Korean Peninsula ( Six - Party Talks)

            เกาหลีใต้มีความพยายามที่จะรวมประเทศอย่างสัติตั้งแต่ พ.ศ. 2513 โดยเปิดการเจรจากับเกาหลีเหนืออย่างต่อเนื่อง เร่ิมจากการเจรจาระหว่างสภกาชาตฝ่ายต้กับฝ่ายเหนือเพื่อให้ครอบครัวที่พลัดพรากระหว่างสงครามได้พบหน้ากัน มีการออกแถลงการณ์ระหว่างสองประเทศเมื่อ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 เพื่อยุติการกล่าวร้ายระหว่างกัน แต่การเจรจาเพื่อรวมประเทศข้ามเขตปลอดทหารไปมาหาสู่กันได้ในช่วง 20-23 กันยายน พ.ศ. 2528 และการเจรจาเกี่ยวกับกีฬาโอลิมปิก พ.ศ. 2531 ที่กรุงโซลเท่านั้น การเจรจาเรื่องอื่นๆ หยุดชะงักลงหลัง พ.ศ. 2529 เนื่องจากเกาหลีเหนือไม่พอใจเกี่ยวกับการซ้อมรบระหว่างเกาหลีใต้กับสหรัฐอเมริกาซึ่งถือเป็นการขัดแย้งกับการรวมชาติ เกาหลีใต้พยายามประนีประนอมกับเกาหลีเหนือเพื่อการเจรจาจนมีการประชุมระดับผุ้นำครั้งแรกเมื่อ 4 กันยายน พ.ศ. 2533 จากนั้นมีการประชุมต่อมาอีกหลายอย่าง อย่างไรก็ตาม การรวมชาติเกาหลียังเป็นสิ่งที่ต้องรอคอยต่อปไจนกระทั่งปัจจุบัน

            นับตั้งแต่เกิดเหตุการตึงเครียดในคาบสมุทรเกาหลีเมื่ปฃลาปี 2545 หลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้ใช้ความพยยามเพื่อลอความตึงเครียดดังกล่าวดังนี้
             การเจรจา 3 ฝ่าย จีนได้รับการ้องของจากสหรัฐฯ ให้จัดการเจรจา 3 ฝ่าย ระหว่าง สหรัฐฯ เกาหลีเหนือ และจีน ขึ้นที่กรุงปักกิ่ง เมื่อ 23-25 เมษายน พ.ศ. 2546 แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ เนื่อจากเกาหลีเหนือได้ตั้งข้อเรียกร้องต่างๆ ซึ่งสหรัฐฯ เห็นว่าเป็นการข่มขู่สหรัฐฯ
             การเจรจา 6 ฝ่ายรอบแรก จีนได้จัดให้ีการเจรจา 6 ฝ่าย รอบแรกขึ้นที่กรุงปักกิ่งเมื่อ 27-29 สิงหาคม พ.ศ. 2546 โดยมีสหรัญฯ เกาหลีเหนือ จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และรัศเซีย เข้าร่วมแต่ไ่มีความคืบหน้า เนื่องจากทั้งสองฝ่ายไม่มีท่าทียือหยุ่นและผ่อนปรนจุดยืนของตน สหรัฐฯต้องการให้เกาหลีเหนือล้มเลิกโครงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์โดยทันที่ก่อน ส่วนเกาหลีเหนือก็เสนอข้อเรียกร้องต่างๆ ได้แก่
           1. ให้สหรัญฯ จัดหาน้ำมันและอาหารให้แก่เกาหลีเหนือ
           2. ให้มีการจัดทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกัน
           3. ให้มีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างเกาหลีเหนือกับสหรัฐฯ และเกาหลีเหนือกับญี่ปุ่่น และ
           4. ให้ดำเนินการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2 แห่งที่สหรัฐฯ สัญญาจะสร้างให้
       
 การเจรจา 6 ฝ่ายรอบสอง จัดที่กรุงปักกิ่ง เมื่อ 25-28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 สหรัฐฯต้องการให้เกาหลีเหนือล้มเลิกด้วยการทำลาย โครงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์จากแร่พลูโตเนียมและแร่ยูเรเนียมอย่างสิ้นเชิง ตรวจสอบได้และหวนกลับคืนไม่ได้ แล้วสหรฐฯกับทุกฝ่ายจึงจะร่วมกันดูแลความมั่นคงปลอดภัยให้แก่เกาหลีเหนือ รวมทั้งให้ควมช่วยเหลือทาางเศราฐกิจและพลงงานส่งนเกาหลีเหนือต้องการสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเกาหลีเหนือกับสหรัญฯ หรือหลัักประกันจากทั้ง 5 ฝ่าย โดยคาดหวังว่าจะได้รับความช่วยเหลือด้านต่างๆ เป็นการตอบแทน ทั้ง 6 ฝ่ายได้จัดตั้งคณะระดับทำงาน
           การประชุมคณะระดับทำงานครั้งที่ 1 จัดขึ้นเมื่อ 12-14 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ที่กรุงปักกิ่ง โดยไม่มีความก้ายหน้าที่สำคัญมากนักเนื่องจากท่าที่ของสหัรฐฯและเกาหลเนือยังคงแตกต่างกันมาก การประชุมคณะระดับทำงานครั้งที่ 2 การเจรจา 6 ฝ่ายรอบสามีขึ้นระหว่าง 21-22 และ 23-26 มิถุนายน 2547
            การเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่สาม จัดที่กรุงปักกิ่งเมื่อ 23-26 มิถุนายน 2547 โดยได้มีความคืบห้า 3 ประการคือ
            1. จีนในฐานะประธานการเจรจาได้ออกคแถลงของประธาน มีเนื้อหาโดยสรุปคือ ทั้ง 6 ฝ่ายเน้นย้ำความจำเป็ฯในการดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอนของถ้อยคำต่อถ้อยคำและกากระทำต่อกากระทำ ในการหาแนวทางการแก้ปัญหาประเด็นอาวุธนิวเคลียร์
            2. กำหนดให้มีการประชุมคณะระดับทำงารนครั้งที่ 3 โดยเร็วที่สุด และ
            3. กำหนดให้มีการเจรจา 6 ฝ่ายรอบสี่ภายในเดือนกันยายน พ.ศ. 2547 เพื่อกำหนดขอบเขต ระยะเวล การตรวจสอบ และมาตการที่สอดคล้องกัน ในการดำเนินกำารรในขึ้นตอนแรกของการทำลายโครการพัฒนาอาวุธนิวเคียร์
             นอกจากนีั้ สหรัญฐฯ ได้ยื่อข้เสนแ 5 ประการแก่เกาหลีเหนือเพือ่เป็นากรตอบแทนที่เกาหลีเหนือระงับโครงการอาวุธนิวเคลียร์ ได้แก่
             - ช่วยเหลือด้านน้ำมันเชื้อเพลิง
             - ค้ำประกันเฉพาะกาลด้านความมั่นคง
             - ช่วยเหลือด้านพลังงานในระยะยาว
           
 - หารือกับเกาหลีเหนือโดยตรงเพื่อยกเลิการควำ่บาตทางเศราฐกิจและถอนเกาหลีเหนือออกจากบัญชีรายชื่อประเทศก่อการร้ายและ
             - ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์นิวเคียร์ในช่วง 3 เดือนซึ่งเป็นขั้นการเรียมการ ไปสู่กระบวนการขจัดอาวุธนิวเคียร์ในเกาหลเหนือ
              การเจรจา 6 ฝ่ายรอบสี่ การเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่ 4 ระยะที่ 1 วันที่ 26 กรกฎาคม - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2548 มัพัฒนาการที่สำคัญ ได้แก่ ด้านสารัตถุ ทุกฝ่ายสามารถบรรลุความเห็นชอบในหลักการร่วมกันใน Joint Statement ซึ่งจะเป็นเอกสารที่ก่อให้เกิดเจตนารมณ์ทางการเมืองร่วมกันและนำสู่การปฏิบัตเพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดในการทำให้คาบสมุทรเกาหลีเป็นเชตปลอดอาวุธนิวเคียร์ ด้านกลไก การเจรจาครั้งนี้เปิดให้สมาชิก 6 ฝ่ายพบหารือทวิภาคีเพื่อรปับท่าทีที่แตกต่างกน ดดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐฯ และเกาหลีเหนือได้พบกัน หารือทวิภาคกันมากกว่า 10 ครั้ง อยางำรก็ตาม การเจรจาครั้งนี้ต้อง recess เนื่องจากสหรัฐฯและเกาหลีเหนือยังมีท่าทีที่แตกต่างกันโดยสหรัฐฯย้ภว่าเกาหลีเหนือต้องยกเลิกโครงการนิวเคลียร์ทั้งหมด ขะที่เกาหลีเหนือ เห็นว่าโครงการนิวเคียร์เพื่อกิจการพลเรือนและากรใช้นิวเคลียร์อย่างสนติเป็นสิทธิอันชอบธรรมของรัฐอธิปไตย
              การเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่ 4 ระยะที่ 2 เร่ิมขึ้นระหว่างวันที่ 13-19 กันยายา 2548 โดยทั้ง 6 ฝ่ายได้ออกคำแถลงร่วม ซึ่งมีสาระสำคัญ ได้แก่
             - สมาชิกทั้ง 6 ฝ่ายยืนยันอย่างเป็นเอกฉันท์ถึงเป้าหมายของการเจรจา 6 ฝ่าย คือ กา่ทำให้คาบสมุทรเกาหลีปลอดอาวุธนิวเคียร์โดยสันติวิธี และสามารถตรวจสอบได้
             - สมาชิกทั้ง 6  ุ ฝ่ายเคาพรเป้าหมายและหลักากรของกฎบัตรสหประชาชาิและยอมรับบรรทัดฐานของการดำเนินความสมพันธ์ระหว่างประเทศในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างกัน
             - สมาชิกทั้ง 6 ฝ่ายจะส่งเสริมความร่วมมือด้านเศราฐกิจในสาชาพลังงาน การต้าและการลงทุน ทังใรกรอบทวิภาคและพหุภาคี
             - สมาชิก 6 ฝ่ายเห็นขอบที่จะจัดการเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่ ถ ที่กรุงปักกิ่งในต้นเดือนพศจิการยน 2548 โดยจะหารือเกี่ยวกับกำหนดวันต่อไป
               การเจรจา 6 ฝ่ายรอบ 5 การประชุมเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่ 5 เร่ิมขึ้นเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2548 โดยมีกำหนดระยะเวลา 3 วัน ก่อนที่จะมีการหยุดพักชั่วคราว เพื่อให้คณะผุ้แทนไปเข้าร่วมประชุม APEC ที่เมืองปูซาน ประเทศเกาหลีใต้ ประเด็นหลักในการเจรจาครั้งนี้ คือ การหารือในรายละเดียดของข้อตกลงร่วมที่สมาชิกทั้ง ุ6 ฝ่ายได้ตกลงกันไว้ในการเจรจารอบที่ 4 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 ได้แก่
               - การยกเลิกโครงการอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือ
               - การปรับความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯกับเกาหลีเหนือ
               - ความช่วยเหลือด้านพลังงานเกาหลีเหนือ

                               - https//th.wikipedia.org/../คาบสมุทรเกาหลี, ประวัติศาสตร์เกาหลี
         

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)