้ทำการโจมตีอีกครั้งในช่วงที่เรียกว่า Chinese Winter Offensive กองทัพจีนได้ใช้ยุทธวิธีในรูปแบบเดิมอย่างที่เคยทำ สถานการณ์ของกองทัพที่ 8 แย่ลงไปอีกเมื่อพลเอกวอคเคอร์เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ ผู้นำคนใหม่คือ พลโท แมททิว ริดจ์เวย์ ซึงเขาเร่ิมดำเนินการด้วยการกระตุ้นขวัญและกำลังใจของกองทัพที่ 8 ซึ่งตกต่ำจากการถูกโจมตีจนต้องล่าถอยเป็นระยะทางไกล และในปลายเดือนมกราคมนั้น จากการลาดตระเวนริดจ์เวย์ พลว่า แนวรบตรงหน้าเขาปราศจากข้าศึก เขาจึงพัฒนแผนการรุกแบบเต็มกำลังในยุทธการรวอัพ ซึ่งประสบผลสำเร็จอย่างมาใน ต้นเดือนกุมภาพันธ์กองทัพสหประชาชาติมาถึงแม่น้ำฮันและยึดเมืองวอนจูได้อีกครั้ง
           
จีนทำการตอบโต้กลับในเดือนกุมภาพันธ์ที่ฮองของในภาคกลางเข้าตีท่ตั้งกองทัพน้อยที่ 9 รอบเมืองชิบยองนี กองพลทหารราบที่ 2 ของสหรัฐรวมกับกองพันทหารฝรั่งเศสได้ทำการต่อสู้ชนิดเข้ตาจนในช่วงเวลาสั้น แต่ก็สามารถต้อนการรุกของจีนได้ และในสองสัปดาห์สุดท้ายของเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1951 กองทัพบกที่ 8 รุกเต็มรูปแบบเพื่อใช้อำนาจการยิงสูงสุดและมุ่งทำลายกองทัพจีนและเกาหลีเหนือมากที่สุดโดยยุทธการคิลเลอร์ กองทัพน้อยที่ 1 จึงได้ยึดครองดินแดนด้านใต้ของฮัน ในขณะที่อกงทัพน้อยที่ 9 สามารถยึดครองรองชอนได้
               11 เมษายน 1951 ประธานาธิบดีทรูแมนได้ปลดพลเอกแมคอาเธอร์ออกจากตำแหน่ง ผุ้บัญชาการกองทัพสหประชาชาติเนื่องจากขัดคำสั่ง ผู้บัญชาการคนใหม่คือ พลเอกริดจ์เวย์ ได้จัการกลุ่มกองทัพสหประชาชาติใหม่ เกิดการโจมตีอย่างเป็นขั้นเป็นตอนขับไล่คอมมิวนิสต์ให้ถอยไปช้าๆ กองทัพสหประชาชาติยังคงรุกคือบจนกระทั่งถึงแนวแคนซัส ซึ่งอยุ่เหนือเส้นขนานที 38 พวกเขาได้เปิดฉากการรุกในช่วงที่ 5 การโจมตีหลักคือ ตำแหน่งกองทัพน้อยที่ 1 แต่ก็ถูกต้านทานอย่างเหนียวแน่นที่แม่น้ำอิมจินและคาเปียง การรุกของจีนถูกหยุดลงที่ที่แนวตังรับเหนือกรุงโซล
              กองทัพสหประชาชาติตัดสินใจหยุดอยุ่แค่แนวแคนซัส ซึ่งอยุ่เหนือเส้นขนานที่ 38 และหยุดนิ่งไม่มีทีท่าที่จะทำการรุกขึ้นไปในเกาหลีเหนือ บ่งชี้ถึงช่วงเวลาที่เกิดมีกายิ่งกัน ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่เหลือจนกระทั่งมีการตกลงเพื่อหยุดยิง...

                       - wiki.kpi.ac.th/...สงครามเกาหลี
                       - gojoseon.blogspot.com... สาเหตุของสงครามเกาหลีเหนือ&เกาหลีใต้
           

วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Korean Peninsula (+3)

              คาบสมุทรเกาหลี เป็นคาบสมุทางตะวันออกของทวีปเอเชีย ทอดตัวลงไปทางทิศใต้สู่มหาสมุทรแปซิฟิก มีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร พื้นที่รวมกันได้ 220,847 ตารางกิโลเมตร ทางตะวันออกล้อมรอบด้วยทะเลญี่ปุ่น(ทะเลตะวันออก) ทะเลจีนตะวันออก ด้านตะวันตกเป็นทะเลเหลือง โดยมีช่ิงแคบเกาหลีเชื่อต่อชายฝั่งทะเลสองด้าน พื้นที่ 70% ของคาบสทุทรเป็นเทือกเขา
              คาบสมุทรเกาหลีเป็นดินแดนที่มีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนาน เริ่มแต่เป็นดินแดนของผุ้คนหลากเผ่าพันธุ์ กระทั่งรวมตัวขึ้นเป็ฯอาณาจักรเล็กๆ ต่อมาถูกจีนยึดครอง เมื่อได้เอกราชจากจีน คาบสมุทรเกาหลีประกอบด้วยสามอาณาจักรสำคัญ คือ อาณาจักรโคกูรยอ ทางภาคเหนือ เผ่าโคกูรยอเร่ิมเข้มเเข็งมากขึ้นเมื่อราชวงศ์ฮั่นของจีนล่มสลาย และสามารถขยายอำนาจเข้ายึดครองมณฑลนังนังจากจีนได้เมื่อ พ.ศ. 856, อาณาจักรแพ็กเจ ชนเผ่าแพ็กเจซึ่งเป็นเผ่าย่อยของเผ่าพูยอที่อพยพลงใต้เข้ายึดครองอาณาจักรอื่นรวมทังอาณาจักรเดิมของเผ่าฮั่น ตั้งเป็นอาณาจักรเมื่อ พ.ศ. 777, อาณาจักรชิลลา อยุ่ทางตะวันออกเฉียงใตค้ของคาบสมุทรเกาหลี พัฒนาขึ้นเป็ฯมิตรกับโคกูรยอตลอดจนกระทั่งหลังสงครามระหว่างโคกูรยอกับแพ็กเจอาณาจักรซิลลาจึงเข้มแข็งเป็นลำดับ จนสามารถยึดครองลุ่มแม่น้ำฮี่นและลุ่มนำ้นักดงจาแพ็กเจได้
              แพคเจ ซิลลา และโกรคูรยอ ต่างก็ทำสงครามกันมาหลายร้อยปีเพื่อครองอินแดนคาบสมุทร นอกจากนี้โคกูรยังทำสงครามกับราชวงศ์สุยและราชวงศ์ถังของจีนที่มารุกรานด้วย อย่างไรก็ตาม ทั้งสามอาณาจักรก็ไม่ได้อยู่ในสภาพของศัตรูกันอย่างถาวร โดยบางครั้งสองในสามอาณาจักรจะรวมตัวกันเป็นพันธมิตรกันและทำสงครามต่อต้านอีกอาณาจักรหนึ่ง
             ในปี พ.ศ. 1136 ซิลลาได้ทำข้อตกลงเป็นพันธมิตรกับราชวงศ์ถังของจีนซึ่งเพิ่งสถาปนาขึ้นไม่นาน จากนั้นราชวงศ์ถังได้ทำสงครามกับโกคูรยอเป็นเวลานับสิบปีแต่ก็ยังไม่อาจได้รับชัยชนะ ซึ่งในการรุกรานทุกครั้ง กองทัพจีนจะบุกจากทางเหนือเขาโจมตีโกคูรยอ ซึ่งหลังประสบความล้มเหลวหลายครั้ง ทางราชวงศ์ถังก็กำหนดแผนยุทธศาสตร์ใหม่ โดยจะเข้าโจมตีโกคูรยพร้อมกันทั้งจากเหนือและใต้ โดยทางใต้จะอาศัยกำลังพลจากซิลลาที่เป็นพันธมิตร อย่างไรก็ตาม การจะำเนินแผนนี้ได้ ทั้งราชวงศ์ถังและซิลลาที่เป็นพันธมิตร อย่างไรก็ตาม การจะดำเนินแผนนี้ได้ ทั้งราชวงศ์ถึงและซิลลาจำเป็นต้องกำจัดแพคเจเสียก่อน เพื่อกันไม่ให้กลายมาเป็นพันธมิตรของโกคูรอและเพื่อตั้งฐานกำลังสำหรับแนวรบที่สองในภาคใต้ของเกาหลี
           ปี พ.ศ. 1176 กองทัพพันธมิตร ถัง-ซิลลา ซึ่งมีรี้พลร่วมสองแสนนายเข้าโจมตีแพคเจและยึดเมืองซาบี เมืองหลวงของแพคเจ รวมทั้งจับตัวพระเจ้าอุยจา กษัตริย์องค์สุดท้ายของแพคเจรวมทั้งพระราชวงศืเกือบทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานจากนั้น ประชาชนทางภาคเหนือของแพคเจก้ได้ก่อกบฏต่อต้านการปกครองของต้าถังกับซิลลา ดดยแ่ทัพชาวแพคเจ ชือ บ็อคซิน ได้พยายามนำกองทหารเข้ายึดเมืองทั้งสี่สิบเมืองที่เสียไป กลับคือ ทั้งยังได้อัญเชิยเจ้าชายบูโยปังที่ประทับอยู่ที่ญี่ปุ่นมาเป็นประมุขของกองกำลังกู้ชาติและสถาปนาเจ้าชายขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ของแพคเจ
             แม้ว่ากองกำลังกู้ชาติจะประสบความสำเร็จในการต่อต้านกองทัพถังกับซิลลา ทว่าในปี พ.ศ.1205 ก็เกิดปัญหาภายในขึ้น อีกทั้งเมืองหลวงใหม่ที่ป้อมชูริวก็ถูกข้าศึกปิดล้อมและในระหว่างนั้นเองแม่ทัพบ็อคซินก็ถูกสังหาร แม้สถานะการกำลังสิ้นหวัง ทว่าแพคเจก็ยังเหลือพันธมิตรสำคัญอยูย นั้นคือ อาณาจักรยามาโตะแห่งญีป่นุ ซึ่งนับแต่อดีต แพคเจและราชวงศ์ยามาโตะได้มีความสัมพันธ์ในฐานะพันธฒิตรที่ยาวนานนับร้อยปี นอกจานี้พระราชวงศ์ทั้งสองฝ่ายยังมีความผูกพันทางสายเลือดกันด้วย ดดยชาวญี่ป่นุเาียกแค้วนแพคเจ่า คุดาระ ซึ่งการล่มสลายของซาบีเมืองหลวงของแพคเจ ทำให้บรรดาพระราชวงศ์ของยามาโตะตระหนกตกใจเป็นอันมาก พระจักรพรรดินโซเมอิและยุพราชนาการโนะโอเอะ (ซึ่งต่อมาคือ จักรพรรดิเทนจิ) ตัดสินพระทัยส่งกองทัพไปช่วยเหลือแพคเจฟื้นฟูอาณาจักร โดยทรงให้ อาเบะโนะฮราฟุเป็นปม่ทัพนำกองทัพจำนวนพล 42,000 นาย ข้ามไปยังคาบสมุทรเกาหลี
         
 ในการส่งกองทัพเข้าสู่แผ่นดินใหญ่ครั้งนี้ จักรพรรดินีไซเมอิทรงย้ายเมืองหลวงเป็นการชั่วคราวไปที่อาซาคุระซึ่งอยุ่ใกล้กับท่าเรือในภาคเหนือของเกาะคิวชู เพื่อทรงควบคุมการเคล่อนพล ทว่าหลังจากกองทหารยามาโตะชุดสุดท้ายเคลื่อนพลไปแล้ว พระนางก็สวรรคต องค์ยุพราชนากาโนะขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิเทนจิ
             ในเดือนสิงหาคม ปี 1206 แม่ทัพอาเบะโนะฮิราฟุ พร้อมเรือรบ 170 ลำและทหาร 5,000 นายได้าถึงเขตควบคุมของกองกำลังกุ้ชาติแพคเจ ก่อนที่กำลังทหารญี่ป่นุ 27,000 นายที่นำโดยคามิสึเคโนะคิมิวะคะโคะและกองทหารอีกหนึ่งหมื่อนายที่นำโดยโอะฮาระโนะคิมิจะมาถึงในต้นปี 1207
            ในปีต่อมา กองทัพเรือพันธมิตรแพคเจและยามาโตะได้เคลือนพบเข้าสุ่ภาคใต้ของแพคเจเพื่อทำลายการปิดล้อมป้อมชูริวของกองทัพซิลลา กองเรือยามาโตะส่งทหาราบขึ้นลบกเข้าสุ่ป้อมชูริวใกล้แม่นำ้เกอุม และสลายการปิดล้อมของข้าศึกได้ ทว่ากองทัพถึงได้ส่งทหาร 7,000 นายพร้อมเรือรบ 170 ลำเข้าสกัดกองหนุนของฝ่ายยามาโตะแม้กองทัพยามาโตะจะมีกำลังพลมากว่า แต่การที่แม่น้ำนั้นแคบทำให้กองเรือต้าถังสามารถรักษาที่มั่นของตนไว้ได้ ขณะที่ฝ่ายญี่ป่นุก็ได้ยกพลเข้าตีถึงสามครั้งแต่ก็ต้องลบ่าถอยออกมาทุกครั้งจนกำลังพลเริ่มอ่อนแอลง
              ฝ่ายกองทัพราชวงศ์ถังได้ฉวยโอกาสที่กองทัพข้าศึกอ่อนแรง เคลื่อพลรุกกลับอย่างฉับพลันและทำลายเรือรบญี่ป่นุลงไปเป็นอันมาก ทหารยามาโตะจำนนมากจมน้ำตายและถูกสังหารด้วยอาวุธนายทัยามาโตะ นามว่า อิชิชโนะตาคุสึ ถูกทหารจีนรุมสังหารสิ้นชีพในสนามรบ
              การรบครั้งนี้ ฝ่าย๊่่ป่นุสูญเสียเรือรบ 400 ลำ และกำลังทหารกว่ากนึ่งหมื่อนาย ในเวลาเดียวกัน ซิลลาก็ส่งกองทหารม้าเข้าตีกองทหารราบแพคเจที่กำลังรอกองหนุนจาทัพเรือยามาโตะจนแตกพ่ายและกองทัพซิลลาก็เข้ายึดป้อมชูริวได้สำเร็จในวันที่ 7 กันยายน ปีเดียวกัน กษัตริย์บูโยปังทรงลงเรือพร้อมผุ้ติดตามจำนวนหนึ่งหลบหนีไปโกคูรยอ
              "ยุทธการแบคกัง" เป็นความพ่ายแพ้ในการรบนอกประเทศ ครั้งใหญ่ที่สุดของญี่ป่นุในยุคโบราณ(ไม่นับการรุกรานเกาหลีของฮิเดโยชิในศตวรรษที่ 16) โดยนอกจากจะสูญเสียกำลังพลไปเป็นจำนวนมากแล้ว ยงเสียที่มั่นและพันธมิตรสำคัญบนแผ่นดินใหญ่เอเชียตะวันออกไปด้วย ส่วนอาณจักรแพคเจั้น ความพ่ายแพ้ในสงครามครั้งนี้ได้ดับความหวังทั้งมวลที่จะฟื้นฟูอาณาจักรอีกครั้ง ชาวแพคเจนำนวนมากได้ลีภัยไปอยู่ในโกคูรยอและบางส่วนก็ข้ามไปญีปุ่น
              สำหรับราชวงศ์ถัง ชัยชนะเหนือาณาจักรแพคเจทำให้พวกเขาได้ควบคุมพื้นที่เดิมของแพคเจและสร้างฐานทัพทางตะวันตกเฉียงใต้ของคาบมุทรเกาหลีเพื่อประสานกับซิลลาในการเข้ารุกรามโกครูยอ โดยกองทัพพันธมิตรซิลลา -ราชวงศ์ถังได้เข้ายึดกรุงเปียงยางเมืองหลวงของโกคูรยอได้ในปี 1211
 หลังจากพิชิตโกคูรยอลงได้ ราชวงศ์ถังกับซิลลาก็ขัดแย้งกันจนกลายเป็นสงคราม และแม้ว่ากองทัพซิลลาจะขับไล่ทหารจีนออกจากคาบสมุทรได้ ทว่าดินแดนเดิมของโกรุครยอส่วนที่อยุ่เหนือคาบสมุทรเกาหลีก็ถูกผนวกเข้ากับจีน ส่วนซิลลาได้ครอบครองส่วนที่เป้นคาบสมทุรเกาหลีทั้งหมดและถือเป็นการปิดฉากยุคสามก๊กแห่งเกาหลี          
           
 เมื่อสิ้นสุดสมัย 3 อาณาจักร อาณาจักรชิลลาถือว่าเป็นผุ้มีชัยบนคาบสมุทรเกาหลีทั้งหมด ในทางประวัติศาสตร์ถือว่า อาณาจักรชิลลาเป็นผุ้รวบรวมแผ่นดินเกาหลีให้เป็นผืนเดียวกันได้เป็นตรั้งแรกนับแต่ยุคสมัยดึกดำบรรพ์เป็นต้นมา จึงเรียกว่า "ยุคชิลลารวมอาณาจักร"
            ช่วงยุคสมัยนนี้นับจากปีที่อาณาจักรโคกูยอและอาณาจักแพ็กเจล่มสลาย ในความเป็นจริง อาณาจักรชิลลาไม่ได้ครอบครองดินแดนทั้งหมดไว้ ที่ครอบคลุมได้ทังหมดนั้นเพียงดินแดนทางตอนใต้เท่านั้นแม้แต่ดินแดนของโคกูรยอเดิม ชิลลาก็ไมด้มาเพียงบางส่วนเท่านั้น ไม่เพียงที่ต้องยกคาบสมุทรเหลียวดลให้กับจีน แต่ดินแดนทางเหนือจรดไปถึงแมนจูเลียตกอยู่ในการควบคุมของอาณาจักรเกิดใหม่อีกอาณาจักรหนึ่ง คือ อาณาจักพัลแฮ หรือ ป่อไห่ในชื่อภาษาจีน นักประวัติศาสตร์จึงจัดเป็นยุคอาณาจักรเหนือใต้ของเกาหลี
            หลังจากอาณาจักรพัลแฮถูกราชวงศ์เหลี่ยวตีจนแตกนั้นประชาชนพากันอพบยพลงใต้มาบริเวณอาณาจักรโคกุเรียวเดิม แล้วเชื้อพระวงศ์ของอาณาจักรพัลแฮก็สถาปนาอาณาจักรใหม่บริเวณอาณาจักรโคกุเรียวเดิม แล้วให้ชื่อว่า "อาณาจักรโคกุเรียวใหม่" และสภาปนาตนเองเป็นกษัตรย์..ส่วนชาวแพ็กเจที่อยู่ในอาณาจักรรวมชิลลาก็ได้ก่อกบฎต่ออาณาจักร มีหัวหน้าคือ คยอน ฮวอน แล้วตั้งถ่ินฐานที่บริเวณอาณาจักรแพ็กเจ เดิม แง้วไใ้ชือว่า "อาณาจักรแพ็กเจใหมส่" แล้วสถาปนาตนเองเป็นกษัตริย์..แล้วทำการก่อกบฎต่อาณาจักรวรรชิลลา ทำให้ชิลลาเกิดความระส่ำระส่าย จึงนับเป็นยุคสามอาณาจักรยุคหลัง
           วังฮุมา สถาปนาตนเองเป็นกษัตริย์แทโจแห่งราชวงศ์โคเรียว อาณาจักรนี้เจริญสูวสุดในสมัยกษัตรย์มทุนจง ยุคนี้เป็นยุคที่ส่งเสริมพระพุทธศาสนามีการทำสงครามกับพวกญี่ป่นุและมองโกล ถูกจีนควบคุมในสมัยราชวง์หยวน จนเมื่ออำนาจของราชวงศ์หยวนอ่อนแดลง อาณาจักรโครยอต้องพบกับปัญหาโจรสลัดญี่ปุ่นและการรุกรานของราชวงศ์หมิง ในที่สุดทำให้ฝ่ายทหารมีอำนาจมากขึ้นจนนำไปสู่การยึดอำนาจของนายพล อีซองกเย และสถาปนาราชวงใหม่ขึ้น คือราชวงศ์โซซ็อน ในสมัยนี้ส่งเสริมขงจื้อ ให้เป็นลัทธิประจำชาตและลดอิทธิพลพุทธศาสนา และประดิษฐ์ "อักษรฮันกึล"ขึ้นใช้แทนอักษรจีน ต่อมาอาณาจักรโชซ็อนได้ประกาศยกสถานะของรัฐจากราชอาณาจัรเป็นจักรวรรดิ และเปลี่ยนจากกษัตริย์เป็น จักรพรรดิ เพื่อให้ประเทศเป็นเอกราชจากจักรวรรดิชิง และยกสถานะของประเทศให้มีความเท่าเทียมกับจักวรรดิชิง และจักรวรรดิญี่ปุ่น แม้ว่าโดยพฤติการณ์แล้วสถานะของเกาหลีมไม่ได้เข้าข่ายการเป็นจักรวรรดิก็ตาม กระทั่้งถูกญี่ปุ่นเข้ายึดครอง ในปี พ.ศ. 2453 กระทั้งญี่ปุ่นแพ้สงครามในปี พ.ศ. 2488
         
                  - www.KomKid.com/ประวัติศาสตร์สังคม/ยุทธการแบคกัง(Battel of Baekgang) ปิดฉากสามก๊กเกาหลี
                  - http//th.wikipedia.org/../คาบสมุทรเกาหลี
           

วันพุธที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Why..East Asia Summit

              การประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออก ที่กรงุกัวลาลัมปอร์ในวันพุธนี้ ถือเป็นเหตุการณ์ประศาสตร์ ที่จะส่งผลสะเทือนต่ออนาคต และจะเกริกไกรเช่นเดียวกับการประชุมสุดยอดครั้งแรก ของผุ้นำกลุ่มสมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียนที่บาหลี เมื่อปี 1976  ในการประชุมครั้งนั้น อาเซียนมีเพียง 5 ประเทศ ( อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์  สิงคโปร์ และไทย) ยังไม่มีการรวมเป็น 10 ชาติ ที่รวมประเทศคอมมิวนิสต์ในอินโดจีนที่เพ่ิงอุบัติขึ้นเข้ามาด้วย
             ในปัจจุบันการที่จีนผงาดขึ้นมา อินเดียฟื้นต้ว และสหรัฐมที่ครองความเป็นเจ้าแต่ผุ้เดียวในย่านเอเชีย - แปซิฟิก มาตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 หายไปในการประชุมที่กัวลาลัมเปอร์ในครั้งนี้ ขั้ให้เห็นว่าเราได้มาถึงจุดบรรจบแห่งยุคใหม่แล้ว การปฐมฤกษ์แห่งการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ครั้งนี้ เกิดขึ้นหลังการประชุมสุดยอดครั้งที่ 11 ของอาเซียนในกรุงกัวลาลัมเปอร์ นับเป็ฯการเฉลิมฉลองการฟื้นตัวขึ้นมาอย่างกล้าแข็ง จากโรคเรื้อรังทางเศราฐกิจการคลังของเอเชีย จนกระทั่งนำมาซึ่งวิกฤตการณ์ างการเงินในเอเชีย ในช่วงปี 1997-98  ขณะที่สหรัฐถุกหันเปไปกับพันธะะกรณีที่ตัวมีต่ออีรัก
               ความแน่นแฟ้นของเอเชียตะวันออก  การประชุมสุดยอดในวันพุธนี้สำคัญเพราะเอเชียได้รเริ่มก้าวแรกออกำปจากคำนิยาาม และการจำกัดวงที่คับแคบทางเชื้อชาติและเผ่าพันธุ์ ออกไปสู่การสร้างรากฐานให้กับสถายันระดับภูมิภาคใหม่ ก่อนการปรุชม EAS จะเป็นการพบปะสุดยอดประจำปีของอาเซียน ในการนี้ผุ้นำอเาซียนแต่ละประเทศจะแยกพบปะกับคู่เจรจาจีน ญี่ป่นุ และเกาหลีใต้ ตามมาด้วยการประชุมสุดยอดอาเซียน +3
              การผนวกเข้ามาของอินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ รวมทั้งการปรากฎตัวของวลาดิเมียร์ ปูติน แห่งรัศเซีย สะท้อนให้เห็นการมองออกไปนอกตัวเอง แสดงว่ากลุ่มภุมิภาคเอเชียตะวันออกที่เกิดใหม่นี้ จะต้องใช้ครรลองของการมีส่วนร่วมจากทางอื่นด้วย(ในทางภูมิศาสตร์ อินเดีย รัศเซีย ออกเตรเลีย และนิวซีแลนด์ อยุ่นอกเอเชียตะวันออก) นายอเหลินเจีนเป่าของจีน เสนอจะจัด EAS ครังที่สอง คราวนั้น ศูนย์การวิทัตคงจะย้ายจากเอเชียอาคเนย์ ขึ้นไปทางเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมุมมองของอาเซียนอาจจะไม่ชอบนัก และอาจจะด้วยเหตุนี้ ที่นำไปสู่ความรปารถนาที่จะนำประเทศอื่นๆ ที่ีมีปฏิสัมพันธ์อันดีกับย่านนี้เข้ามาร่วมด้วย
               ความเป็นปฏิปักษ์กับที่นับวัเพ่ิมขึ้น ของจีนและญี่ปุ่น ความเป็นอริกันทำให้เอชียอาคเนย์เกรงว่า จะเกิดสงครามเย็นรอบสองขึ้นในย่านนี้อีก ทุกวันนี้ จึงยังกระตุ้มเตือนในคนในย่านั้นตะหนักถึงลัะิขยายอาณาจักรของญี่ป่นุ ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เสมอ โดยชี้ข้อเท็จจริงที่นายก ฯจุนอิชิโร่ โคอิสุมิ  ไปเยื่อศาลเจ้ายาสุกุนิ ซึ่งเป้ฯที่เก็บอัฐิของอาชญากรสงครามตชของญี่ป่นุ เป้นประจำทุกปี รวมทั้งการที่ญี่ป่นุไม่ให้ความสำคัญต่อการกระทำทารุณกรรมของตน ในสงครามครั้งนั้น ว่าญี่ป่นุยังไม่แสดงความสำนึกผิดต่อการกระทำของตนอย่างเพียงพอ
             
  ท่มีวิพากษืวิจารณืของจีนก่อให้เกิดปฏิกิริยาในญีปุ่่นอย่างรุนแรง ส่วนที่น่าเป้นกังงวลที่สุด ก็น่าจะเป็นพวกเยาชนจีนและญี่ป่นุที่ชาตินิยมเห็นได้ชชัดจากถือยตอบดต้กันที่รุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ในหมู่พวกพัวกระทิทั้งสองฝ่าย ในที่รปะชุมสัมมนาต่างๆ ทั้งในระดับภูมิภาคและรดับสากล ทั้งๆ ที่ความสัมพันธ์ทางเสณาฐกิจระหว่างประเทศทั้งสอง นับวันย่ิงผุกพันสนิทแน่นกันอย่างรวดเร็วยิงขึ้นไปอี ขณะที่สมาชิกต่างๆ ในอาเซียนมีประสบการณื ต้องใช้เวลานานถึง 4 ทศวรรษกวาจะปรองดอ
ย่านนี้ขึ้นมาเป้นสถาบันได้สำเร็จ ประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเแียงเหนือก็ยังคงเน้นอยู่แค่ความสัมพันธ์ระดับทวิภาคี กับการหารรือ ระดับพหุภาคีเพื่อแก้ปขกรณีพิพาทเป้นการเฉพาะเชนากรหารือ 6 ฝ่าย เพื่อถอดชนวนดครงการอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือ เป็นต้น
               กระนั้นก็ดีประเด็นที่ญี่ป่นุยังขอขาในเหตุการณืสงครา่มโลกครังที่ 2 ไม่พอ  ก็ยังประสานคลองจ้องกันไปทั้งภูมิภาค โดยเฉพาะย่างยิ่งเกาหลีใต้ และอาจจะทำให้ญี่ป่นุโดดเดียวตัวเองออกมามากขึ้น
               สหรัฐกับโอกาสเชิงรุก สำหรับสหรัฐ EAS  เป็ฯปัฐหาทางการทูตของตัวประการหนึ่ง ถคึงหรัฐจะเป็นคู่ค้าชั้นนำของทุกใน EAS และมีความสัมพันธ์ด้านความมั่นคงกับตัวละครสำคัญ เช่น ญ่ปุ่น แ่สหรัฐก็ยังหาเหตุเข้าประชุมคตรั้งนี้ไม่ได้  เพียงเพราะสหรัฐไม่ยอมรับสนธิสัญญามิตรไมตรีและความร่วมมือ ของอาเซียน ในปี 1976 ที่หวังจะ "ส่งเสริมให้เกิดสันติภาพที่ยั่งยืน มิตรไม่ตรีและความร่วมมือที่ถายรในหมู่ประชาชน (อาเซียน)ของตน อันจะนำมาซึ่งความเข้มแข็ง ความสาานฉันท์ และความสัมพันธ์อันใกฃล้ชิดยิ่งขึ้น" เมื่อพิจารณาจากกำหนดการเร่งด่วของทำเนียบขาว เกือบไม่น่าจะเป้ฯไปได้ ที่ปรธานาธิบดีสหรัฐฯ จะยอมตามคำหว่านล้อม เพื่อเดินทางไปเยือนกลุ่มประเทศ ทราน-แผซิฟิกเป็นประจำปี ห่างจากการประชุมเอเปค ไม่ถึง 1 เดือน ทุกวันนี้ ระบบพันธมิตรของสหรัฐในเอเชีย  ก็มีแค่เอเปค และชมรมภุมิภาคอาเซียน เท่านั้น แต่สหรัฐจะต้องกลับไปทบทบวน หาทางเข้าร่วม EAS ใหม่ เพราะต่อไปนี้ EAS จะกลายเป้นสวนหนึ่งของสถาบันในภูมิภาคนี้ไปแล้ว
             
 อเมริกายังเป้นกังวลอยุ่แต่การที่ไต้หวันจะถูกลดขึ้น ทำให้ตัวไม่ให้ความสำคัญต่อบทบาทริเร่ิมของจีน ที่จะขอจัดระชุมรัฐมนตรีต่างประเทศเอเปค ที่กรุงซานดิอเโก้ เประเทศชิลีในปี 2004  อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาว่าเอเชียตะวันออก กำลังผงาดขึ้มาเป้ฯสถาปนิกเขียนแบบความร่วมมือด้านความั่นคงในภูมิภาคนี้ ก็ย่อมเป็นผลประโยชน์ของสหรัฐเอง ที่จะต้องเปข้าไปสรับสนุนบทบาทางการเมืองและความมั่นคงของเอเปค ให้มากขึ้น การยกเครื่องเพิ่มพลังเอเปค แบบนี้ไม่จำเป็นต้องแข่งดกับ EAS หรือ APT หากควรประกอบส่วนำันไปมากกว่า การที่สถบันเหล่านี้จะมีสมาชิกภาพที่เหลือมซ้อนกันอยู่ ก็น่าจะใหญ่พอที่จะเป้นแกนเป็นศุนย์กลางของเอเชีย-แปซิฟิได้อย่างสบาย
                ขณะที่ตอนนี้ เอเปคมีผุ้อนวยการที่ต้องรับผิดชอบประเด็นด้านความมั่นคงนอแแบบ อาทิ เช่น การตอบโต้การก่อการร้าย และโรคระบาด เอเปคก็ควรพิจารณาแต่างตั้งผุ้อำนวยการ ทที่จะมาดูแลประเด็นเรืองการเมือง สังคม และความมั่นคงที่เกิดจากการต้า อาทิ เช่นสนองให้เกิดความมั่นคงที่เป็นลูกโซ่ ความปลอดภัยทางทะเล พลังงาน และสิ่งแวดล้อมขึ้นด้วย การอำเอเปคให้มีวาระที่กว้างขึ้น ก็น่านจะสอดคล้องกบการที่เอเปคเป้นสถาบันเดียวในเอเชีย-แปซิฟิก อันเป็นที่องค์ประชุมในระดับหัวหน้ารัฐบาลทั้งหลายใยบ่านนี้
                นักวิเคราะห์ชาวอเมริกันหลายคน รวมทั้งจอห์น มีอาร์ไวเมอร์ ประจำมหาวิทยาลัยชิคาโก้ ยังคงกังวลที่จะต้องไปเผชิญหน้ากับจีนที่ผงาดขึ้นมา และหมกมุ่นกับการสร้างควมสัมพันะ์กับประเทศชายเขตของจีน เพื่อถ่วงดุลจีน อาทิ เช่น ญี่ป่นุ อินเดีย และเวียดนาม... สำหรับ ARF ก็คลบ้ายๆ กัน การที่นางคอนโรีซซ่า ไรซ์ รมต.ต่างประเทศสหรัฐ ตัดสินใจไม่เข้เาร่วมการปรุมประจำปี ARF เป็นการกระทำที่ผิดพลาด แม้สไรัญจะต้องเผชิญความเสี่ยงในเอเชียตะวันออกมากว่า นดยบายของสหรัฐก็ยังคงเน้นอยุ่ที่ยุโรปเหมือนเดิม
                 ในช่วงสงครามเย็น  แม้จะใช้นโยบายไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด แต่เห็นได้ชัดว่าอาเซียนอยู่อยู่ฝ่ายตะวันตก ด้วยการเดินหมกทางการทูต เพื่อสถาปนาองค์การใรนระดับภูมิภาคแบบทวิภาคี ที่สลับซับซ้อนของจีน อาเซียนเร่ิมพัฒนความสัมพันธืที่ใกล้ชิดกับจีนากขึ้น ทั้งนี้ดดยนมองกันว่า เพื่อถ่วงดุลลัทะิฉายเดี่ยวของสหรัฐ สมาชิกใหม่ของอาเซียนบางประเทศ เช่น พม่า ลาว และกัมพูชาได้ประโยชน์จากความใจป้ำของจีนและช่วยผ่อนคลายความกังวลจีนในหมุ่อาเซียนด้วยกัน แต่สมาชิกดั่งเดิมของอาเซียนลบางประเทศ เช่นมาเลเซียกับไทยก็แห่ตามไปกับจีน
               สำหรับอาเซียนบางประเทศ ที่เห้ฯด้วยกับหลักการถ่วงดุลอำนาจในภุมิาภาค การเขียนพิมพ์เขียวด้วยมุมมองอกไปจากตัวและส่งเสริมให้ประพฤติปฏิบัติตามบรรทัดฐาน และบทบัญญัติระหว่างประเทศต่างๆ ย่อมเป็ฯที่น่าปรารถนามากว่าจะไปอยู่ใต้ศอกของมหาอำนาจชาิตหนึ่งชาติใดโดยเฉพาะ การที่สหรัฐปรากฎตัวในภูมิภาคนี้อย่างคึกคัก ย่อมจะช่วยรักษาอนาคตของภุิภาคแถบนี้ไว้ ดังนั้น ในปี ต่อๆ ไป สหรัฐก็ควรเข้าร่วมประชุมกับ EAS เพราะมันกำลังจะกลายเป(็นแกนหลัก ที่จถสถาปนาสถาบันแห่งเอเชียตะวันออกขึ้นมาโดยไม่ต้องสงสัย...(www.manager.co.th..."การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกสำคัญอย่างไร")

วันอังคารที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Kuala Lumpur Declaration on the East Asia Summit

               EAS ย่อมาจาก East Asia Summit หมายถึง การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก เกิดขึ้นากการประชุมสุดยอดอาเซียน + 3 เมื่อปี พ.ศ. 2547 ซึ่งผุ้นำอาเซียน +3 เห็นตรงกันว่าการจัดตั้งเอเชียตะวันออก EASเป็นเป้าหมายระยะยาวของกรอบอาเซียน + 3 และเห็นควรให้มีการจัดประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2548 ที่ประเทศมาเลเซีย โดยมี 16 ประเทศเข้าร่วมได้แก่ 10 ประเทศอาเซียน และ จีน ญี่ป่นุ เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
             มีการลงนามปฏิญากรุงกัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยการประชุมสุดยอดเอเชีย -ตะวันออก Kuala Lumpur Declaration on the East Asia Summit ซึ่งกำหนดให้ EAS เป็นเวทีสำหรับการหารือประเด็นทางยุทธศาสรตร์การเมืองและเศรษฐกิจที่เปิดกว้างและครอบคลุม
             การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก เป็ฯการประชุมระดับผุ้นำประเทศ ซึ่งเกิดขึ้นจากแนวคิดของอตีตนายกรัฐมนตรี มหาเธร์ บิน โมฮัมหมัดของประเทศมาเลเซีย ที่ได้เสนอแนวคิดจัดตั้งความร่วมมือทางเขตเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก East Asia Economic Caucus : EAEC ในปี 1991 ซึ่งจะเป็ฯการรวมกลุ่มเฉพาะประเทศเอเชียตะวันออกโดยไม่มีสหรัฐอเมริการรวมอยู่ด้วย เพื่อถ่วงดุลอำนาจหรัฐอเมริการนั่นเอง แต่แนวคิดนี้ไม่ได้รับการตอบสนองจากหลายประเทศ โดยเฉาพะญี่ปุ่น
             ต่อมาในปี 2002 ได้มีกลุ่มศึกษาเอเชียตะวันออกซึ่งจัดตั้งดดยกลุ่มประเทศอาเซียน +3 ทำรายงานให้มีการจัดประชุมสุดยอดขึ้นเป็นประจำของสมาชิกเอเชียตะวันออก โดยมีอาเซียนเป็นแกนำ และในการจัดประชุมนั้นจะต้องเชื่อมโยงกับการจัดการประชุมสุดยอดอาเซียนด้วย
             EAS ถือกำเนิดขึ้นในป 2004 จากการประชุมสุดยอดอาเซ๊ยน +34 และในปี 2005 มีสมาชิกมาร่วมอีก 3 ประเทศ รวมทั้งสิ้น 16 ประเทศ หรืออาเซียน + 6 โดยมีการลงนามและประชุมครั้งแรกที่กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ต่อมา ในการประชุมครั้งที่ 2 ปี 2007 ที่ประชุมได้เห็นชอบให้กำหนดสาขาความร่วมมือหลัก 5 สาขา ได้แก่ พลังงาน การศึกษา การเงิน และการจัดการภัยพิบัติไข้หวัดนก(ต่อมาได้ปรับเป็นประเด็นสาธารณะสุขระดับโลกและโรคระบาดในปี 2011) อีทั้งเห็นชอบข้อเสนอของญี่ปุ่นให้จัดตั้ง Economic Research Institute for ASEAN and East Asia : ERIA และจัดทำ Comprehensive Economic Partnership in East Asia : CEPEA การประชุม EAS ครั้งที่ 5 ในปี 2010 ณ กรุง ฮานอย ประเทศเวียดนาม ที่ประชุมได้มีมติรับประเทศสหรัฐอเมริกา และรัสเซีียเข้าเป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการ โดยประเทศทั้งสองเข้าประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกอย่างเป็นทางการในการประชุมครั้งที่ 6 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ในปี 2011 ปัจจุบันมีสมาชิกจำนวน 18 ประเทศ ประกอบด้วย ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซึีแลนด์ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย
              บทบาทสำคัญของ EAS คือ การประสานนดยบายระหว่างประเทศสมาชิกทั้งทางด้านเศราฐกิจ การเมืองและสังคม โดย เฉพาะอย่างยิ่งการผลักดันให้เกิดการจัดตั้งความตกลงเขตการต้าเสีเอเชียตะวันออก East Asia Free Trade Area : EAFTA และการจัดตั้งประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก East Asia Economic Community : EAEC ต่อไป
              การประชุม EAS ครั้งที่ 9 จัดขึ้น ณ กรุงเนปิดอว์ ประเทศเมียนมา ปี 2014 โดยประธานในที่ประชุม คือ ฯพณฯ U Thein Sein ประธานาธิบดีสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา มีผลการประชุมที่สำคัญบางประเด็น ดังนี้
              - ที่ประชุมได้รับรองเอกสารจำนวน 4 ฉบับ คือ ปฏิญญาการประชุมสุดยอเอเชียตะวันออก ว่าด้วยการปราบปรามการลักลอบค้าสัตว์ป่า, แถลงการณ์การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ว่าด้วยแนวทางในการตอบสนองอย่างเร่ิงด่วนต่อัยพิบัติ, แถลงการณืร่วมว่าด้วยการรับมือกับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสอีโบล่าของภุมิภาค และ แถลงการณ์การประชุมสุดยอเอเชียตะวันออกว่าด้วยความรุนแรงและความโหดร้ายที่เพิ่มขึ้นจากการกระทำขององค์องคก์การก่อการร้าย/หัวรุนแรง ่ในอิรักและซิเลีย
              - ในการประชุม EAS คงความเป็นเวทีหารือเชิงยุทธศาสตร์ระดับผุ้นำทีเปิดกว้าง โปร่งใส และครอบคลุม โดยมีอาเซียนเป็นแกนกลางในการขับเคลือน รวมทั้งส่งเสริมค่านิยมร่วมและแนวปฏิบัติ ที่เป็นสกล ตลอดจนหลักนิติะรรมและกำหมายระหวา่ประเทศ
             - มีการกระชับความร่วมมือใน 6 สาขาที่ EAS ให้ความสำคัญในลำดับต้น ได้แก่ การเงิน พลังงาน การจัดการภัยพิบัติ การศึกษา สาธารณสุข และความเชื่่อมโยง
             - สนับสนุนให้มีการจัดประชุมรัฐมนตรีคลัง EAS เป็นประจำทุกปี
             - การให้ความสำคัญกับความร่วมมือด้านการจัดการภัยพิบัติ
             - สนับสนุนข้อเสนอร่วมของออสเตรเลียและเวียดนาม ที่ตั้งเป้าหมายร่วมกันที่จะขจัดมาลาเรียให้หมดไปจากภุมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกในปี 2030
             - มีการแสดงความกังวลเกี่ยวกับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสอีโบลาและสนับสนุนความร่วมมือในเรื่องนี้ โดยหลายประเทศได้ให้ความช่วยเหลือทั้งในด้ารงบประมาณและอุปรากรณ์ทางการแพทย์
         
 - ประเด็นความมั่นคงทางทะเล โดยเฉพาะในบริบทสถานการณ์ในทะเลจีนใต้ ซึ่งมีประชุม ฯ ย้ำถึงการแก้ไขปัญหาด้วยการเจรจาอย่างสันติ โดยให้ความสำคัญกับการปฏิบัติตามกฎหมายระหว่างประเทศ การใช้ความยับยั้งชั่งใจไม่ดำเนินการใด ๆ ที่ทำใหสถานการณ์ทวีความตึงเครียดมากขึ้น และการเจรจาจัดทำแนวปฏิบัติในทะเลจีนใต้
            - ประเด็นปัญหาคาบสมุทรเกาหลี สนับสนนุให้มีการปฏิบัติตามข้อมติที่เกี่ยวข้องของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ รวมทั้งสนับสนุนความพยายามต่างๆ ที่จะทำให้กลับคืนสู่การเจรจา 6 ฝ่าย ที่ประกอบด้วย เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้ รัสเซีย จีน ญี่ป่นุ สหรัฐอเมริกา
            - ประเด็นปัญหาความรุนแรงจากกลุ่มก่อการร้ายในอิรักและซีเรีย Isalamic State of Iraq and the Levant : ISIL มีการเรียกร้องให้มีการปฏิบัติตามข้อตกลงของ UNSC และการส่งเสริมความร่วมมือเพือก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการ โดยสนับสนนุการแลกเปลี่ยนข้อมุลกันให้มากยิ่งขึ้น และการส่งเสริมความมั่นคงชายแดน..(www.aseanthai.ne... บทความพิเศษ "การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก : ประเด็นที่สำคัญบางประเด็นจากการประชุมครั้งที่ 9)

วันจันทร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

East Asean Summit : EAS

              การจัดการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก East Asia Summit : EAS ในปี พ.ศ. 2548 เป็นพัฒนาการที่สำคัญในความรน่วมมือเอเชียตะวันออกเนื่องจากเป็นการเปิดมิติใหม่ของความสัมพันธ์และความร่วมมือในภูมิภาคและมีการเปิดโอกาสให้ประเทศนอกภูมิภาคเข้ามามีส่วนร่วมด้วย ดดยประเทศอาเซียน + 3 ที่ผลักดันให้ประเทศนอกูมิภาคได้เข้าร่วมใน EASแม้จะมีเหตุผลแตกต่างกันไป แต่ก็มีเป้าหมายตรงกัน คือ ไม่ต้องการให้ EAS จำกัดอยู่เฉพาะแค่ประเทศอาเซียน +3เนื่องจากยังมีความหวาดระแวงกันเองทั้งที่จุดประสงค์ดั้งเดิมของ EAS จะเป็นวิวัฒนาการของการประชุมสุดยอดอาเซียน +3 ซึ่งจะจัดขึ้นเมื่อประเทศอาเซียน +3 มีความไว้เนื้อเชื่อใจกันมากพอ
             ปัจจุบัน EAS ประกอบไปด้วยสมาชิก 16 ประเทศ ซึ่งได้แก่ ประเทศอาเซียน +3 และประเทศที่เข้ามาใหม่ 3 ประเทศ ได้แก่ อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ซึ่งมักเรียกกันว่าอาเซียน +6 โดยในมุมมองของอาเซียน EAS จะเป็นเวทีใหม่อีกเวทีหนึ่งที่อาเซียนปรารถนาจะมีบทบา นำ แต่ในมุมมองของประเทศภายนอกอาเซียนโดยเฉพาะประเทศที่เข้ามาใหม่ทั้ง 3 ประเทศ EAS เป็นเวทีที่ประเทศทั้ง 16 ประเทศมีความเท่าเทียมกัน
           EAS จะเข้ามาแทนที่กรอบอาเซียน +3 หรือจะพัฒนาคู่ขนานกันไปจะทำให้ความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเข้มแข็งหรืออ่นแอลงเป็นสิ่งที่ต้องศึกษากันต่อไป อยางไรก็ดี EAS อาจเป็นผลดีต่อความร่วมมือในเอเชียตะวันออกในระยะยาวเพราะช่วยให้ความร่วมมือในเอเชียตะวันออกมีพลงัตมากขึ้น การที่เป็นเวทีความร่วมมือที่เปิดกว้างไม่จำกัดเฉพาะประเทศในเอเชียตะวันออกทำให้ EAS สามารถปรับตัวให้เข้ากับการปลี่ยนแปลงของโครงสร้างทางเศราฐกิจและการเมืองของโลกไ้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ ยังอาจใช้เป็นเครื่องมือสำคัญควบคุมจีน หากในอนาคตจีนมีท่าที่เปลี่ยนไปในทางที่พยายามจะแสดงอิทธิพลมากขึ้น ทั้งนี้ ในปัจจุบัน EAS มีการประชุมมาแล้ว 5 ครั้ง ในการประชุม EAS ครั้งที่ 5 ในเดือนตุลาคม 2553 ที่กรุงฮานอย ได้มีการออกเอกสาร Ha Noi Declaration on the Commemoration of 5th Anniversary of the EAS เพื่อแสดงเจตนารมณ์และพันธะทางการเมืองในการส่งเสริมควารมร่วมมือและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ EAS ต่อไป อย่างไรก็ดีกรอบอาเซียน +3 เป็นกรอบที่มีความเป็นไปได้มากว่า EAS เนื่องจากมีความร่วมมือที่มีความก้าวหน้าไปแล้วในหลายๆ ประเด็น

            ญีุ่่ปุ่นมีผลประโยชน์ทั้งทางเศราฐกิจและการเมืองอย่างสูงในการรวมตัวกันในเอเชียตะวันออก โดยการรวมตัวกันแบบ EAS (อาเซียน + 6 ) จะทำให้ประโยชน์ทางเศราฐกิจของญี่ป่นุเกิดขึ้นสูงที่สุด เนื่องจากจะมีการเติบโตทางเศราฐกิจสูงกว่าการรวมตัวในแบบอาเซียน +3 สำหรับด้านการเมืองการขัเคลื่อนประเด็นเกี่ยวกัยประชาคมเอเชียตะวันออกจะช่วยให้ญี่ปุ่นสามารถรักษาสถานภาพการมีบทบาทนำในภูมิภาคไว้ได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานภาพนำต่อจีนโดยญี่ปุ่นมองว่าการดำเนินนโยบายการต่างประเทศในประเด็นนี้ จะสามารถตอบสนองผลประดยชน์ของญี่ป่นุได้ใน 3 ประการ คือ 1. กระบวนการความร่วมมือนี้มีประโยชน์ในเนื้อหาสาระในตัวของมันเอง 2. การพบปะหารือกันแบบพหุภาคีเป็นโอกาศที่จะสามารถหารือในประเด็นอื่นๆ ที่นอกเหนือจากเรื่องประชาคมได้ทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี 3. เป็นโอกาสดีที่ญี่ปุ่นจะสามารถมีนโยบายต่อเอเชียอย่างรอคลุมเป็นครั้งแรกตั้งแต่สิ้นสุดสงคราดลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา
            ทั้งนี้ ญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะใช้เอเชียตะวันออกเป็นฐานเพื่อมีบทบาทในการปฏิรูรประบบการบริหารจัดการโลกเพื่อแก้ไขปัญหาการเกิดวิกฤตพลังงาน วิกฤติอาหาร และวิกฤติการเงินโลกในปี 2551 อย่างยั่งยืนตลอดจนเดื้อต่การสร้างระบบการบริหารจัการเศราฐกิจโลกใหม่ที่เหมาะสมขึ้นมา
            ญี่ปุ่นเน้นแนวทาง EAS (ASEAN +6 ) ที่มีออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดียเข้าเป็นสมาชิกด้ยโดยนโยบายและบทบาทของญี่ปุ่นมักจะขึ้นอยู่กับนโยบายและบทบาทของจีนในประชาคมเอเชียตะวันออกเป็นอย่างมาก หลายฝ่ายในญี่ปุ่นมองว่า เอเชียตะวันออกจะไม่สามารถพัฒนาเป็นประชาคมในลักาณะเดียวกับสหภาพยุโรปได้เพราะมีเงื่อนไขที่ต่างกันทั้งในเชิงสถาบันแลค่านิยมไม่ว่าจะเป็นการขาดองค์การระหว่างประเทศที่จะเป็นกลไกในการประสานความร่วมมือค่านิยมที่แตกต่างกันในประเด็นประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนตลอดจนความรุ้สึกชาตินิยมที่ยังคงเข้มข้นในหม่ชาติเอเชีย อย่างไรก็ตามเอเชียตะวันออกน่าจะสามารถรวมตัวกันได้ในลักษณะเฉพาะแบบเอเชีย ที่ผ่านมา ญี่ปุ่นยงขาดการบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประชาคมเอเชยตะวันออกเนืองจากการแบ่งแยกกันสูงระหว่างการทำงานของกระทรวงต่างๆ โดยนโยบายประชาคมเอเชียตะวันออกของญี่ผ่นุมุ่งเน้นไปที่การแก้ไขปัญหาความสัมพันธ์กับจนเป้ฯหลักโดยเฉพาะอย่างอยิ่งในสมัยนายกรัฐมนตรีจุอิจิโร โคอิสึมิ อย่างไรก็ดี หลังจากที่ญี่ปุ่นมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งใหญ่ หลังพรรคประชาธิปไตยญี่ปุ่นได้รับชัยชนะการเลือกตั้งทั่วไปเหนือพรรคเสรีประชาธิปไตยซึ่งเป็นรัฐบาลมายาวนานกว่า 50 ปี และนายยูกิโอะ ฮาโตยามา เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีดดยได้ประกาศอย่างแข็งขันที่จะผลักดันการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกทั้งยังได้กล่าวเชิญจีนให้มาร่วมมือกันสร้างประชาคมอยางแข็งขัน
           แสดงให้เก็นถึงท่าที่ใหม่ของรัฐบาลญี่ปุ่นในการดำเนินนดยบายการต่างประเทศศที่ให้ความสำคัญกับเอเชียมากยิ่งขึ้นโดยนายฮาโตยามาต้องการผลักดันการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์และความเจริญรุ่งเรื่องในภุมิภาค บนพื้นฐานของการเปิดกว้าง โปร่งใส และครอบคลุม และเน้นหลักการความเป็นพี่น้องกันเริ่มจากความร่วมมือด้านเศราฐกิจก่อน แล้วค่อยๆ ขยายไปในสาขาอืนๆ นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงการมีเงินสกุลเดียวกันอีกด้วย ทั้งนี้ นายฮาโตยามามิได้กล่าวถึงประเทศที่จะเป็นสมาชิกของประชาคมเอเชียตะวันออก แต่เป็นที่เข้าใจได้ว่าญี่ป่นุต้องการให้ครอบคลุมประเทศที่เข้าร่วมใน EAS แต่หลีกเลี่ยงที่จะกล่างถึงเรื่องจากไม่อยากจะเผชิญหน้ากับจีน ซึ่งมีท่าที่ที่ชดเจนว่าประชาคมเอเชียตะวันออกควรเร่ิมจากกรอบอาเซียน +3 ก่อน

          โดยในปี พ.ศ. 2553 สำนักเลขาะิการคณะรัฐมนตรีของญี่ป่นุได้เผลแพร่เอกสารเกี่ยวกับการดำเนินการในอนาคตเกี่ยวกับแนวคิดประชาคมเอเชียตะวันออก ซึ่้งเน้นการดำเนินการในก้านต่างๆ ได้แก่ 1) ด้านเศรษฐกิจโดยการส่งเสริมการจัดทำความตกลงเขตการต้าเสรี และหุ้นส่วนเศราฐกิจและการส่งเสริมการลงทุนในภูมิภาค และส่งเสริมความเชื่อมโยงในภูมิภาคด้านการแก้ปขปัญหาการเปลี่นแปลงสภาพภูมิอากาศ 2) ด้านการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศดดยเสนอที่จะแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยเสนอที่จะแก้ไขปัญหาด้วยการส่งเสริมให้มีกรใช้เทคโนดลยีที่ก้าวหน้าของญี่ป่นุรวมทั้งถ่ายทอดความรุ้แลประสบการณ์ของตนให้แก่ประเทศอื่นๆ 3) ด้านการป้องกันภัยพิบัติและโรคระบาดโดยเสนอให้มีการตั้งศูนย์ป้องกันภัยพิบัติแห่งเอเชียเพื่อเป็นจุดศูนย์กลางในการให้ความรุ้แลถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง และสร้างเครือข่ายเพื่อป้องกันและสร้างมาตรการในการรับมือกับโรคระบาด 4) ด้านความมั่นคงทางทะเล ดดยส่งเสริมการแก้ไขปัญหาโจรสลัด รวมทั้งส่งเสริมความมั่นคงและความปลอภัยทางทะเล 5) ด้านการศึกษาและวัฒนธรรม ดดยส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนบุคลากรทั้งนักเรียน เยาวชน และนักวิจัย
                ในกรอบอาเซียน + 3 ญี่ป่นุแสดงบทบาทแข็งขันไม่ว่าจะเป็นบทบาทในความร่วมือทางการเงินโดยเฉพาะในส่วนของข้อตกลงความริเริ่มเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี 2543 หรือการประกาศที่จะจัดทำความตกลงหุ้นส่วนทางเศราฐกิจระหว่างอาเซียนกับญี่ป่นุ ในปี 2545 เป็นต้น โดยในทางปฏิบัติ ญี่ปุ่นมีเครื่องมือทางนโยบายที่สำคัญอยุ่ 3 ประการ เพื่อผลักดันนโยบายและแสดงบทบาทของตน ได้แก่ 1) การจัดทำและใชบังคับ AJCEP ซึ่งเป็นความตกลงเชตการต้าเสรีระหว่งญี่ปุ่นกับอาเซียนซึญี่ป่นุถือว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญในการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกเนื่องจากมีส่วนในการส่งเสริมสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทสที่จะส่งผลต่อญี่ป่นุในการกำหนดกลยุทธ์ทางการทูตกับประเทศอื่นๆ เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการก่อตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก  2) การช่วยเสริมสร้างสมรรคภาพ ให้แก่ประเทศกำลังพัฒนาในอาเซียน ด้วยการให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนเพื่อลช่องว่าของระดับการพัฒนาในภุมิภาค ซึ่งที่ผ่านมาเป็นอุปสรรคต่อการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจและการรวมตัวกันฃของประชุาคมเอชียตวะันออกโดยญีปุ่นได้ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศต่างๆ ในอาเซียนโดยเฉพาะประเทศในอนุภุมิภาคลุ่มน้ำโขงในหลายรุปแบบ เช่น การพัฒนาสาธารณุปโภคและเทคโนดลยี การพัฒนการศึกษาและทรัพยากรบุคคล และการเสริมสร้างสมรรถนะ 3) ความร่วมมือด้านการเงินภายในภูมิภาค เพื่อสร้างเสถียรภาพของค่าเงินและเศราฐกิจในภูมิภาค เช่น นโยบายการทำให้เิงนเปยเป็นสากล ตลอดจนเพื่อตอบสองผลประโยชน์ของของญี่ปุ่นเองทั้งในสวนของภาคเอเชนและภาครัฐ เน่องจากการพึ่งพาอาศยทางเศราฐกิจระหว่างประเทศในภุมิภาคที่มีเครือข่ายการต้าการลงทุนของญี่ป่นุมีเป็นจำนวนมาก อีกทัี้งสถาบันการเงินของญี่ป่นุได้ปล่อยเงินกุ้จำนวนมหาศาลแก่ประเทศเหล่านี้เมื่อประเทศที่เป็ฯฐานการผลิตและลูกหนี้เวินกุ้ของญี่ปุ่นประสบวิกฤติ ญี่ป่นุก็ย่อมได้รับผลกระทบด้วยเชิ่นกัน ญี่ป่นุจึงต้องเข้าไปให้ความช่วยเหลือด้านการเงินเพื่อรักษาเสถียรภาพทางการเงินและกระตุ้มเศรษฐกิจของประเทศในภุมิภาค นอกจานี้ญี่ป่นุยังเล็งเห็นว่าการผูกติดค่าเงินสกุลต่างๆ ของเอเชียกับค่าเงินคอลลาร์สหรัฐไม่เป็นผลดีประเทศในภูมิภาคควรมทีกลไกช่ยเลหือตนเอง ดังนั้น การทำให้เงินเยนเป็นสกลจึงเป็นการทำให้เงินเยนเป็นเงินสกุลหลักที่ใ้ในธุรกรรมทางเศราฐกจิระหว่างประเทศซึ่งจะช่วยสร้างระบบลทางการเงินที่มีเสถียรภาพ ไมุ่กติดกับเงินสกุลเดียวและลดความเสี่ยงด้านเิงนทุนที่เป็นเงินสกุลต่างประเทศซึ่งจะเห็นได้ว่าญี่ปุ่นมีทั้งวิสัยทัศน์และบทบาทเด่นในการผลักดันการรวมตัวของเอเชยตะวันออกซึ่งบทบาทดังกล่าวย่อมเป็นการตอบสนองผลประโยชน์ของญีปุ่เองทั้งในส่วนของธุรกิจภาคเอกชน และภาครัฐที่ต้องการสร้างเกี่ยติภูมิขิงญี่ป่นุนประชาคมโลก แต่ในขณะเดียวกันถือได้ว่าบทบาทดังกล่าวจะก่อให้เกิดความเข้มแข็งทางเศราฐกิจอขงญีปุ่่นปละภูมิภาคในลักษณะผลประดยชน์ร่วมมือจากการพึงพาอาศัยกันระหวางประเทศในูมิภาค

            ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก ได้แก่ 1 นโยบายและบทบาทของญี่ปุ่และจีนในประเด็นการรวมตัวในภุมิภาคซึ่งต่างขึ้นอยุ่กับนโยบายและบทบาทของอีกฝ่ายหนึ่งเป็นอย่างมากโดยต่างฝ่ายต่างช่วงชิงบทบาทนำในการริเริ่มข้อเสนอต่างๆ 2. ทัศนะและท่าที่ที่แตกต่างกันของประเทศในอาเซียน +3 และความสนใจอย่างมากของประเทศภายนอกที่มีต่อความร่วมมืแอละการรวมตัวกันในเอเชียตะวันออก และ 3. ปัจจัยพื้นฐานของประเทศภายในภุมิาคซึ่งมีควาหลากหลายและแตกต่างกันมาก
           จากปัจจัยสำคัญข้องต้นการรวมตัวเป้นประชาคมเอเชียตะวันออกจะมีความแตกต่างจากสหภาพยุโรปที่มีการรวมตัวกันในเชิงลึกจนพัฒนาก้าวหน้าจนเป็นสหภาพทางการเมืองซึ่งเอเชียตะวันออกคงไม่สามารถเจริญรอยตามนั้นได้อย่างไรก็ตาม เอเชียตะวันออกจะรวมตัวและร่วมมือกันด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ เขตการต้าเสรี ความร่วมมือด้านการเงินและความร่วมมือเชิงหน้าที่ โดยท้ง 3 ส่วนนี้ มีพัฒนาการทีค่อนข้างดีในกรอบอาเซียน + 3 ซึ่งในปี 2550อาเซียน +3 ได้ออกแผนงานเพื่อความร่วมมืออาเซียน +3 ระหว่างปี 2550-2560 เพื่อกำหนดทิศทางในการเพิ่มความร่วมมือต่างๆ อีก้ดวยซึ่งเอเชียตะวันออกน่าจะมีการรวมตัวกันในลักษณะเฉพาะของัวเอง เนื่องจากยังมีความแตกต่างและข้อจำกัดอยู่มากแต่ก็ถือได้ว่า เป็นประบวนการความร่วมมือละภูมิภาคนิยมที่มีนัยสำคัญอันจะก่อให้เกิดประเดยชน์แก่ประเทศในภุมิาภคได้... ( บทความ "บทบาทของญี่ปุ่นในประชาคมเอเชียตะวันออกและนัยต่อประเทศไทย")

วันอาทิตย์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

ฺBuilding East Asia Economic Community

           การบูรณาการในเชิงลึกของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือ อาเซียน ยังไม่สามารถสร้างศักยภาพทางด้านการแข่งขันทางเศราฐกิจให้ทัดเทียมกับสหภาพยุโปห้อาเซียนจึงควรเริ่มต้านาร้างการบูรณาการในเชขิงกว้างอย่างจริงจังเป็นลำดับแรก โดยการขยายกรอบความร่วมมือไปสู่ ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวนออก เพื่อที่จะสามารถสร้างอำนาจต่อรองใเวทีเศรษฐกิจโลก ละสามารถพึ่งพากันและกันภายในภูมิภาคได้เองยามเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ทั้งนี้แนวทางการไปสู่การเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้น ต้องอาศัยการบูรณาการทางเศราฐกิจ เป็นตัวขัยเคลื่อน ต้องมีการจัดตังองค์กรที่มีกลไกในการดำเนินงานทางด้านเศราฐกิจและการเงินที่มีประสิทธิภาพ ตลาดจนถึงต้องสร้างจิตสำนึกในการเป็นประชาคมเศรษฐกิจและการเงินที่มีประสิทธิภาพ ตลาดจนถึงต้องสร้างจิตสำนึกในการเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก อย่างไรก็ดี หนทายงในการก้าวไปสู่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้นยังมีปัญหาอุปสรรคที่สำคัญอยู่หลากประการ ไม่ว่าจะเป็นปัฐหาความขัดแย้งของประเทศสมาชิก + 3 ปัญหาความเหลื่อมทางเศษฐกิจของประเทศสมาชิก ปัญหารการแย่งชิงความเป็นผุ้นำในระหว่างจีนและญี่ป่นุ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อการรวมกลุ่มในภุมิภาคซึ่งหากประเทศในภุมิภาคเอเชียตะวันออก และประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สามารถก้าวพ้นอุปสรรคปัญหาเหล่านี้ได้จะนำไปสู่การบูรณาการในเชิงลึกภายในภูมิภาคและระว่างภูมิภาคในด้านอื่นๆ ต่อไป
            ด้วยข้อจำกัดของสมาคมเศราฐกิจอาเซียน จากวิกฤตเศรษฐกิจ ค.ศ. 1997 ที่อาเซียนยังขาดความร่วมมือทางเศราฐกิจและกลไกทางการิงนที่มีประสิทธิภาพ ทำให้อาเซียนต้องหันไปขอความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นองค์กรที่ถูกควบคุมโดยชาติตะวันตก ส่งผลให้เมื่อประเทศในภูมิาคเอเชียและอาเซียนกุ้ยืมเงินจาก IMF แล้วต่างก็ถูกครอบงำทางเศรฐกิจจากชาติตะวันตก
            เอเชียตะวันออกต้องสร้างการบูรณาการที่เข้มแข็งและเป็นเอกภาพกว่าที่เป็นอยุ่โดยจะตองสร้างสำนึกร่วมกันและการเป็นเจ้าของร่วมกันที่มีจากภัยคุกคามทางวิกฤติเศราฐกิจด้วยกัน ดดยจะต้องมีการจัดตั้ง Asian Monetary Fund AMF เพื่อจะสามารถนำเงินกองทุนของเอเชียมาชวยเหลือประเทศเอเชียที่จะประสบกับปัญหาสภาพคล่องทางเศรษฐกิจ และเป็นการป้องกันไม่ให้วิกฤตการณ์ทางเศราฐกิจลุกลามเหมือนปี ค.ศ. 1997 ประกอบกับจะต้องผลักดันให้เกิดการรวมกันระหว่างเขตการต้าเสรีของจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ กับ AFTA เพ่อเป็นเขตการต้าเสรีเอเชีย
       
การเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก นั้นจะทำให้ภูมิภาคนี้กลายเป็นภูมิภาคที่มีศักยภาพทางเศราฐกิจที่ทัดเทียมกับสหภาพยุโรป สามารถที่จะพึ่งพาซึ่งกันและกันภายในภุมิภาคได้เอเงในยามที่เกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ
          การรวมกลุ่มที่สำคัญๆ ในภูมิภาคเอเชีย
          1. เอเปค APEC Asia Pacific Economic Cooperation เป็นองค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากการผลักดันของออสเตรเลียที่ต้องการสร้างพื้นที่บนเวทีเศราฐกิจของเอเชีย โดยมีวัตถุประสงค์พื่อเป็นเวทีในการหารือ แลกเปลี่ยน และสร้างความร่วมมือทางเศราฐกจิในภูมิภาค ซึ่งมีสามาชิกทั้งหมด 21 ประเทศ ที่มาจากหลากหลายภุมิภาคมีทั้ง เอเชีย ยุโรป โอเซียเนีย อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ จึงทำให้เป็นการยากที่จะสร้างความรุ้สึกร่วมกันของประเทศสมชิก อัน่งผลต่อการสร้างความเป็นประชาคมได้ เพราะแต่ละประเทศนั้นต่างก็มีความแตกต่างกันทั้งในด้านชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ที่ขาดความเป็นมาร่วมกัน ด้วยเหตุนี้จึงเป็นไปได้ยากในการที่จะสร้างการบูรณาการในเชิงลึกภายใต้กรอบความร่วมมือเอเปค..เอเปคกลายเป็นเวทีที่สหรัฐฯ เข้ามากดดันขยายอิทธิพลสมาบิกต้องยอมรับแนวทางของสหรัฐฯ และภายหลังวิกฤตเศราฐกิจเอเชีย เอเปคและสหรัฐฯ ไม่สามารถช่วยเหลือประเทศสมาชิกได้ ยิ่งไปกว่านั้น สหรัฐฯกลับเป็นแกนหลักในการต่อต้านแนวคิดการตั้ง Asian Monetary Fund AMF
           2. ACD Asia Cooperation Dialogue เป็นกรอบความร่วมมือที่เกิดึ้นจากการผลักดันของรัฐบาล ทักษิณ ชินวัตร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะให้เวทีในการสร้างความร่วมมือ และหารือกันในทางเศราฐกิจสำหรับภุมิภาคเอเชีย และหารือกันในทางเศราฐกิจสำหรับภุมิภาคเอเชีย ซึ่งโดยเมื่อพิจารณาถึงจำนวนสมาชิกของ ACD ในเอเชียทั้งหมดที่เข้ามาเป็นสมาชิกนั้นจะเห็นได้ว่า ACD มีสถานะเช่นเดียวกับ APEC ในประเด็นของการบูรณาการด้วยเหตุที่วาสมาชิกประเทศในเอเชียนั้นมีจำนวนรวมกันหลายสิบประเทศ และแต่ละประเทศถึงแม้ว่าจะมีความสัมพันธ์กันบ้างในทางด้านการต้าแต่ในด้านความร่วมมือทางเศราฐกิจนั้น ทั้งภุมิภาคเอเชียยังไม่มีการเชื่อมโยงความร่วมมือที่แนบแน่นและยาวนานทำให้ ACD ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ก็เนื่องจากว่า ACD นั้นเกิดมาจากความริเริ่มของไทย ซึ่งในมุมมองของประเทศเอเชียด้วยกันก็มองว่าไทยนั้นไม่มีศักยภพและอิทธิพลในการผลักดันและแสดงบทบาทนำบนเวที จึงส่งผลให้ไม่สามารถชักจูงประเทศในเอเชยเข้ามาร่วมมือภายใต้กรอบ ACD ได้อย่างจริงจัง
             APEC และ ADC เป็นกรอบความร่่วมมือที่มีข้อจำกัดอยุ่มาก เมื่อเปรียบเทียบกับการเป็นประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้น ในแง่ที่มองถึงความเป็ฯประชาคม นั่้นคือความรุ้สึกร่วมกันหรือความรู้สึกเป้นเจ้าของผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งผุ้เขียนเชื่อว่าจากประสบการณ์เกี่ยวกับวิกฤตเศราฐกิจทั้งในปี ค.ศ. 1997 และวิกฤตเศราฐกิจโลกในปัจจุบันจะสร้างในเอเชียตะวันออก ตระหนักถึงการปกป้องผลประโยชน์ทางเศราฐกิจร่วมกัน ดดยการสร้างการบูรณาการในเชิงบลึก คือ การมีเขตการค้าเสรีตะวันออกการเป็นตลาดร่วมการมีกลไกทางการเงินที่มีประสทิะิภาพ เช่น การมี AMF เพื่อแก้ไขปัญหาทางการเงินของภูมิภาค ส่วนในการบูรณาการเชิงกว้างนันมีความเห็นว่าจะต้องเริ่มจากรากฐานของ ASEAN +3 ..
           
  หากพิจารณาข้อจำกัดขงอการจัดตั้งประชาคมเศราฐกิจอาเซียนบนเวทีเศรษฐกิจโลกนั้นมีอยู่หลายประการ กล่าวคือ ศักยภาพเศรฐษกิจของประเทศสมาชิก โดยเฉพาะระหว่างกลุ่มสมาชิกดั้งเดิมกับกลุ่มสมาชิกใหม่ที่เข้ามาภายหลัง จอกจากนีการที่อาเซียนพึ่งพาตลาดนอกภูมิภาคเป็นส่วนใหญ่ส่งผลต่อการก้าวไปสู่การเป็นตลาดร่วมของอาเซียน ซึ่งอาจจะทำให้เป้าหมายในกาดำเนินการดัะงกล่าวมีความล่วช้าออกไป ทั้งนี้อาเซียนจะต้องเร่งสร้างกระบวนการบูรณาการทางเศราฐกิจ โดยแสวงหาความร่วมมือจากกลุ่มประเทศภายนอกขอบเขตของอาเซียนเอง โดยเฉพาะจากจีน ญี่ป่นุ และเกาหลี ซึ่งจะเป็นการบูรณาการทั้งเชิงกว้างและลึก เพื่อสร้างกลุ่มเศราฐกิจที่มีขนาดใหญ่ที่สามารถแข่งขขันบนเวทีเศราฐกิจโลกได้ ซึ่งแม้ว่าอาเซียนจะมีกรอบความร่วมมือในด้านเศราฐกิจกับประเทศจีน เกาหลี และยี่ปุ่น ภายใต้กรอบ ASEAN +3 หากแต่โครกงสร้างดังกล่าวก็ยังไม่มีศักยภาพเพียงพอที่จะชับเคลื่อนพลวัตรทางเศราฐกิจที่สามารถแข่งขันกับกลุ่มเศราฐกิจอื่นๆ บนเวทีโลกได้
               จากสถานการณ์ดังกล่าว การก้าวไปสุ่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกจึงเป็ฯอีกทางเลือกหนึ่งที่จะสร้างความเข้มแข็งทางเศราฐกิจให้แก่กลุ่มประเทศในภุมิภาค ดดยการจัดตั้งเขตการต้าเสรีเอเชียตะวันออก และการเป็นตลาดร่วมซึ่งนอกจากจะเป้นการเพ่ิมศักยภาพและอำนาจในการต่อรองแล้ว ยังเป็ฯการพึ่งพาซึ่งกันและกันภายในภูมิภาคได้เป็นอย่างด ดดยอาศัยกลไกการเงินที่มีประสิทธิภาพโดยผ่าน AMF ทั้งนี้การจัดตั้งประชาเศรษฐกิจเอเชียตะวันออกจะต้องสร้างความรู้สึกของการเป็นเจ้าของ
ร่วมกัน หรือความรุ้สึกร่วมมกันภายต้ภัยคุกคามจากวิกฤตเศรษฐกิจ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจหใ้แก่ประเทศสมาชิกอยากเข้ามามีส่วร่วมมากขึ้น อันจะเป็นพลังขึบเคลืื่อนองค์กรให้มีความเข้มแข็.และมีพลงัตรอย่างต่อเนื่องมิฉะนั้นแล้วแาจจะมีสถานภาพเช่นเดียงกับ APEC หรือ ACD ที่ไม่มีบทบาทเด่นชัดในทางปกิบัติ เนื่องจากประเทศสมาชิกขาดความรุ้สึกเป็นเจ้าของร่วมกัน จึงไม่มีแรงผลักดันในการสร้างความร่วมมือให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
                อย่างไรก็ดี การก้าวไปสู่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกนั้นจำเป้นต้องอาเศัยกรอบความร่วมมือ ASEAN + 3 เป็นพื้นฐานเหนื่องจากภายใต้กรอบความร่วมมือ ASEAN +3 นั้นมีกระบวนการพัฒนาที่จะนำไปสู่การจัดตั้งเขตการต้าเสรีเอเชียตะวันออก นอกจากนี้ภายใต้กรอบความร่วมมือ ASEAN +3 นั้นมีกลไกการดำเนินงานที่เปิดโอกาศใหผุ้นำประเทศ เจ้าหน้าที่ระดับสุง ตลอดจนคณะทำงานได้ร่วมประชุมเพื่อปรึกษาหารือถึงประเด็นสำคัญๆ ทั้งทางด้านการเมือง เศรษบกิจและสังคม อันเป็นสวนความสำคัญในการสร้างความเข้าใจระหว่างกันให้ดีขึ้น และนำหปสู่การปรับโครงสร้างภายในเพื่อรองรับการบูรณาการไปสู่ประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก
                 สำหรับแนวทางการบูรณาการทางเศรษฐกิจ นั้นปัจจัยสำคัญสองปะการที่เป็นตัวเร่งในการรวมตัวกันระหว่าง อาเซียนและ อาเซียนบวกสาม นั้นคือ แนวโน้มของวิกฤตเศราฐกิจดลกในปัจจุบันที่กำลังทวีความเลงร้ายจนกลายเป็นแรงผลักดันให้เกิดประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออกขึ้น และอีกประการคือ กระแสการรวมกลุ่มทางเศราฐกจิที่เป็นตัวเร่งให้ อาเซียนบวกสาม ต้องรวมกลุ่มกันให้แข็งแกร่งมากขึ้น เพื่อสร้างอำนาจต่อรองที่มีประสิทธิภาพ

         - "ความเป็นไปได้แลข้อจำกัดของการสร้างประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก" ,วรางคณา ก่อเกี่ยรติพิทักษ์.

             

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...