วันอาทิตย์ที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Korean Peninsula

             ความเคลื่อนไหวของสหรัฐอเมริกาและเกาหลีเหนือ ต่อสถานการณ์ในคารบสมุทรเกาหลีส่งผลให้ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่กรุงมะนิลา ฟิลิปปินส์ ต้องกมาหยััิบยกขึ้นมาหารือเป็นกรณ์พิเศษ โดยที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาซียน ได้ออกแถลงการณ์แยกต่อกรณีความตึงเครียดบนคาบสมุทรเกาหลี โดยแสดงความวิตกกังวลอย่างยิ่งต่อความตึงเครียดที่เพ่ิมสูงขึ้น รวมถึงการทดสอบนิวเคลียร์และการทดสอบขีปนาวุธของเกาหลี่เหนือ
           
อาเซียนเห็นว่าความไม่มั่นคงบนคาบสมุทรเกาหลีส่งผลกระทบอยางยิ่งต่อภูมิภาคและโลก และของเรียกร้องอย่างจริงจังให้เกาหลีเหนือ ปฎิบัติตามพัธกรณีที่มีต่อข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ และกฎหมายระหว่างประเทศเพื่อคงไว้ซึ่งสติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และาียกร้องให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องใช้ความอดทนอดกลั้น พร้อมสนับสนุนให้คาบสมทุรเกาหลัีเป็นเขตปลดออาวุธนิวเคลียร์และขอให้หันกลับไปสูการพูดคุยเพื่อลอความตึงเครียดบนคาบสมุทรเกาหลี
            แต่ไม่ว่าความตึงเครียดจะรุนแรงแค่ไหน นักวิชากรด้านความมั่นคงก็มั่นใจว่า จะไม่บานปลายกลายเป็นสงครามขนาดใหญ่ หรือ สงครามโลกครั้งที่ 3 โดยให้เหตุผลว่า ปัจจัยที่จะทำให้เกิดสงครามขนาดใหญ่ คือ ประเทศมหาอำนาจต่อสู้กัน นที่นี้ คือ สหรัฐฯ กับ จีน แต่ปัญหาก็ยังไปไม่ถึงขขั้นนั้น เว้นแต่เกาหลีเหนือถูกบีบจนหลังชนฝา แล้วยิงจรวดใส่เกาหลีใต้ หรือ ญี่ปุ่น ที่อาจทำให้สหรัญฯ กับจีน ซึ่งหนุนหลังแต่ละฝ่าย ออกมาเผชิญหน้ากันได้ ถ้าเป็นเช่นนั้นจึงจะทำให้เกิดสงครามขนาดใหญ่...
           เ่กาหลีเหนือภายใต้การนำของผุ้นำสูงสุ คิม จองอึ ได้แกสดงความแข็งกร้าวมากขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่ดำรงตำแหน่งแทนบิดาเมือปีกว่าที่ผ่านมา ตลอดเวลาประชุาคมโลกมีความหวังว่าผุ้นำหนุ่มที่สุด (อายุ 32 ปี) ในโลกคนนี้จะนำเกาหลีเหนือไปสู่มิติการเมือง เศราฐกิจสังคมใหม่ รวมทั้งเชื่อว่าผุ้นำรุ่นที่สามคนนี้ มีการศึกษาในต่างประเทศมาก่อน น่าจะมีความรู้แลความเข้าใจในสังคมทันสมัยและมีเศราฐกิจเจริญก้าวหน้า พัฒนาประเทศ ทำให้ประชุาชนมีชีวิตที่ดีขึ้น
           ในปัจจุบัน นักวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ทั่วโลกปวดหัวมา ไม่สามารถเข้าใจถึงควมต้องการของ คิม จองอน ลึกๆ เขาต้องการอะไรกันแน่ ที่ผ่านมามีเหตุการ์ล่เเหลมเกิดขึ้นมาตลาด ล้วนชี้ไปทางเดียวว่า ผุ้นำคนี้ไม่มีความคิดต้องการเห็นสันติภาพในคาบสมุทรเกาหลีอย่างแน่นอน ทไใ้ผุ้นำเกาหลีใต้และชาติอื่นๆ เป็นห่วงมาก
            เมื่อต้นเดือนเมษายน กองทัพของสองเกาหลีได้มีการยิงปะทะกันอ้วยปืนใหญ่ ถึงแม้ว่าจะไม่ได้ร้ายแรงอะไร แต่เหตุการณืครั้งนี้สร้างความตระหนกตกใจต่อหลายประเทศในภูมิภาคว่า ในขณะที่ประชุาคมโลกกำลังเผ้าดูสถานกาณ์ในไครเมีย และการใช้กองกำลังเช้ายึดครองพื้นที่ของยูเครน เกาหลีเหนืออาจจะทดสอบความพร้อมทางด้านกำลังรบของเกาหลีใต้อีกครั้ง
              เมื่อเร็วๆ นี้ ปรธนาธิบดี ปักกัน เฮ ได้เสนอแยการจะรวมสองเกาหลีในอนาคตโดยใช้แนวทางสันติภาพ ปฏิญาณเดรสเดน บ่งชัดว่าการวมสองเกาหลี่นั้นจะค่อยๆ เป็นค่อยๆ ไป โดยเริ่มจากให้วามช่วยเหลือ ทางด้านมนุษยธรรม ซึ่ง ทางเกาหลีไใต้ได้ให้ความช่วยเหลือด้านนี้มาดดยตลอด ตามด้วยความร่วมมือทางด้านเศราฐกิจ การพัฒนาอุตสาหกรรมและการร่วมมือระหว่างสองระบบเศรษฐกิจเกาหลีทำให้สองเกาหลีเข้ารวมตัวกันง่ายขึ้น โดยเฉพาะการลดช่องวางเสษบกิจระหวางกัน ส่วนเสาหลักสุดท้ายอยู่ที่สัมพันธ์ประชุาชนต่อประชาชน คนเกาหลีเป็นจำนวนมากถูกแยกห่างออกจากัน เนื่องจากสงครามเกาหลีปละความแตกต่างทางด้านการเมือง
              ฝ่ายเกาหลีเหนือไม่ได้แสดงความยิดีอะไรต่อข้อเสนแเกาหลใต้ ผู้นำเกาหลีเหนืออาจจะผิดหวังก็ได้ เพราะลึกๆ เกาหลีเหนือต้องการให้เกาหลีใต้ยกเลิกการห้ามทำธุรกิจท่องเที่ยวกับเกาหลีเหนือ ที่ผ่านมาผุ้นำเกาหลีเหนือมักใช้วิธีข่มขู่เกาหลีใต้และญี่ป่นุเพื่อเาอมาเป็นอำนาต่อรองในการขอเพิ่มคามช่วยเหลือทางมนุษยธร
              พฤติกรรมของผุ้นำเากลีเหนือที่ในช่วงยี่สิบปีที่ผ่านมาจะพบว่ามีวิธีกาแบเดียวกันคือ หนึ่งเข้าร่วมการเจรจา 6 ฝ่าย หลังมีข้อตกลงกันแล้ว จะมีการละเมิดข้อตกลง ต่อด้วยการยั่วยุสหรัฐอเมริกา ญี่ป่น และเกาหลีใต้  เพื่อมความตึงเครียดหลังจากนั้นไม่นาน จมีท่าที่อ่อนลง เข้าสู่โต๊ะเจรจาอีก เหสร็จแล้วก็จะพบกับสถานการณ์เดิมซึ่งถือว่าเป็นยุทธศาสตร์ซื้อเวลาที่ได้ผลตอนนี้ คิม จองอึน ต้องนำเกาหลีให้รอด เพราะเศรษฐกิจภายในประเทศตกต่ำมาก
           
ปัจจุบันนี้มีความพยายามจะรื้อฟิ้นการเจรจา 6 ฝ่ายที่ได้หยุดชะงัไปแล้วตั้งแต่ปี 2009(2552) เกาหลีเหนือไม่ยอมเข้าร่วมการเจรจาเพราะถูกองค์การสหประชุาชาติโดดเดียวางด้านการต้าและการคลัง ช่วงหลัง อาเซียนเร่ิมให้ความสนใจ เนืองจากคู่กรณีในการเจรจาหกฝ่ายล้วนเป็นสมาชิกในเวที่การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นความมั่นคงในเอเซีย-แปซิฟิก หรือ เออาร์เอฟ นั่้นเอง ปรากฎว่า สมาชิกมนวงเจรจาหกฝ่ายยังไม่มีประชามติในเรื่องนี้ ฝ่ายอเาซียนเชื่อว่า องค์กรตัวเองมีศักยภาพในการชักจูงให้เกาหลีเหนือเข้าสู่โต็ะเจรจาได้
              นอกจากนั้นมิตรภาพจีนและเกาหลีใต้ดีขึ้นมา การต้าการลงทุนในช่วงสาม-สีปีที่ผ่านมาเพ่ิมสูงขึ้น นักท่องเที่ยวจีนและเกาหลีไปมาหาสู่กันกว่าสามล้านคนต่อปี ทางอาเซียนเห็ว่า ถ้าจีนและเกาหลีได้สนับสนนุท่าที่อาเซียน การเจรจาหกฝ่ายอาจจะเพ่ิมขึ้นอีกหนึ่งเจ้าคือ อาเซียน นั่นเอง....
               ที่ประชุมอาเซียน-สหรัฐฯ ตระหนักถึงความจำเป็นในการ่วมมือต่อต้านภัยก่อการร้าย ขณะทีอ่าเซียนใช้ เวทีแสดงจุดยือนเดิมต่อความขัดแย้งในคาบสมุทรทรเกาหลีโดยย้ำให้เกาหลีเหนือ ปฏิบัติตามกฎของสหประชาชาติ และร่วมกันแก้ปัญกาด้วยความสันติ..
               ในการประชุมสุถยอดผุ้นำอาเซียนครั้งที่ 30 และการประชุมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นการบพกันครั้งแรกของผุ้นำอาเซียนในปีนี้ ซึ่งเป็นคร้้งแรกที่ิลิปปินส์ตามมาด้วยการประชุมผุ้นำอาเซียนกับประเทศคุ่เจรจากในปลายปีีซึ่งจะเป็นการประชุมผุ้นำที่เหใญ่กว่านี้มาก เนื่องจากผุ้นำของประเทศคู่เจรจาของอาเซียนจำนวนมากจะเดินทางมาเข้าร่วมประชุมกับผุ้นำอาเซียนถึงประะานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ของสหรัฐฯที่ประกาศชัดเจนแล้วว่าจะพบปะกับและเข้าร่วมหารือกับผุ้นำอาเวียนในปลายปีนี้ด้วย
               ก่อนหน้าดูเหมือนสหรัฐภายใต้การนำของประธานาธิบดีทรัมป์จะไม่เเสดงท่าที่ชัดเจนว่าจะหใ้ความสำคัญกับภูมิภาคเอเชียในระดับใด หลังจากสิ้นสุดยุคของรัฐบาลสหรัฐภายใต้การนำของอดีตประธานาธิบดีบารัค ดอบามาที่ประกาศนโยบาย "ปักหมุดเอเชีย" หรือหันกลับมาให้ความสำคัญกับเอเชียอีกครั้งหนึ่งเพื่อลอทอนอิทะิพลของจีนในภุมิภาคนี้
                อย่างไรก็ดีการประกาศว่าปรธานาะิบดีทรัมป์จะมาร่วมประชุมสุดยออาเซีย ครั้งที่ 31 และการประชุมสำคัญอื่นๆ ที่จะมีขึ้นในช่วงปลายปีในทางเหนึ่งก็สะท้อนไให้เก็นว่ารัฐบาลสหรัฐชุมปัจจุบันตระหนักแล้วว่าแม้จะยังงยคึดนโยบาย "อเมริกาต้องมก่อน" เป็นแก่นแกนในกาดำเนินงานทุกด้านแต่สหรัฐในฐานะที่เป็นมหาอำนาจของโลกก็ไม่อาจตคัดขาดนเองออกจากโลกได้ และสกรัฐยังคงต้องแสดงบทบาทนำหนหลารยๆ ด้าน ซึ่งแน่นอนว่าการดำเนินนโยบายต่างประเทศที่สมดุลก็เป็นส่ิงที่สกรัฐต้องยึดมั่นต่อไป
                สิงที่สะท้อนให้เก็นว่าสรัฐกลับมาให้ความสำคัญกัอเชียและอาเซียอีกครั้งแม้จะยังต้องจับตาดูแลประเมินสถานการณืกันต่อไปก็คือการที่นายเร็กซ์ ทิลเลิร์สันรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัญ ได้เหชิญรัฐมนตรีต่างประเทศอาเวียน ให้ไปพบปะหารือสมัพิเศษทกันที่กรุงวองชิงตัน ดี.ซี. ในันที่ 4 พฤษาคมนี้ ซึ่งนายดอน ประมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าดารกระทรวงการต่างประเทศระบุว่า เ็นการไปหารือในประเด็นที่อยุ่ในความสนใจของทั้งสอง่ายไม่ว่าความมั่นคงในภูมิภาค สภานกาณ์ระหว่าประเทศ และความรวมมือด้สนอืนไ ซึงร่วมถึงเรืองการต้าการลงทุน
               เชื่อได้เลยว่าเวทีการพบปะารือดังกล่าวในทางหนึ่งก็เป็นความพยายามของฝ่ายสหรัฐที่ประกาศว่าจะเร่ิงการดำเนินนโยบายทางการทูตเพื่อกาทางออกต่อกรณีเกาหลีเหนือ ซึ่งในช่วงที่ผ่านมาถูกมองว่าสถานการณ์บนคาบสมทุรกาหลีกำลังทวความตึงเครียดมากขึ้นเรื่อยๆ โดยฝ่ายเกาหลีเหนือพยายามจะบอกว่าการทีต้องพัฒนาขีปนาวุธหรือนิวเคลียร์ก็เพื่อป้องกันการรุกรานจาสหรัฐที่จัมือกับชาติพันธมิตรอย่างเกาหลีใต้เพื่อรุกรานเกาหลีเหนือ
             
 ความพยายามของเกาหลีเหนือท่จะหาพวกยังปรกกฎให้เห็นในจดหมายที่รัฐมนตรีต่างประเทศเกาหลีเหนือส่งถุงเลขาธการอาเวียน ซึ่งเพิ่งถูกนำมาเผยแพร่ผ่านสำนักข่าวเอเอฟพีก่อนการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งนีจะเร่ิมขึ้น ทั้งที่จดหมายดังกล่างถูกส่งให้กับเลขาธิการอาเซียนตั้งแต่วันที่ 23 มีนาคม ที่ผ่านมา หรือกว่ากนึ่งเดือนก่อนหน้านี้
               เกาหลีเหนือได้่งจดหมายเพื่อให้เลขาธิการอาเซียนได้เวียรให้ชาติสมาชิกอาเซียนรับทราบและให้การสนับสนุนเกาหลีเหนือกลายเป็นส่ิงที่ครอบงำความสนใจขอผู้ที่มาทำข่าวการประชุสุดยอดอาเซียนไปทันทีแม้วาก่อนหน้านี้ความสนใจต่อประเ็นความตึงเครยดบนคาบสมุทรเกาหลีจะมีอยุ่แต่ก็เพรียงในระดับหนึ่งเท่านัน เป็ฯการตัดสินใจเผยแพร่จดหมายให้กับสื่อหลังจากที่เลขาธิการอาเว๊ยนไดมได้เวียนหนึงสือให้สมาชิกอาเวียนอย่างี่เกาหลี่เหนือต้องการ
               รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซึยนจึงได้ออกแถลงการณ์แยกต่อกรณีสถานการณ์บนคาบสมทุรเกาหลีซึ่งไม่เพียงแต่จะเป้ฯการแสดงท่าที่อาเซียนต่อกรณีดังกล่าว แต่ยังเป็นการแสดงใหเห็นว่าอาเซียนในฐานะประชาาคมยังมีจุดยืนร่วมกันในประเด็นที่อยู่ในควาสนของโกทั้งเป็นจุดยื่อนรัญมนตรีต่างประเทศอาเวียนสามารถนำไปพูดคุยกับรับมนตรีต่างประเทศสหรัฐในการประชุมที่กำลังจะมีขึ้น และตอบข้อเรียกร้องของเกาหลีเหนือย่างชัดเจนว่าเกาหลีเหนือจะต้องทำตามข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ ขณะที่ทุกฝ่ายต้องหันหน้ามาหาทางแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธีต่อกรณีนี้ต้องถือว่าอาเซียนรับมือกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างทีนที
               สิงที่จะต้องจับตาดุหลังจากนี้ไปนอกจากพัฒนาการรายวันบนคาบสมุทรเกาหลีแล้วก็คือเวทีการพูดคุยกันของฝ่ายต่างๆ เพื่อหาทางลดอุณหภูมิความร้อนแรงของประเด็นคาบสมทุรเกาหลีไม่ได้บานปลายใหญ่โตออกไปมากกว่านี้จนถึงกับเป็นการปะทะกันด้วยอาวุทธยุทโธปกรณ์ ซึ่งหลายฝ่ายเชื่อว่ายังไม่น่าจะเกิขึ้น
              ขณะที่เวทีการประชุมอเวียนว่าด้วยความรวมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภคเอเชีย-แปซิฟิก หรือเออาร์เอฟ ที่จะจัดขึ้นพร้อมกับภารประชุมสุดยอดอาเวียนในช่วปลายปี ซึ่งเป็นเพรียงเวที่การประชุมด้านความมั่นคงในภูมิภาคเวทีเดียวที่เกาหลีเหนือเป็นสมาชิกอยุ่ก็จะกลายเป็นเวทีร้อนตามา ซึ่งทั้งหมดทั้งปวงนั้นจะททำให้การประชุมสุดยอดอาเซียนในปลายปีนี้ ยิ่งน่าจะได้รับความสนใจมากย่ิงขึ้นไปอีกหลายเท่า

                        - http//www.matichon.co.th/..คอลัมน์ วิเทศวิถี: "คาบสมุทรเกหลี" ปัญหาป่วนอาเซียน
                        - www.komchadluek.net/...คาบสมุทรเกาหลีกับความมั่นคงเอเชีย
                        - www.krobkruakao.com/...อาเซียน-ถกวิกฤตคาบสมุรเกาหลี
               
               

วันเสาร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Korean Peninsula ( Six - Party Talks)

            เกาหลีใต้มีความพยายามที่จะรวมประเทศอย่างสัติตั้งแต่ พ.ศ. 2513 โดยเปิดการเจรจากับเกาหลีเหนืออย่างต่อเนื่อง เร่ิมจากการเจรจาระหว่างสภกาชาตฝ่ายต้กับฝ่ายเหนือเพื่อให้ครอบครัวที่พลัดพรากระหว่างสงครามได้พบหน้ากัน มีการออกแถลงการณ์ระหว่างสองประเทศเมื่อ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 เพื่อยุติการกล่าวร้ายระหว่างกัน แต่การเจรจาเพื่อรวมประเทศข้ามเขตปลอดทหารไปมาหาสู่กันได้ในช่วง 20-23 กันยายน พ.ศ. 2528 และการเจรจาเกี่ยวกับกีฬาโอลิมปิก พ.ศ. 2531 ที่กรุงโซลเท่านั้น การเจรจาเรื่องอื่นๆ หยุดชะงักลงหลัง พ.ศ. 2529 เนื่องจากเกาหลีเหนือไม่พอใจเกี่ยวกับการซ้อมรบระหว่างเกาหลีใต้กับสหรัฐอเมริกาซึ่งถือเป็นการขัดแย้งกับการรวมชาติ เกาหลีใต้พยายามประนีประนอมกับเกาหลีเหนือเพื่อการเจรจาจนมีการประชุมระดับผุ้นำครั้งแรกเมื่อ 4 กันยายน พ.ศ. 2533 จากนั้นมีการประชุมต่อมาอีกหลายอย่าง อย่างไรก็ตาม การรวมชาติเกาหลียังเป็นสิ่งที่ต้องรอคอยต่อปไจนกระทั่งปัจจุบัน

            นับตั้งแต่เกิดเหตุการตึงเครียดในคาบสมุทรเกาหลีเมื่ปฃลาปี 2545 หลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้ใช้ความพยยามเพื่อลอความตึงเครียดดังกล่าวดังนี้
             การเจรจา 3 ฝ่าย จีนได้รับการ้องของจากสหรัฐฯ ให้จัดการเจรจา 3 ฝ่าย ระหว่าง สหรัฐฯ เกาหลีเหนือ และจีน ขึ้นที่กรุงปักกิ่ง เมื่อ 23-25 เมษายน พ.ศ. 2546 แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ เนื่อจากเกาหลีเหนือได้ตั้งข้อเรียกร้องต่างๆ ซึ่งสหรัฐฯ เห็นว่าเป็นการข่มขู่สหรัฐฯ
             การเจรจา 6 ฝ่ายรอบแรก จีนได้จัดให้ีการเจรจา 6 ฝ่าย รอบแรกขึ้นที่กรุงปักกิ่งเมื่อ 27-29 สิงหาคม พ.ศ. 2546 โดยมีสหรัญฯ เกาหลีเหนือ จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และรัศเซีย เข้าร่วมแต่ไ่มีความคืบหน้า เนื่องจากทั้งสองฝ่ายไม่มีท่าทียือหยุ่นและผ่อนปรนจุดยืนของตน สหรัฐฯต้องการให้เกาหลีเหนือล้มเลิกโครงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์โดยทันที่ก่อน ส่วนเกาหลีเหนือก็เสนอข้อเรียกร้องต่างๆ ได้แก่
           1. ให้สหรัญฯ จัดหาน้ำมันและอาหารให้แก่เกาหลีเหนือ
           2. ให้มีการจัดทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกัน
           3. ให้มีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างเกาหลีเหนือกับสหรัฐฯ และเกาหลีเหนือกับญี่ปุ่่น และ
           4. ให้ดำเนินการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2 แห่งที่สหรัฐฯ สัญญาจะสร้างให้
       
 การเจรจา 6 ฝ่ายรอบสอง จัดที่กรุงปักกิ่ง เมื่อ 25-28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 สหรัฐฯต้องการให้เกาหลีเหนือล้มเลิกด้วยการทำลาย โครงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์จากแร่พลูโตเนียมและแร่ยูเรเนียมอย่างสิ้นเชิง ตรวจสอบได้และหวนกลับคืนไม่ได้ แล้วสหรฐฯกับทุกฝ่ายจึงจะร่วมกันดูแลความมั่นคงปลอดภัยให้แก่เกาหลีเหนือ รวมทั้งให้ควมช่วยเหลือทาางเศราฐกิจและพลงงานส่งนเกาหลีเหนือต้องการสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเกาหลีเหนือกับสหรัญฯ หรือหลัักประกันจากทั้ง 5 ฝ่าย โดยคาดหวังว่าจะได้รับความช่วยเหลือด้านต่างๆ เป็นการตอบแทน ทั้ง 6 ฝ่ายได้จัดตั้งคณะระดับทำงาน
           การประชุมคณะระดับทำงานครั้งที่ 1 จัดขึ้นเมื่อ 12-14 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ที่กรุงปักกิ่ง โดยไม่มีความก้ายหน้าที่สำคัญมากนักเนื่องจากท่าที่ของสหัรฐฯและเกาหลเนือยังคงแตกต่างกันมาก การประชุมคณะระดับทำงานครั้งที่ 2 การเจรจา 6 ฝ่ายรอบสามีขึ้นระหว่าง 21-22 และ 23-26 มิถุนายน 2547
            การเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่สาม จัดที่กรุงปักกิ่งเมื่อ 23-26 มิถุนายน 2547 โดยได้มีความคืบห้า 3 ประการคือ
            1. จีนในฐานะประธานการเจรจาได้ออกคแถลงของประธาน มีเนื้อหาโดยสรุปคือ ทั้ง 6 ฝ่ายเน้นย้ำความจำเป็ฯในการดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอนของถ้อยคำต่อถ้อยคำและกากระทำต่อกากระทำ ในการหาแนวทางการแก้ปัญหาประเด็นอาวุธนิวเคลียร์
            2. กำหนดให้มีการประชุมคณะระดับทำงารนครั้งที่ 3 โดยเร็วที่สุด และ
            3. กำหนดให้มีการเจรจา 6 ฝ่ายรอบสี่ภายในเดือนกันยายน พ.ศ. 2547 เพื่อกำหนดขอบเขต ระยะเวล การตรวจสอบ และมาตการที่สอดคล้องกัน ในการดำเนินกำารรในขึ้นตอนแรกของการทำลายโครการพัฒนาอาวุธนิวเคียร์
             นอกจากนีั้ สหรัญฐฯ ได้ยื่อข้เสนแ 5 ประการแก่เกาหลีเหนือเพือ่เป็นากรตอบแทนที่เกาหลีเหนือระงับโครงการอาวุธนิวเคลียร์ ได้แก่
             - ช่วยเหลือด้านน้ำมันเชื้อเพลิง
             - ค้ำประกันเฉพาะกาลด้านความมั่นคง
             - ช่วยเหลือด้านพลังงานในระยะยาว
           
 - หารือกับเกาหลีเหนือโดยตรงเพื่อยกเลิการควำ่บาตทางเศราฐกิจและถอนเกาหลีเหนือออกจากบัญชีรายชื่อประเทศก่อการร้ายและ
             - ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์นิวเคียร์ในช่วง 3 เดือนซึ่งเป็นขั้นการเรียมการ ไปสู่กระบวนการขจัดอาวุธนิวเคียร์ในเกาหลเหนือ
              การเจรจา 6 ฝ่ายรอบสี่ การเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่ 4 ระยะที่ 1 วันที่ 26 กรกฎาคม - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2548 มัพัฒนาการที่สำคัญ ได้แก่ ด้านสารัตถุ ทุกฝ่ายสามารถบรรลุความเห็นชอบในหลักการร่วมกันใน Joint Statement ซึ่งจะเป็นเอกสารที่ก่อให้เกิดเจตนารมณ์ทางการเมืองร่วมกันและนำสู่การปฏิบัตเพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดในการทำให้คาบสมุทรเกาหลีเป็นเชตปลอดอาวุธนิวเคียร์ ด้านกลไก การเจรจาครั้งนี้เปิดให้สมาชิก 6 ฝ่ายพบหารือทวิภาคีเพื่อรปับท่าทีที่แตกต่างกน ดดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐฯ และเกาหลีเหนือได้พบกัน หารือทวิภาคกันมากกว่า 10 ครั้ง อยางำรก็ตาม การเจรจาครั้งนี้ต้อง recess เนื่องจากสหรัฐฯและเกาหลีเหนือยังมีท่าทีที่แตกต่างกันโดยสหรัฐฯย้ภว่าเกาหลีเหนือต้องยกเลิกโครงการนิวเคลียร์ทั้งหมด ขะที่เกาหลีเหนือ เห็นว่าโครงการนิวเคียร์เพื่อกิจการพลเรือนและากรใช้นิวเคลียร์อย่างสนติเป็นสิทธิอันชอบธรรมของรัฐอธิปไตย
              การเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่ 4 ระยะที่ 2 เร่ิมขึ้นระหว่างวันที่ 13-19 กันยายา 2548 โดยทั้ง 6 ฝ่ายได้ออกคำแถลงร่วม ซึ่งมีสาระสำคัญ ได้แก่
             - สมาชิกทั้ง 6 ฝ่ายยืนยันอย่างเป็นเอกฉันท์ถึงเป้าหมายของการเจรจา 6 ฝ่าย คือ กา่ทำให้คาบสมุทรเกาหลีปลอดอาวุธนิวเคียร์โดยสันติวิธี และสามารถตรวจสอบได้
             - สมาชิกทั้ง 6  ุ ฝ่ายเคาพรเป้าหมายและหลักากรของกฎบัตรสหประชาชาิและยอมรับบรรทัดฐานของการดำเนินความสมพันธ์ระหว่างประเทศในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างกัน
             - สมาชิกทั้ง 6 ฝ่ายจะส่งเสริมความร่วมมือด้านเศราฐกิจในสาชาพลังงาน การต้าและการลงทุน ทังใรกรอบทวิภาคและพหุภาคี
             - สมาชิก 6 ฝ่ายเห็นขอบที่จะจัดการเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่ ถ ที่กรุงปักกิ่งในต้นเดือนพศจิการยน 2548 โดยจะหารือเกี่ยวกับกำหนดวันต่อไป
               การเจรจา 6 ฝ่ายรอบ 5 การประชุมเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่ 5 เร่ิมขึ้นเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2548 โดยมีกำหนดระยะเวลา 3 วัน ก่อนที่จะมีการหยุดพักชั่วคราว เพื่อให้คณะผุ้แทนไปเข้าร่วมประชุม APEC ที่เมืองปูซาน ประเทศเกาหลีใต้ ประเด็นหลักในการเจรจาครั้งนี้ คือ การหารือในรายละเดียดของข้อตกลงร่วมที่สมาชิกทั้ง ุ6 ฝ่ายได้ตกลงกันไว้ในการเจรจารอบที่ 4 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 ได้แก่
               - การยกเลิกโครงการอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือ
               - การปรับความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯกับเกาหลีเหนือ
               - ความช่วยเหลือด้านพลังงานเกาหลีเหนือ

                               - https//th.wikipedia.org/../คาบสมุทรเกาหลี, ประวัติศาสตร์เกาหลี
         

วันศุกร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Korean Peninsula (Korean War)

             ในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา เกาหลีถูกรุกรานจากจีนและญี่ป่นุหลายครั้ง หลังจากที่ญี่ปุ่่นชนะจีนในสงครามจีนกับญี่ปุ่น (Sino-Japanese War 1894-1895) แต่ญีปุ่นก็ยังคงกำลังทหารไว้ในเกาหลี่และยึดครองพื้นที่ส่วนใหญ่ทางยุทธศาสตร์ของประเทศเกาหลีไว้ และอีก 10 ปีต่อมาญี่ป่นุก็สามารถเอาชนะในสงครามทางเรือต่อรัสเซีย -ญี่ปุ่น (Russo - Japanese War 1904-1905) ทำให้ญี่ปุ่นมาเป็นมหาอำนาจจักรวรรดินิยม ญี่ปุ่นจึงยังยึดครองเกาหลีต่อไปและขยายการยึดครองไปยังิดนแดนต่างๆ ของประเทศเกาลหลีโดยใช้กำลังทหาร จนรในที่สุดญี่ป่นุก็ได้ผนวกเกาหลีเป็นดินแดนของญี่ป่นุเมื่อเดือนสิงหาคม 1910
              เมื่อญี่ปุ่นเข้ามาปกรองเกาหลี ญี่ปุ่นจัดการฟื้นฟูประเทศเกาหลีให้มีความก้าวหน้าตามนโยบายจักรรรดินิยมของญี่ป่นุ เช่น ผลักดนให้เกาหลีมีความก้าวหน้าทางเศณาฐกิจ แต่ประชกรชาวเกาหลีกลับได้ผลประโยชน์จากความก้ายหน้าทางเศราฐกิจเพียงเล็กน้อย นอกจากนั้นญี่ปุ่่นยังกดขี่เกาหลีทงด้านวัฒนธรรมด้วย เช่น ห้ามใหช้ภาษาเกาหลี และเมื่อชาวเกาหลีกลุ่มใดเรียกร้องเสรีภาพ ญี่ป่นุจะให้ตำรวจเข้าทำการปราบปราม จึงทำให้ชาวเกาหลีด้ินตนแสวงหาอิสรภาพอย่างเต้ฒที่ในที่สุดได้เกิด
"ขบวนการซามิว" หรือ "ขบวนการ 1 มีนาคม" ขึ้นในปี ค.ศ. 1919 ซึ่งขบวนการซามิวนี้ประเกอบด้วยผูงชนที่ปราศจากอาวุธจำนวนมาก พากันเดินขบวนเรียกร้องให้ชาวโลกช่วยเกาหลีให้หลุ่มพ้นจากความเป็นทาสของญี่ป่นุ แต่การปฏิบัติการของขบวนการซามิวไม่สำเร็จผล บรรดาผู้นำในการกอบกุ้เอกราชของเกหลีจึงได้จักตั้งรัฐบาพลัดถ่ินขึ้นในประเทศจีน โดยตั้งให้นายชิงมัน รี เป็นประธานาธิบดีคนแรกของรัฐบาลเกาหลี แต่ต่อมาไม่นานรัฐบาลพลัดถ่ินดังกล่าวเกิดการแตกแยกเป็นหลายฝ่าย ในที่สุดกลุ่มที่นิยมโซเวียตก่อตัวเป็นกองโจรแล้วต่อต้านญี่ป่นุอยุ่ตามบริเวณพรมแดนที่ติดต่อระหว่างเกาหลีกับแมนจูเรีย ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งเป็นปรปักษ์ตจ่อคอมมิวนิสต์ซึ่งทำการต่อต้านอยาางดุเดือดเช่นเดียวกับกลุ่มนิยมโซเวียต และในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 กลุ่มที่เป็นปรปักษ์ต่อคอมมิวินสิต์ได้เข้าร่วมกับกองทัพจีน ส่งวนายชิงมัน รี เดินทางไปยังกรุงวอชิงตัน เพื่อหาทางกอบลกู้เอกราชให้เกาหลีโดยวิถีทางการทูตและการเมือง แต่ความแตกแยกทางความคิดของรัฐบาลพลัดถ่ินของเกาหลีในจีนก็ยังคงมีอยู่
              ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 นอกจาพันธมิตรจะประกาศให้เกาหลีเป็นเอกราชแล้วสหรัฐอเมริกากับอดีตสหภาพโซเวียตยังตกลงกัน่า เมื่อชนะสงครามแล้วจะใช้เส้นขนานที่ 38 เป็นเส้นแบ่งเขต สำหรับควบคุมกองทหารญี่ป่นุของแต่ละฝ่าย
                 และเมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1945 กองทัพสหรัฐอเมริกาเคลื่อนกำลังไปในดินแดนเกาหลีตั้งแต่ใต้เส้นขนานที่ 38 ขึ้นไป และแต่ละฝ่ายจัดตั้งการปกครองในเกาหลีทีั้ง 2 เขตตั้งแต่นั้นมา จึงก่อให้เกิดการแบ่งแยกประเทศเกาหลีออกเป็น  ประเทศ แต่สหรัฐอเมริกาไม่เห็นด้วยกับการแบ่งแยกดังกล่าวจึงขัดขวางโดยเสนอให้วมเกาหลีทั้ง 2 เป็นประเทศเดียวกัน ซึ่งทางสหภาพโซเวียตเห็นด้วยแต่ีเงื่อไขว่า รัฐบาลที่จะปกครองเกาหลีต้องเป็นรัฐบาลที่จัดตังขึ้นตามเหงื่อนไขของสหภาพโซเวียตเท่านั้ สหนรัฐอเมิรกาจึงนำปัญหานี้เสนอต่องค์การสหประชาชาติตามเบงื่อนไขของสหภาพโซเวียตเท่านั้นสหรัฐอเมริกาจึงนำปัญหานี้เสนอต่อองคการสหประชาชาติพิจารณาเมือกันยายน ค.ศ. 1947 ต่อมาสภาความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีมติให้เลือกตั้งทัี่้วไปในเกาหลีและให้อยุ่ในความควบคุมของสหประชาติ แต่สหภาพโซเวียนปฏิเสธความี่วมมือและ พฤษ๓าคม ค.ศ. 1948 จึงมีการเลือกตั้งทั่วไปในเกาหลีเฉพาะเขตคที่อยุ่ในการยึดครองของสหรัฐอเมริกาเพียงเขตเดียวเท่านัน การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกต้้งสมาชิกประจำสมัชชาแห่งชาติของเกาหลี หลังจาการเลือกตั้งผ่านพ้นสมัชชาแห่งชาติเกาหลีได่้ทำากรร่างรัฐธรรมนูญขคึ้นมาปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยและประกาศไช้รัฐ
ธรรมนูญฉยับบนี้ในวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1948 และในวันที่ 156 สิงหาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่ีงชาติเกาหลีประกาศจัดตั้งสาธารณรับเกาหลีขึ้นเป็นทางการโยมีนายชิงมัน รี เป็นประธานาธิบดีคนแรก และขณะเดียวกันใตช่วงต้นปี คซฦ.ศ. 1946 สหภาพโซเวียนก็ตอบโต้ด้วยการจัดตั้งรัฐบาลขึ้ามาปกครอง ในดินแดนยึดครองของตนเองบ้าง โดยมีนาย คิมอิล ซุง เป็นหัวหรเ้าคณะรัฐบาล ซึ่งเป็นไปในแนวทางคอมมิวนิสต์ ทำให้ชาวเกาหลีจำนวนามากที่อยุ่นเชตการปกครองนี้หนีลงข้ามเส้นขนาที่ 38 มาอาศัยในเขตที่สหรัฐอเมริกาได้ประกาศจึดตั้งสาธารณรัฐเกาหลีขึ้น ต่อมาเมื่อวันที่ 9 กันยายน ค.ศ. 1948 สหภาพโซเวียนตึงจัดตั้งเขต ยึดครองของตนเป็นประเทศ "สาธารณรับประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี" มีนายคิม อิล ซุง เป็นหัวหน้าคณะรัฐบาล  และเมื่อจัดตั้งประเทศเกาหลีเหนือสำเร็จ สหภาพโซเวียจตึงถอยทัพออกไปจากดินแดนเกาหลีเหนือนับแต่นั้นมา เกาหลีจึงกลายเป็น 2 ประเทศโดยมีเส้นขนานที่ 38 เป็นเส้นแบ่งดินแดน
            เหตุการณืที่เกิดกับเกาหลีหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แสดงให้เห็นว่าเกาหลี่เป็นอีกประเทสหนึค่งที่มหาอำนาจผู้ชนะสงครามได้วางแผนให้สู้รบกันเอง เพราะการแบ่งแยกประเทศและการแบ่งปยกแนวความคิดทางการเมือง และเมื่อสงครามสิ้นสุดลงแล้วชขาวเกาหลียังต้องจับอาวุธรบกันเองครั้งยิงใหญ่ เพราะเหตุที่มหาอำนาจ "ยัดเยียด" หรือ "ส่งเสริม" แนวความคิดทาสงการเมืองที่แตกต่างกันให้กับชาวเกาหลีนั้นเอง
             เกาหลีเป็นประเทศ ที่วัติศาสตร์ยาวนาไม่น้อยกว่า 5,000 ปรี และตลอดระยะเวลาที่ยายนามนั้นเกาหลีเต็มไปด้วยสงคราม เพราะที่ตั้งของประเทศเกาหลีเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญระหว่างญี่ปุ่น จีน และอดีตสหภาพโซเวียต ทำให้จีนและญี่ปุ่นต่างต้องการที่จะเข้าไปมีอิทธิพลเหนือเกาหลี ทำให้ประเทศทั้งสองเข้ารุกรานเกาหลีตลอดมา
             ในช่วงต้นและกลางศตวรรษที่ 20 ญี่ปุ่นได้เข้าครอบครองเกาหลีไว้ทั้งประเทศแล้วเปลี่ยนชื่อประเทศเกาหลีเป็น "ประเทศโซเซน" เมื่อญี่ปุ่นแพ้สงคราม ในสงครามโลกครั้งที่ 2 เกาหลีจึงได้รับอกราชตามคำประกาศแห่งไคโรของฝ่ายพันธมิตรซึ่งการได้รับเอกตาชของเกาหลีหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง ทำให้เกาหลีถูกแบ่งแยกออกเป็น 2 เขตการยึดครอง คือ เขตยึดครองของโซเวียนและเขตยึดครองของสหรัฐฯ ซึ่งต่อมาเขตยึดครองของมหาอำนาจทั้งสองกลายเป็นประเทศเกาหลี 2 ประเทศในปัจจุบัน
             เกาหลีก่อนแยกเป็นเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ เดิมเมืองหลวงอยู่ที่กรุงโซลเมื่อที่เป็นศูนบ์กลางการเมือง เศราฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมจของประเทศมานานกว่า 600 ปี มีแม่น้ำฮันกังไหลผป่านแลเทือกเขานัมซันตั้งอยุ่ใจกลางเมืองประเวัติของเกาหลีก่อนที่จะเจอสงครามเย็นจนแยกออกเป็นสองประเทศนั้นเคยถูกจีนและญี่ปุ่นรุกราน อย่างสหาหันสากัน ส่งสงครามเกาหลีเป็นช่วงต่อจากสงครามโลกครั้งที่ 2 และเริ่มจ้นสงครามเย็น กล่าวคือ สหภาพโซเวียตในขณะนั้น ภายใต้การนำของสตาลิน จดๆจ้องจะประกาศสงครามกับญีปุ่่น แต่อเมริกาท้ิงประมาณูบอมบ์ฮิโรชิม่าจนญี่ป่นุประกาศยอมแพ้ในปี 1945 โซเวียตจึงยกทัพบุกแมนจูเรียกับเกาหลีทางเหนือทันที่ ซึ่งไม่มีการต่อต้านจากสองดินแดนนี้ อเมริกามองสถานการณ์อย่างไม่พอใจนัก จึงแยกอำนาจเกาหลีออกเป็นสองฝ่าย โดยให้โซเวียตกำกับดินแดนที่อยูเหนือเส้นขนาน 38 ขึ้นไป ในช่วงเวลาดังกล่าวการเมืองของเกาหลีทั้งฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้วูบวาบตลอดเวลา แต่ฝ่ายเหนือดูเหมือจะมั่นคงกว่า เมื่อโซเวียตหนุนหลังคิม อิล ซุง สร้างอำนาจเต็มที่ ขณะที่ฝ่ายใต้แตกแยกเป็นฝ่ายนิยมคอมมิวนิสต์กับฝ่ายต่อต้านโดยมีอเมริกาแอบหนุนหลังฝ่ายต่อต้านคอมมิวนิสต์จนครองอำนาจเบ็ดเสร็จในปี 1947 ฝ่ายเหนือและใต้พยายามจะเปิดเจรจาเพื่อรวมชาติหลายคั้ง แต่ทั้งโซเวียตและอเมริกาต่างๆไม่ยอม เพราะเกรงจะเสียทีอีกฝ่ายในที่สุดทั้งสองดินแดจึคงจัดเลือกตั้งและมีรัฐบาลแยกตัวกันอย่างเด็ดขาด นำไปสู่การทำสงครามในปี 1950 และสิ้นสุดลงเมื่อ กรกฎาคม 1953 ซึ่งสงครามคร่าชีวิตชาวเกาหลีไปกว่า 3 ล้านราย สงครามเกาหลีเป็นส่วนหนึ่งของสงครามเย็น
             ในวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 1950 กองทัพเกาหลีเหือเคลื่นผ่านเส้นขนานที่ 38 มายังเกาหลีใต้ดินแดนเกาหลีต้องประสบกับภาวะสงครามครั้งยิ่งใหญ่นับจากสงครามดลกครั้งที่ 2 ยุติลง สงครามครั้งนี้เรียกว่า"สงครามเกาหลี" เป็นสงครามที่ดำเนินต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานถึง 4 ปี เกาหลีเหลืออ้างว่ากองทัพสาธารณรับเกาหลีภายใต้การนำของ ชิงมัน รี ผุ้ขายชาติ ได้บุกรุกข้ามชายแดนมาก่อน และชิงมัน รี จะต้องถุกจับกุมตัวและประหารชีวิต
              ในสงครามครั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบแล้วเกาหลีเหนือมียุทโธปกรณ์และกองกำังที่เหนืขั้นกว่าเกาหลีไต้อยุ่มาก ทำให้กองทัพเกาหลีเหนือเข้าจู่โจมและได้รับผลำเร็จอย่างรวดเร็ว ซึ่งทำให้กองทัพเหนือยึดกรุงโซลได้ในบ่ายวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1950 แต่อย่างไรก็ตามความหวังของเกาหลีเหนือที่จะได้รับการยอมรับการยอมแพ้จากรัฐบาลของ ซิงมัน รี และทำการรวมชาติได้อย่างรวดเร็วก็สลายไปเมื่อสหรัฐอเมริกาและชาติมหาอำนาจอื่นๆ เข้าแทรกแซงและขยายสงครามกลางเมืองเป็นความขัดแย้งนานาชาติ
               ประธานาธิปบดี ทรูแน ของสหรัฐอเมริาการนขณะนั้นได้เดินทาไปที่สหประชุาชาตเพื่อขอคำอนุมัติในการนำกำลังสหประชาชาติเข้าทำการยุติสงครามและเกาหลีเหนือต้องถอนกำลังไปที่เส้นขนานที่ 38 จัดตั้งคณะกรรมาธิการสหประชาชาติเพื่เผ้าดูสภานการณ์และให้ระงับการช่วยเบหือรัฐบาลเกาหลีเหนือ ซึ่งเรื่องดังกล่าว ทรูแมน กระทำโดยไม่ได้มีการเสนอให้ที่ประชุมสภาของสหรัฐอเมริการร่วมพิจารณาด้วย แต่คณะมนตีความมั่นคงสหประชุาชาติก็ได้ผ่านมติดังกล่าวอย่างเป็นเอกฉันท์ โดยปราศากผู้แทนของสหภาพโซเวียตเข้าร่วมในการประชุมครั้งนี้สหปะชาชาติจึงลงคะแนนเสีนงให้ช่วยเหลือเกาหลีต้ สหรัฐอเมริกาจึงได้ประกอบกำลังทหารและสงกำลังบำรุงจาชาติสมาชิก คือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อังกฤษ ฝรั่งเศส แอฟริกาใต้ เตอร์กี ไทย กรีก เนเธอิร์แลนด์ เอธิโอเปีย โคลัมเีย ฟิลิปปินส์ เบลเยี่ยม และลักแซมเยิร์ก เข้าร่วม
             
 นอกจากนัน ทรูแมนยังได้สั่งการให้นายพล ดักลาส แมคอาเธอร์ ผู้บังคับบัญชาการสูงสุดของฝ่ายพันธมิตร ซึ่งยึดครองญี่ป่นุอยู่ในขณะนั้น สงอาวุธ ยุทโธปกรณ์ สนับสนนุให้กับกองทัพเกาหลีใต้ และสั่งให้กองทัพเรือที่ 7 สหรัฐอเมริกาเดินทางมายังช่องแคบไต้หวันเพื่อป้องกันจีนคอมมิวินสต์บุกเข้ายึดเกาะไต้หวันและขณะเดียวกันป้องกันไม่ให้จีนคณะชาติที่ไต้หวันบุกยึดพื้ที่แผ่นดินใหญ่ของจีน เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้สงครามแผ่ขยายไปยังเอเชียตะวันออก
              เดือนสิงคหาคม ค.ศ. 1950 กองทัพเกาหลีใต้และกองทัพบกของสหรัฐอเมริกาภายใต้การบังคับบัญชาของ พลเอก วอลตัน วอคเคอร์ ถูกโจมตีถอยร่นมายังปูซาน ขณะที่อกงทัพเกาหลีเหนือบุกมานั้นได้ไล่สังหารชาวเมืองที่เคยช่วยพวกเขาในกาต่อต้าน ซิงมัน รี ในสงครามครั้งนี้อย่างโหดร้าย และในเือนกันยายนปีเดี่ยวกัน กองกำลังพันธมิตรชั่วคราวยังยึดพื้นที่รอบเมืองปูซานไว้ได้ซึ่งเป็นเพียง 10 % ของคาบสมุทรเกาหลี
              ในการเปชิญหน้ากับการโจตีอย่างดุเดือดของเกาหลีเหนือ การตั้งรับของฝ่ายพันธมิตรกลายเป็นการสู้รบเข้าตาจนที่ฝ่ายสหรัฐอเมริกาเรียกว่า "สงครามวงรอบปูซาน" อย่างไรก็ตาม เกาหลีเหนือไม่สามารถตีเมืองปูซานแตกได้ ซึ่งขณะนั้นทั่วทั้งเกาหลีเกต็มไปด้วยเครื่องบินทิ้งระเบิด สหรัฐได้โจมตีแหล่งส่งกำลังหลักต่างๆ ของเกาหลีเหนือเพื่อให้กองทัพเกาหลีเหนือขาดแคลนสิ่งจำเป็นในการทำสงคราม ซึ่งการำลายของเครื่องบินทิ้งระเบิดครั้งนี้ทำให้การส่งยุทโธปกร์ไม่สามารถไปถึงกองทัพเกาหลีเหนือ ที่ปฏิวัติการรบอยุ่ทางใต้ได้ ในขณะเดียวกันฐานส่งกำลังในญี่ป่นุของสหรัฐอเมริกาได้ทำการส่งอาวุธและกำลังทหารมายังเมืองปูซานอย่างมากมาย ทำให้เกาหลีใต้มีความแข็งแกร่งและมีกำลังทหารมากว่ากองทัพเกาหลีเหนือ อยู่กว่าเกือบแสน และในเวลานี้เองกองทัพสหประชาชาติและเกาหลีใต้ก็ได้เร่ิมปฏิยัติการโจมตีตอบโตค้ กองทัพสหประชาชาติได้ขับไล่กองทัพเกาหลีเหนือผ่านเส้นขนานที่ 38 จุดหมายปลายทงในการที่จะปกป้องรักษารัฐบาลเกาหลีใต้บรรลุแลว กองทัพสหประชาชาติได้ข้าแดนเข้าไปในเกาหลีเหนือเมื่อต้นเดือนตุลาคม ค.ศ. 1950 ทำให้กองทัพเกาหลีเหนือแตกกระจายและถูกจับเป็นเชลยถึง 135,000 คน และการรุกของกองสหประชาชาิ ครั้งนี้สร้างความกังวบลให้จีนมาก เพราะเป็นห่วงว่าสหประชาชาติจะไม่หยุดอยู่เพียงแม่น้ำยาบูซึ่งเป็นชายแดนระหว่างเกาหลีเหนือและจีน และดำเนินนโยบายให้จีนกลับสู่อำนาจเก่าคือ เจียงไค เชค หลายคนในชาติตะันตกรวมทั้งนายพล ดักลาส แมคอาเธอร์ คิดว่ามีความจำเป็นต้องขยายสงครามไปสู่จีน แต่ทรูแมนและผุ้นำคนอื่นๆ ไม่เห็นด้วย  นายพล ดักลาส จึงถูกกล่าวเตือนในเรื่องดังกล่าว แต่นายพลฯ ก็ไม่ใส่ใจการเตือนั้น โดยเข้าแย้งว่าเนื่องจากกองทัพเกาหลีเหนือได้รับการส่งกำลังจากฐานในเขตแดนจีน คลังสงกำลังเหล่านั้นจึงควรถูกทำลายด้วย
           
 8 ตุลาคม ค.ศ. 1950 หลังจากที่ทหารสรัฐอเมริกาข้ามเส้นขนานที่ 38 ไปแล้ว ประธานเหมาเจ๋อตุงของจีนได้ออกคำสั่งใหรวบรวมกองทัพอาสาสมัครประชุาชนจีนเคลื่อพลไปยังแม่น้ำยาลูและเตรียมพร้อมที่จะข้าแม่น้ำ ขณะเดียวกันเหมาเจ๋อ ตุงมองหาความช่วยเหลือจากสหภาพโซเวียตและมอว่ากรแทรกแซงสงครามเกาหลีครั้งนี้เป็นเพียงการป้องกันตนเอง ขอากล่าวกับสตาลินว่า "ถ้าเรายินยอมให้สหรัฐอเมริกาครอบครองเกาหลีทั้งหมด เราก็ต้องเตรียมตัวให้สหรัฐฯประกาศสงครามกับจีน" อย่างไรก็ตาม สหภาพโซเวียตก็ได้ตัดสินใจให้การช่วยเหลืออย่างจำกัดกับจีน ทไใ้จีนโกรธเคื่องมก ในขณะที่สหรัฐอเมริการก็รู้ดีว่าสหภาพโซเวียรไต้ส่งกำลังทางอากาศเข้ามาในสงครามเกาหลี แต่ก็น่ิงเฉยเพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่อาจนำไปสู่สงครามนิเคลียร์ และในวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1950 นั้นเองที่เป็นวันที่กองทัพอาสาประชาชนจีนเข้าปะทะกับทหารสรัีฐอเมริกา โดยใการปารปะทะครั้งนี้จนทำการเคลื่อนพลได้อย่างมีระเบียบวินัยและแยบยลเป็ยอย่างยิ่ง
             ปลายเดือนพฤศติกายน ค.ศ. 1950 กองทัพจีนได้เข้าโจมตีพื้ี่ด้านตะวันตกตามแนวแม่น้ำของ ซอน และสามารถเอาชนะกองทัพเกาหลีใต้หลายกองพลและประสบความสำเร็จในการเข้าตรีกองทัพสหประชาชาติ ที่เหลืออยู่ จากความพ่ายแพ้ของกองทัพสหรัฐอเมริกาเป็นเหตุให้ทหารสหรัฐอเมริกาต้องล่าถอยเป็นระยะยาวที่สุดในประวัติศาสตร์
            ในเดือน มกราคม ค.ศ. 1951 ฝ่ายคอมมิวนิสต์ได้ทำการโจมตีอีกครั้งในช่วงที่เรียกว่า Chinese Winter Offensive กองทัพจีนได้ใช้ยุทธวิธีในรูปแบบเดิมอย่างที่เคยทำ สถานการณ์ของกองทัพที่ 8 แย่ลงไปอีกเมื่อพลเอกวอคเคอร์เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ ผู้นำคนใหม่คือ พลโท แมททิว ริดจ์เวย์ ซึงเขาเร่ิมดำเนินการด้วยการกระตุ้นขวัญและกำลังใจของกองทัพที่ 8 ซึ่งตกต่ำจากการถูกโจมตีจนต้องล่าถอยเป็นระยะทางไกล และในปลายเดือนมกราคมนั้น จากการลาดตระเวนริดจ์เวย์ พลว่า แนวรบตรงหน้าเขาปราศจากข้าศึก เขาจึงพัฒนแผนการรุกแบบเต็มกำลังในยุทธการรวอัพ ซึ่งประสบผลสำเร็จอย่างมาใน ต้นเดือนกุมภาพันธ์กองทัพสหประชาชาติมาถึงแม่น้ำฮันและยึดเมืองวอนจูได้อีกครั้ง
           
จีนทำการตอบโต้กลับในเดือนกุมภาพันธ์ที่ฮองของในภาคกลางเข้าตีท่ตั้งกองทัพน้อยที่ 9 รอบเมืองชิบยองนี กองพลทหารราบที่ 2 ของสหรัฐรวมกับกองพันทหารฝรั่งเศสได้ทำการต่อสู้ชนิดเข้ตาจนในช่วงเวลาสั้น แต่ก็สามารถต้อนการรุกของจีนได้ และในสองสัปดาห์สุดท้ายของเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1951 กองทัพบกที่ 8 รุกเต็มรูปแบบเพื่อใช้อำนาจการยิงสูงสุดและมุ่งทำลายกองทัพจีนและเกาหลีเหนือมากที่สุดโดยยุทธการคิลเลอร์ กองทัพน้อยที่ 1 จึงได้ยึดครองดินแดนด้านใต้ของฮัน ในขณะที่อกงทัพน้อยที่ 9 สามารถยึดครองรองชอนได้
               11 เมษายน 1951 ประธานาธิบดีทรูแมนได้ปลดพลเอกแมคอาเธอร์ออกจากตำแหน่ง ผุ้บัญชาการกองทัพสหประชาชาติเนื่องจากขัดคำสั่ง ผู้บัญชาการคนใหม่คือ พลเอกริดจ์เวย์ ได้จัการกลุ่มกองทัพสหประชาชาติใหม่ เกิดการโจมตีอย่างเป็นขั้นเป็นตอนขับไล่คอมมิวนิสต์ให้ถอยไปช้าๆ กองทัพสหประชาชาติยังคงรุกคือบจนกระทั่งถึงแนวแคนซัส ซึ่งอยุ่เหนือเส้นขนานที 38 พวกเขาได้เปิดฉากการรุกในช่วงที่ 5 การโจมตีหลักคือ ตำแหน่งกองทัพน้อยที่ 1 แต่ก็ถูกต้านทานอย่างเหนียวแน่นที่แม่น้ำอิมจินและคาเปียง การรุกของจีนถูกหยุดลงที่ที่แนวตังรับเหนือกรุงโซล
              กองทัพสหประชาชาติตัดสินใจหยุดอยุ่แค่แนวแคนซัส ซึ่งอยุ่เหนือเส้นขนานที่ 38 และหยุดนิ่งไม่มีทีท่าที่จะทำการรุกขึ้นไปในเกาหลีเหนือ บ่งชี้ถึงช่วงเวลาที่เกิดมีกายิ่งกัน ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่เหลือจนกระทั่งมีการตกลงเพื่อหยุดยิง...

                       - wiki.kpi.ac.th/...สงครามเกาหลี
                       - gojoseon.blogspot.com... สาเหตุของสงครามเกาหลีเหนือ&เกาหลีใต้
           

วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Korean Peninsula (+3)

              คาบสมุทรเกาหลี เป็นคาบสมุทางตะวันออกของทวีปเอเชีย ทอดตัวลงไปทางทิศใต้สู่มหาสมุทรแปซิฟิก มีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร พื้นที่รวมกันได้ 220,847 ตารางกิโลเมตร ทางตะวันออกล้อมรอบด้วยทะเลญี่ปุ่น(ทะเลตะวันออก) ทะเลจีนตะวันออก ด้านตะวันตกเป็นทะเลเหลือง โดยมีช่ิงแคบเกาหลีเชื่อต่อชายฝั่งทะเลสองด้าน พื้นที่ 70% ของคาบสทุทรเป็นเทือกเขา
              คาบสมุทรเกาหลีเป็นดินแดนที่มีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนาน เริ่มแต่เป็นดินแดนของผุ้คนหลากเผ่าพันธุ์ กระทั่งรวมตัวขึ้นเป็ฯอาณาจักรเล็กๆ ต่อมาถูกจีนยึดครอง เมื่อได้เอกราชจากจีน คาบสมุทรเกาหลีประกอบด้วยสามอาณาจักรสำคัญ คือ อาณาจักรโคกูรยอ ทางภาคเหนือ เผ่าโคกูรยอเร่ิมเข้มเเข็งมากขึ้นเมื่อราชวงศ์ฮั่นของจีนล่มสลาย และสามารถขยายอำนาจเข้ายึดครองมณฑลนังนังจากจีนได้เมื่อ พ.ศ. 856, อาณาจักรแพ็กเจ ชนเผ่าแพ็กเจซึ่งเป็นเผ่าย่อยของเผ่าพูยอที่อพยพลงใต้เข้ายึดครองอาณาจักรอื่นรวมทังอาณาจักรเดิมของเผ่าฮั่น ตั้งเป็นอาณาจักรเมื่อ พ.ศ. 777, อาณาจักรชิลลา อยุ่ทางตะวันออกเฉียงใตค้ของคาบสมุทรเกาหลี พัฒนาขึ้นเป็ฯมิตรกับโคกูรยอตลอดจนกระทั่งหลังสงครามระหว่างโคกูรยอกับแพ็กเจอาณาจักรซิลลาจึงเข้มแข็งเป็นลำดับ จนสามารถยึดครองลุ่มแม่น้ำฮี่นและลุ่มนำ้นักดงจาแพ็กเจได้
              แพคเจ ซิลลา และโกรคูรยอ ต่างก็ทำสงครามกันมาหลายร้อยปีเพื่อครองอินแดนคาบสมุทร นอกจากนี้โคกูรยังทำสงครามกับราชวงศ์สุยและราชวงศ์ถังของจีนที่มารุกรานด้วย อย่างไรก็ตาม ทั้งสามอาณาจักรก็ไม่ได้อยู่ในสภาพของศัตรูกันอย่างถาวร โดยบางครั้งสองในสามอาณาจักรจะรวมตัวกันเป็นพันธมิตรกันและทำสงครามต่อต้านอีกอาณาจักรหนึ่ง
             ในปี พ.ศ. 1136 ซิลลาได้ทำข้อตกลงเป็นพันธมิตรกับราชวงศ์ถังของจีนซึ่งเพิ่งสถาปนาขึ้นไม่นาน จากนั้นราชวงศ์ถังได้ทำสงครามกับโกคูรยอเป็นเวลานับสิบปีแต่ก็ยังไม่อาจได้รับชัยชนะ ซึ่งในการรุกรานทุกครั้ง กองทัพจีนจะบุกจากทางเหนือเขาโจมตีโกคูรยอ ซึ่งหลังประสบความล้มเหลวหลายครั้ง ทางราชวงศ์ถังก็กำหนดแผนยุทธศาสตร์ใหม่ โดยจะเข้าโจมตีโกคูรยพร้อมกันทั้งจากเหนือและใต้ โดยทางใต้จะอาศัยกำลังพลจากซิลลาที่เป็นพันธมิตร อย่างไรก็ตาม การจะำเนินแผนนี้ได้ ทั้งราชวงศ์ถังและซิลลาที่เป็นพันธมิตร อย่างไรก็ตาม การจะดำเนินแผนนี้ได้ ทั้งราชวงศ์ถึงและซิลลาจำเป็นต้องกำจัดแพคเจเสียก่อน เพื่อกันไม่ให้กลายมาเป็นพันธมิตรของโกคูรอและเพื่อตั้งฐานกำลังสำหรับแนวรบที่สองในภาคใต้ของเกาหลี
           ปี พ.ศ. 1176 กองทัพพันธมิตร ถัง-ซิลลา ซึ่งมีรี้พลร่วมสองแสนนายเข้าโจมตีแพคเจและยึดเมืองซาบี เมืองหลวงของแพคเจ รวมทั้งจับตัวพระเจ้าอุยจา กษัตริย์องค์สุดท้ายของแพคเจรวมทั้งพระราชวงศืเกือบทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานจากนั้น ประชาชนทางภาคเหนือของแพคเจก้ได้ก่อกบฏต่อต้านการปกครองของต้าถังกับซิลลา ดดยแ่ทัพชาวแพคเจ ชือ บ็อคซิน ได้พยายามนำกองทหารเข้ายึดเมืองทั้งสี่สิบเมืองที่เสียไป กลับคือ ทั้งยังได้อัญเชิยเจ้าชายบูโยปังที่ประทับอยู่ที่ญี่ปุ่นมาเป็นประมุขของกองกำลังกู้ชาติและสถาปนาเจ้าชายขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ของแพคเจ
             แม้ว่ากองกำลังกู้ชาติจะประสบความสำเร็จในการต่อต้านกองทัพถังกับซิลลา ทว่าในปี พ.ศ.1205 ก็เกิดปัญหาภายในขึ้น อีกทั้งเมืองหลวงใหม่ที่ป้อมชูริวก็ถูกข้าศึกปิดล้อมและในระหว่างนั้นเองแม่ทัพบ็อคซินก็ถูกสังหาร แม้สถานะการกำลังสิ้นหวัง ทว่าแพคเจก็ยังเหลือพันธมิตรสำคัญอยูย นั้นคือ อาณาจักรยามาโตะแห่งญีป่นุ ซึ่งนับแต่อดีต แพคเจและราชวงศ์ยามาโตะได้มีความสัมพันธ์ในฐานะพันธฒิตรที่ยาวนานนับร้อยปี นอกจานี้พระราชวงศ์ทั้งสองฝ่ายยังมีความผูกพันทางสายเลือดกันด้วย ดดยชาวญี่ป่นุเาียกแค้วนแพคเจ่า คุดาระ ซึ่งการล่มสลายของซาบีเมืองหลวงของแพคเจ ทำให้บรรดาพระราชวงศ์ของยามาโตะตระหนกตกใจเป็นอันมาก พระจักรพรรดินโซเมอิและยุพราชนาการโนะโอเอะ (ซึ่งต่อมาคือ จักรพรรดิเทนจิ) ตัดสินพระทัยส่งกองทัพไปช่วยเหลือแพคเจฟื้นฟูอาณาจักร โดยทรงให้ อาเบะโนะฮราฟุเป็นปม่ทัพนำกองทัพจำนวนพล 42,000 นาย ข้ามไปยังคาบสมุทรเกาหลี
         
 ในการส่งกองทัพเข้าสู่แผ่นดินใหญ่ครั้งนี้ จักรพรรดินีไซเมอิทรงย้ายเมืองหลวงเป็นการชั่วคราวไปที่อาซาคุระซึ่งอยุ่ใกล้กับท่าเรือในภาคเหนือของเกาะคิวชู เพื่อทรงควบคุมการเคล่อนพล ทว่าหลังจากกองทหารยามาโตะชุดสุดท้ายเคลื่อนพลไปแล้ว พระนางก็สวรรคต องค์ยุพราชนากาโนะขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิเทนจิ
             ในเดือนสิงหาคม ปี 1206 แม่ทัพอาเบะโนะฮิราฟุ พร้อมเรือรบ 170 ลำและทหาร 5,000 นายได้าถึงเขตควบคุมของกองกำลังกุ้ชาติแพคเจ ก่อนที่กำลังทหารญี่ป่นุ 27,000 นายที่นำโดยคามิสึเคโนะคิมิวะคะโคะและกองทหารอีกหนึ่งหมื่อนายที่นำโดยโอะฮาระโนะคิมิจะมาถึงในต้นปี 1207
            ในปีต่อมา กองทัพเรือพันธมิตรแพคเจและยามาโตะได้เคลือนพบเข้าสุ่ภาคใต้ของแพคเจเพื่อทำลายการปิดล้อมป้อมชูริวของกองทัพซิลลา กองเรือยามาโตะส่งทหาราบขึ้นลบกเข้าสุ่ป้อมชูริวใกล้แม่นำ้เกอุม และสลายการปิดล้อมของข้าศึกได้ ทว่ากองทัพถึงได้ส่งทหาร 7,000 นายพร้อมเรือรบ 170 ลำเข้าสกัดกองหนุนของฝ่ายยามาโตะแม้กองทัพยามาโตะจะมีกำลังพลมากว่า แต่การที่แม่น้ำนั้นแคบทำให้กองเรือต้าถังสามารถรักษาที่มั่นของตนไว้ได้ ขณะที่ฝ่ายญี่ป่นุก็ได้ยกพลเข้าตีถึงสามครั้งแต่ก็ต้องลบ่าถอยออกมาทุกครั้งจนกำลังพลเริ่มอ่อนแอลง
              ฝ่ายกองทัพราชวงศ์ถังได้ฉวยโอกาสที่กองทัพข้าศึกอ่อนแรง เคลื่อพลรุกกลับอย่างฉับพลันและทำลายเรือรบญี่ป่นุลงไปเป็นอันมาก ทหารยามาโตะจำนนมากจมน้ำตายและถูกสังหารด้วยอาวุธนายทัยามาโตะ นามว่า อิชิชโนะตาคุสึ ถูกทหารจีนรุมสังหารสิ้นชีพในสนามรบ
              การรบครั้งนี้ ฝ่าย๊่่ป่นุสูญเสียเรือรบ 400 ลำ และกำลังทหารกว่ากนึ่งหมื่อนาย ในเวลาเดียวกัน ซิลลาก็ส่งกองทหารม้าเข้าตีกองทหารราบแพคเจที่กำลังรอกองหนุนจาทัพเรือยามาโตะจนแตกพ่ายและกองทัพซิลลาก็เข้ายึดป้อมชูริวได้สำเร็จในวันที่ 7 กันยายน ปีเดียวกัน กษัตริย์บูโยปังทรงลงเรือพร้อมผุ้ติดตามจำนวนหนึ่งหลบหนีไปโกคูรยอ
              "ยุทธการแบคกัง" เป็นความพ่ายแพ้ในการรบนอกประเทศ ครั้งใหญ่ที่สุดของญี่ป่นุในยุคโบราณ(ไม่นับการรุกรานเกาหลีของฮิเดโยชิในศตวรรษที่ 16) โดยนอกจากจะสูญเสียกำลังพลไปเป็นจำนวนมากแล้ว ยงเสียที่มั่นและพันธมิตรสำคัญบนแผ่นดินใหญ่เอเชียตะวันออกไปด้วย ส่วนอาณจักรแพคเจั้น ความพ่ายแพ้ในสงครามครั้งนี้ได้ดับความหวังทั้งมวลที่จะฟื้นฟูอาณาจักรอีกครั้ง ชาวแพคเจนำนวนมากได้ลีภัยไปอยู่ในโกคูรยอและบางส่วนก็ข้ามไปญีปุ่น
              สำหรับราชวงศ์ถัง ชัยชนะเหนือาณาจักรแพคเจทำให้พวกเขาได้ควบคุมพื้นที่เดิมของแพคเจและสร้างฐานทัพทางตะวันตกเฉียงใต้ของคาบมุทรเกาหลีเพื่อประสานกับซิลลาในการเข้ารุกรามโกครูยอ โดยกองทัพพันธมิตรซิลลา -ราชวงศ์ถังได้เข้ายึดกรุงเปียงยางเมืองหลวงของโกคูรยอได้ในปี 1211
 หลังจากพิชิตโกคูรยอลงได้ ราชวงศ์ถังกับซิลลาก็ขัดแย้งกันจนกลายเป็นสงคราม และแม้ว่ากองทัพซิลลาจะขับไล่ทหารจีนออกจากคาบสมุทรได้ ทว่าดินแดนเดิมของโกรุครยอส่วนที่อยุ่เหนือคาบสมุทรเกาหลีก็ถูกผนวกเข้ากับจีน ส่วนซิลลาได้ครอบครองส่วนที่เป้นคาบสมทุรเกาหลีทั้งหมดและถือเป็นการปิดฉากยุคสามก๊กแห่งเกาหลี          
           
 เมื่อสิ้นสุดสมัย 3 อาณาจักร อาณาจักรชิลลาถือว่าเป็นผุ้มีชัยบนคาบสมุทรเกาหลีทั้งหมด ในทางประวัติศาสตร์ถือว่า อาณาจักรชิลลาเป็นผุ้รวบรวมแผ่นดินเกาหลีให้เป็นผืนเดียวกันได้เป็นตรั้งแรกนับแต่ยุคสมัยดึกดำบรรพ์เป็นต้นมา จึงเรียกว่า "ยุคชิลลารวมอาณาจักร"
            ช่วงยุคสมัยนนี้นับจากปีที่อาณาจักรโคกูยอและอาณาจักแพ็กเจล่มสลาย ในความเป็นจริง อาณาจักรชิลลาไม่ได้ครอบครองดินแดนทั้งหมดไว้ ที่ครอบคลุมได้ทังหมดนั้นเพียงดินแดนทางตอนใต้เท่านั้นแม้แต่ดินแดนของโคกูรยอเดิม ชิลลาก็ไมด้มาเพียงบางส่วนเท่านั้น ไม่เพียงที่ต้องยกคาบสมุทรเหลียวดลให้กับจีน แต่ดินแดนทางเหนือจรดไปถึงแมนจูเลียตกอยู่ในการควบคุมของอาณาจักรเกิดใหม่อีกอาณาจักรหนึ่ง คือ อาณาจักพัลแฮ หรือ ป่อไห่ในชื่อภาษาจีน นักประวัติศาสตร์จึงจัดเป็นยุคอาณาจักรเหนือใต้ของเกาหลี
            หลังจากอาณาจักรพัลแฮถูกราชวงศ์เหลี่ยวตีจนแตกนั้นประชาชนพากันอพบยพลงใต้มาบริเวณอาณาจักรโคกุเรียวเดิม แล้วเชื้อพระวงศ์ของอาณาจักรพัลแฮก็สถาปนาอาณาจักรใหม่บริเวณอาณาจักรโคกุเรียวเดิม แล้วให้ชื่อว่า "อาณาจักรโคกุเรียวใหม่" และสภาปนาตนเองเป็นกษัตรย์..ส่วนชาวแพ็กเจที่อยู่ในอาณาจักรรวมชิลลาก็ได้ก่อกบฎต่ออาณาจักร มีหัวหน้าคือ คยอน ฮวอน แล้วตั้งถ่ินฐานที่บริเวณอาณาจักรแพ็กเจ เดิม แง้วไใ้ชือว่า "อาณาจักรแพ็กเจใหมส่" แล้วสถาปนาตนเองเป็นกษัตริย์..แล้วทำการก่อกบฎต่อาณาจักรวรรชิลลา ทำให้ชิลลาเกิดความระส่ำระส่าย จึงนับเป็นยุคสามอาณาจักรยุคหลัง
           วังฮุมา สถาปนาตนเองเป็นกษัตริย์แทโจแห่งราชวงศ์โคเรียว อาณาจักรนี้เจริญสูวสุดในสมัยกษัตรย์มทุนจง ยุคนี้เป็นยุคที่ส่งเสริมพระพุทธศาสนามีการทำสงครามกับพวกญี่ป่นุและมองโกล ถูกจีนควบคุมในสมัยราชวง์หยวน จนเมื่ออำนาจของราชวงศ์หยวนอ่อนแดลง อาณาจักรโครยอต้องพบกับปัญหาโจรสลัดญี่ปุ่นและการรุกรานของราชวงศ์หมิง ในที่สุดทำให้ฝ่ายทหารมีอำนาจมากขึ้นจนนำไปสู่การยึดอำนาจของนายพล อีซองกเย และสถาปนาราชวงใหม่ขึ้น คือราชวงศ์โซซ็อน ในสมัยนี้ส่งเสริมขงจื้อ ให้เป็นลัทธิประจำชาตและลดอิทธิพลพุทธศาสนา และประดิษฐ์ "อักษรฮันกึล"ขึ้นใช้แทนอักษรจีน ต่อมาอาณาจักรโชซ็อนได้ประกาศยกสถานะของรัฐจากราชอาณาจัรเป็นจักรวรรดิ และเปลี่ยนจากกษัตริย์เป็น จักรพรรดิ เพื่อให้ประเทศเป็นเอกราชจากจักรวรรดิชิง และยกสถานะของประเทศให้มีความเท่าเทียมกับจักวรรดิชิง และจักรวรรดิญี่ปุ่น แม้ว่าโดยพฤติการณ์แล้วสถานะของเกาหลีมไม่ได้เข้าข่ายการเป็นจักรวรรดิก็ตาม กระทั่้งถูกญี่ปุ่นเข้ายึดครอง ในปี พ.ศ. 2453 กระทั้งญี่ปุ่นแพ้สงครามในปี พ.ศ. 2488
         
                  - www.KomKid.com/ประวัติศาสตร์สังคม/ยุทธการแบคกัง(Battel of Baekgang) ปิดฉากสามก๊กเกาหลี
                  - http//th.wikipedia.org/../คาบสมุทรเกาหลี
           

วันพุธที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Why..East Asia Summit

              การประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออก ที่กรงุกัวลาลัมปอร์ในวันพุธนี้ ถือเป็นเหตุการณ์ประศาสตร์ ที่จะส่งผลสะเทือนต่ออนาคต และจะเกริกไกรเช่นเดียวกับการประชุมสุดยอดครั้งแรก ของผุ้นำกลุ่มสมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียนที่บาหลี เมื่อปี 1976  ในการประชุมครั้งนั้น อาเซียนมีเพียง 5 ประเทศ ( อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์  สิงคโปร์ และไทย) ยังไม่มีการรวมเป็น 10 ชาติ ที่รวมประเทศคอมมิวนิสต์ในอินโดจีนที่เพ่ิงอุบัติขึ้นเข้ามาด้วย
             ในปัจจุบันการที่จีนผงาดขึ้นมา อินเดียฟื้นต้ว และสหรัฐมที่ครองความเป็นเจ้าแต่ผุ้เดียวในย่านเอเชีย - แปซิฟิก มาตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 หายไปในการประชุมที่กัวลาลัมเปอร์ในครั้งนี้ ขั้ให้เห็นว่าเราได้มาถึงจุดบรรจบแห่งยุคใหม่แล้ว การปฐมฤกษ์แห่งการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ครั้งนี้ เกิดขึ้นหลังการประชุมสุดยอดครั้งที่ 11 ของอาเซียนในกรุงกัวลาลัมเปอร์ นับเป็ฯการเฉลิมฉลองการฟื้นตัวขึ้นมาอย่างกล้าแข็ง จากโรคเรื้อรังทางเศราฐกิจการคลังของเอเชีย จนกระทั่งนำมาซึ่งวิกฤตการณ์ างการเงินในเอเชีย ในช่วงปี 1997-98  ขณะที่สหรัฐถุกหันเปไปกับพันธะะกรณีที่ตัวมีต่ออีรัก
               ความแน่นแฟ้นของเอเชียตะวันออก  การประชุมสุดยอดในวันพุธนี้สำคัญเพราะเอเชียได้รเริ่มก้าวแรกออกำปจากคำนิยาาม และการจำกัดวงที่คับแคบทางเชื้อชาติและเผ่าพันธุ์ ออกไปสู่การสร้างรากฐานให้กับสถายันระดับภูมิภาคใหม่ ก่อนการปรุชม EAS จะเป็นการพบปะสุดยอดประจำปีของอาเซียน ในการนี้ผุ้นำอเาซียนแต่ละประเทศจะแยกพบปะกับคู่เจรจาจีน ญี่ป่นุ และเกาหลีใต้ ตามมาด้วยการประชุมสุดยอดอาเซียน +3
              การผนวกเข้ามาของอินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ รวมทั้งการปรากฎตัวของวลาดิเมียร์ ปูติน แห่งรัศเซีย สะท้อนให้เห็นการมองออกไปนอกตัวเอง แสดงว่ากลุ่มภุมิภาคเอเชียตะวันออกที่เกิดใหม่นี้ จะต้องใช้ครรลองของการมีส่วนร่วมจากทางอื่นด้วย(ในทางภูมิศาสตร์ อินเดีย รัศเซีย ออกเตรเลีย และนิวซีแลนด์ อยุ่นอกเอเชียตะวันออก) นายอเหลินเจีนเป่าของจีน เสนอจะจัด EAS ครังที่สอง คราวนั้น ศูนย์การวิทัตคงจะย้ายจากเอเชียอาคเนย์ ขึ้นไปทางเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมุมมองของอาเซียนอาจจะไม่ชอบนัก และอาจจะด้วยเหตุนี้ ที่นำไปสู่ความรปารถนาที่จะนำประเทศอื่นๆ ที่ีมีปฏิสัมพันธ์อันดีกับย่านนี้เข้ามาร่วมด้วย
               ความเป็นปฏิปักษ์กับที่นับวัเพ่ิมขึ้น ของจีนและญี่ปุ่น ความเป็นอริกันทำให้เอชียอาคเนย์เกรงว่า จะเกิดสงครามเย็นรอบสองขึ้นในย่านนี้อีก ทุกวันนี้ จึงยังกระตุ้มเตือนในคนในย่านั้นตะหนักถึงลัะิขยายอาณาจักรของญี่ป่นุ ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เสมอ โดยชี้ข้อเท็จจริงที่นายก ฯจุนอิชิโร่ โคอิสุมิ  ไปเยื่อศาลเจ้ายาสุกุนิ ซึ่งเป้ฯที่เก็บอัฐิของอาชญากรสงครามตชของญี่ป่นุ เป้นประจำทุกปี รวมทั้งการที่ญี่ป่นุไม่ให้ความสำคัญต่อการกระทำทารุณกรรมของตน ในสงครามครั้งนั้น ว่าญี่ป่นุยังไม่แสดงความสำนึกผิดต่อการกระทำของตนอย่างเพียงพอ
             
  ท่มีวิพากษืวิจารณืของจีนก่อให้เกิดปฏิกิริยาในญีปุ่่นอย่างรุนแรง ส่วนที่น่าเป้นกังงวลที่สุด ก็น่าจะเป็นพวกเยาชนจีนและญี่ป่นุที่ชาตินิยมเห็นได้ชชัดจากถือยตอบดต้กันที่รุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ในหมู่พวกพัวกระทิทั้งสองฝ่าย ในที่รปะชุมสัมมนาต่างๆ ทั้งในระดับภูมิภาคและรดับสากล ทั้งๆ ที่ความสัมพันธ์ทางเสณาฐกิจระหว่างประเทศทั้งสอง นับวันย่ิงผุกพันสนิทแน่นกันอย่างรวดเร็วยิงขึ้นไปอี ขณะที่สมาชิกต่างๆ ในอาเซียนมีประสบการณื ต้องใช้เวลานานถึง 4 ทศวรรษกวาจะปรองดอ
ย่านนี้ขึ้นมาเป้นสถาบันได้สำเร็จ ประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเแียงเหนือก็ยังคงเน้นอยู่แค่ความสัมพันธ์ระดับทวิภาคี กับการหารรือ ระดับพหุภาคีเพื่อแก้ปขกรณีพิพาทเป้นการเฉพาะเชนากรหารือ 6 ฝ่าย เพื่อถอดชนวนดครงการอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือ เป็นต้น
               กระนั้นก็ดีประเด็นที่ญี่ป่นุยังขอขาในเหตุการณืสงครา่มโลกครังที่ 2 ไม่พอ  ก็ยังประสานคลองจ้องกันไปทั้งภูมิภาค โดยเฉพาะย่างยิ่งเกาหลีใต้ และอาจจะทำให้ญี่ป่นุโดดเดียวตัวเองออกมามากขึ้น
               สหรัฐกับโอกาสเชิงรุก สำหรับสหรัฐ EAS  เป็ฯปัฐหาทางการทูตของตัวประการหนึ่ง ถคึงหรัฐจะเป็นคู่ค้าชั้นนำของทุกใน EAS และมีความสัมพันธ์ด้านความมั่นคงกับตัวละครสำคัญ เช่น ญ่ปุ่น แ่สหรัฐก็ยังหาเหตุเข้าประชุมคตรั้งนี้ไม่ได้  เพียงเพราะสหรัฐไม่ยอมรับสนธิสัญญามิตรไมตรีและความร่วมมือ ของอาเซียน ในปี 1976 ที่หวังจะ "ส่งเสริมให้เกิดสันติภาพที่ยั่งยืน มิตรไม่ตรีและความร่วมมือที่ถายรในหมู่ประชาชน (อาเซียน)ของตน อันจะนำมาซึ่งความเข้มแข็ง ความสาานฉันท์ และความสัมพันธ์อันใกฃล้ชิดยิ่งขึ้น" เมื่อพิจารณาจากกำหนดการเร่งด่วของทำเนียบขาว เกือบไม่น่าจะเป้ฯไปได้ ที่ปรธานาธิบดีสหรัฐฯ จะยอมตามคำหว่านล้อม เพื่อเดินทางไปเยือนกลุ่มประเทศ ทราน-แผซิฟิกเป็นประจำปี ห่างจากการประชุมเอเปค ไม่ถึง 1 เดือน ทุกวันนี้ ระบบพันธมิตรของสหรัฐในเอเชีย  ก็มีแค่เอเปค และชมรมภุมิภาคอาเซียน เท่านั้น แต่สหรัฐจะต้องกลับไปทบทบวน หาทางเข้าร่วม EAS ใหม่ เพราะต่อไปนี้ EAS จะกลายเป้นสวนหนึ่งของสถาบันในภูมิภาคนี้ไปแล้ว
             
 อเมริกายังเป้นกังวลอยุ่แต่การที่ไต้หวันจะถูกลดขึ้น ทำให้ตัวไม่ให้ความสำคัญต่อบทบาทริเร่ิมของจีน ที่จะขอจัดระชุมรัฐมนตรีต่างประเทศเอเปค ที่กรุงซานดิอเโก้ เประเทศชิลีในปี 2004  อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาว่าเอเชียตะวันออก กำลังผงาดขึ้มาเป้ฯสถาปนิกเขียนแบบความร่วมมือด้านความั่นคงในภูมิภาคนี้ ก็ย่อมเป็นผลประโยชน์ของสหรัฐเอง ที่จะต้องเปข้าไปสรับสนุนบทบาทางการเมืองและความมั่นคงของเอเปค ให้มากขึ้น การยกเครื่องเพิ่มพลังเอเปค แบบนี้ไม่จำเป็นต้องแข่งดกับ EAS หรือ APT หากควรประกอบส่วนำันไปมากกว่า การที่สถบันเหล่านี้จะมีสมาชิกภาพที่เหลือมซ้อนกันอยู่ ก็น่าจะใหญ่พอที่จะเป้นแกนเป็นศุนย์กลางของเอเชีย-แปซิฟิได้อย่างสบาย
                ขณะที่ตอนนี้ เอเปคมีผุ้อนวยการที่ต้องรับผิดชอบประเด็นด้านความมั่นคงนอแแบบ อาทิ เช่น การตอบโต้การก่อการร้าย และโรคระบาด เอเปคก็ควรพิจารณาแต่างตั้งผุ้อำนวยการ ทที่จะมาดูแลประเด็นเรืองการเมือง สังคม และความมั่นคงที่เกิดจากการต้า อาทิ เช่นสนองให้เกิดความมั่นคงที่เป็นลูกโซ่ ความปลอดภัยทางทะเล พลังงาน และสิ่งแวดล้อมขึ้นด้วย การอำเอเปคให้มีวาระที่กว้างขึ้น ก็น่านจะสอดคล้องกบการที่เอเปคเป้นสถาบันเดียวในเอเชีย-แปซิฟิก อันเป็นที่องค์ประชุมในระดับหัวหน้ารัฐบาลทั้งหลายใยบ่านนี้
                นักวิเคราะห์ชาวอเมริกันหลายคน รวมทั้งจอห์น มีอาร์ไวเมอร์ ประจำมหาวิทยาลัยชิคาโก้ ยังคงกังวลที่จะต้องไปเผชิญหน้ากับจีนที่ผงาดขึ้นมา และหมกมุ่นกับการสร้างควมสัมพันะ์กับประเทศชายเขตของจีน เพื่อถ่วงดุลจีน อาทิ เช่น ญี่ป่นุ อินเดีย และเวียดนาม... สำหรับ ARF ก็คลบ้ายๆ กัน การที่นางคอนโรีซซ่า ไรซ์ รมต.ต่างประเทศสหรัฐ ตัดสินใจไม่เข้เาร่วมการปรุมประจำปี ARF เป็นการกระทำที่ผิดพลาด แม้สไรัญจะต้องเผชิญความเสี่ยงในเอเชียตะวันออกมากว่า นดยบายของสหรัฐก็ยังคงเน้นอยุ่ที่ยุโรปเหมือนเดิม
                 ในช่วงสงครามเย็น  แม้จะใช้นโยบายไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด แต่เห็นได้ชัดว่าอาเซียนอยู่อยู่ฝ่ายตะวันตก ด้วยการเดินหมกทางการทูต เพื่อสถาปนาองค์การใรนระดับภูมิภาคแบบทวิภาคี ที่สลับซับซ้อนของจีน อาเซียนเร่ิมพัฒนความสัมพันธืที่ใกล้ชิดกับจีนากขึ้น ทั้งนี้ดดยนมองกันว่า เพื่อถ่วงดุลลัทะิฉายเดี่ยวของสหรัฐ สมาชิกใหม่ของอาเซียนบางประเทศ เช่น พม่า ลาว และกัมพูชาได้ประโยชน์จากความใจป้ำของจีนและช่วยผ่อนคลายความกังวลจีนในหมุ่อาเซียนด้วยกัน แต่สมาชิกดั่งเดิมของอาเซียนลบางประเทศ เช่นมาเลเซียกับไทยก็แห่ตามไปกับจีน
               สำหรับอาเซียนบางประเทศ ที่เห้ฯด้วยกับหลักการถ่วงดุลอำนาจในภุมิาภาค การเขียนพิมพ์เขียวด้วยมุมมองอกไปจากตัวและส่งเสริมให้ประพฤติปฏิบัติตามบรรทัดฐาน และบทบัญญัติระหว่างประเทศต่างๆ ย่อมเป็ฯที่น่าปรารถนามากว่าจะไปอยู่ใต้ศอกของมหาอำนาจชาิตหนึ่งชาติใดโดยเฉพาะ การที่สหรัฐปรากฎตัวในภูมิภาคนี้อย่างคึกคัก ย่อมจะช่วยรักษาอนาคตของภุิภาคแถบนี้ไว้ ดังนั้น ในปี ต่อๆ ไป สหรัฐก็ควรเข้าร่วมประชุมกับ EAS เพราะมันกำลังจะกลายเป(็นแกนหลัก ที่จถสถาปนาสถาบันแห่งเอเชียตะวันออกขึ้นมาโดยไม่ต้องสงสัย...(www.manager.co.th..."การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกสำคัญอย่างไร")

วันอังคารที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Kuala Lumpur Declaration on the East Asia Summit

               EAS ย่อมาจาก East Asia Summit หมายถึง การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก เกิดขึ้นากการประชุมสุดยอดอาเซียน + 3 เมื่อปี พ.ศ. 2547 ซึ่งผุ้นำอาเซียน +3 เห็นตรงกันว่าการจัดตั้งเอเชียตะวันออก EASเป็นเป้าหมายระยะยาวของกรอบอาเซียน + 3 และเห็นควรให้มีการจัดประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2548 ที่ประเทศมาเลเซีย โดยมี 16 ประเทศเข้าร่วมได้แก่ 10 ประเทศอาเซียน และ จีน ญี่ป่นุ เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
             มีการลงนามปฏิญากรุงกัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยการประชุมสุดยอดเอเชีย -ตะวันออก Kuala Lumpur Declaration on the East Asia Summit ซึ่งกำหนดให้ EAS เป็นเวทีสำหรับการหารือประเด็นทางยุทธศาสรตร์การเมืองและเศรษฐกิจที่เปิดกว้างและครอบคลุม
             การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก เป็ฯการประชุมระดับผุ้นำประเทศ ซึ่งเกิดขึ้นจากแนวคิดของอตีตนายกรัฐมนตรี มหาเธร์ บิน โมฮัมหมัดของประเทศมาเลเซีย ที่ได้เสนอแนวคิดจัดตั้งความร่วมมือทางเขตเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก East Asia Economic Caucus : EAEC ในปี 1991 ซึ่งจะเป็ฯการรวมกลุ่มเฉพาะประเทศเอเชียตะวันออกโดยไม่มีสหรัฐอเมริการรวมอยู่ด้วย เพื่อถ่วงดุลอำนาจหรัฐอเมริการนั่นเอง แต่แนวคิดนี้ไม่ได้รับการตอบสนองจากหลายประเทศ โดยเฉาพะญี่ปุ่น
             ต่อมาในปี 2002 ได้มีกลุ่มศึกษาเอเชียตะวันออกซึ่งจัดตั้งดดยกลุ่มประเทศอาเซียน +3 ทำรายงานให้มีการจัดประชุมสุดยอดขึ้นเป็นประจำของสมาชิกเอเชียตะวันออก โดยมีอาเซียนเป็นแกนำ และในการจัดประชุมนั้นจะต้องเชื่อมโยงกับการจัดการประชุมสุดยอดอาเซียนด้วย
             EAS ถือกำเนิดขึ้นในป 2004 จากการประชุมสุดยอดอาเซ๊ยน +34 และในปี 2005 มีสมาชิกมาร่วมอีก 3 ประเทศ รวมทั้งสิ้น 16 ประเทศ หรืออาเซียน + 6 โดยมีการลงนามและประชุมครั้งแรกที่กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ต่อมา ในการประชุมครั้งที่ 2 ปี 2007 ที่ประชุมได้เห็นชอบให้กำหนดสาขาความร่วมมือหลัก 5 สาขา ได้แก่ พลังงาน การศึกษา การเงิน และการจัดการภัยพิบัติไข้หวัดนก(ต่อมาได้ปรับเป็นประเด็นสาธารณะสุขระดับโลกและโรคระบาดในปี 2011) อีทั้งเห็นชอบข้อเสนอของญี่ปุ่นให้จัดตั้ง Economic Research Institute for ASEAN and East Asia : ERIA และจัดทำ Comprehensive Economic Partnership in East Asia : CEPEA การประชุม EAS ครั้งที่ 5 ในปี 2010 ณ กรุง ฮานอย ประเทศเวียดนาม ที่ประชุมได้มีมติรับประเทศสหรัฐอเมริกา และรัสเซีียเข้าเป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการ โดยประเทศทั้งสองเข้าประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกอย่างเป็นทางการในการประชุมครั้งที่ 6 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ในปี 2011 ปัจจุบันมีสมาชิกจำนวน 18 ประเทศ ประกอบด้วย ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซึีแลนด์ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย
              บทบาทสำคัญของ EAS คือ การประสานนดยบายระหว่างประเทศสมาชิกทั้งทางด้านเศราฐกิจ การเมืองและสังคม โดย เฉพาะอย่างยิ่งการผลักดันให้เกิดการจัดตั้งความตกลงเขตการต้าเสีเอเชียตะวันออก East Asia Free Trade Area : EAFTA และการจัดตั้งประชาคมเศราฐกิจเอเชียตะวันออก East Asia Economic Community : EAEC ต่อไป
              การประชุม EAS ครั้งที่ 9 จัดขึ้น ณ กรุงเนปิดอว์ ประเทศเมียนมา ปี 2014 โดยประธานในที่ประชุม คือ ฯพณฯ U Thein Sein ประธานาธิบดีสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา มีผลการประชุมที่สำคัญบางประเด็น ดังนี้
              - ที่ประชุมได้รับรองเอกสารจำนวน 4 ฉบับ คือ ปฏิญญาการประชุมสุดยอเอเชียตะวันออก ว่าด้วยการปราบปรามการลักลอบค้าสัตว์ป่า, แถลงการณ์การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ว่าด้วยแนวทางในการตอบสนองอย่างเร่ิงด่วนต่อัยพิบัติ, แถลงการณืร่วมว่าด้วยการรับมือกับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสอีโบล่าของภุมิภาค และ แถลงการณ์การประชุมสุดยอเอเชียตะวันออกว่าด้วยความรุนแรงและความโหดร้ายที่เพิ่มขึ้นจากการกระทำขององค์องคก์การก่อการร้าย/หัวรุนแรง ่ในอิรักและซิเลีย
              - ในการประชุม EAS คงความเป็นเวทีหารือเชิงยุทธศาสตร์ระดับผุ้นำทีเปิดกว้าง โปร่งใส และครอบคลุม โดยมีอาเซียนเป็นแกนกลางในการขับเคลือน รวมทั้งส่งเสริมค่านิยมร่วมและแนวปฏิบัติ ที่เป็นสกล ตลอดจนหลักนิติะรรมและกำหมายระหวา่ประเทศ
             - มีการกระชับความร่วมมือใน 6 สาขาที่ EAS ให้ความสำคัญในลำดับต้น ได้แก่ การเงิน พลังงาน การจัดการภัยพิบัติ การศึกษา สาธารณสุข และความเชื่่อมโยง
             - สนับสนุนให้มีการจัดประชุมรัฐมนตรีคลัง EAS เป็นประจำทุกปี
             - การให้ความสำคัญกับความร่วมมือด้านการจัดการภัยพิบัติ
             - สนับสนุนข้อเสนอร่วมของออสเตรเลียและเวียดนาม ที่ตั้งเป้าหมายร่วมกันที่จะขจัดมาลาเรียให้หมดไปจากภุมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกในปี 2030
             - มีการแสดงความกังวลเกี่ยวกับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสอีโบลาและสนับสนุนความร่วมมือในเรื่องนี้ โดยหลายประเทศได้ให้ความช่วยเหลือทั้งในด้ารงบประมาณและอุปรากรณ์ทางการแพทย์
         
 - ประเด็นความมั่นคงทางทะเล โดยเฉพาะในบริบทสถานการณ์ในทะเลจีนใต้ ซึ่งมีประชุม ฯ ย้ำถึงการแก้ไขปัญหาด้วยการเจรจาอย่างสันติ โดยให้ความสำคัญกับการปฏิบัติตามกฎหมายระหว่างประเทศ การใช้ความยับยั้งชั่งใจไม่ดำเนินการใด ๆ ที่ทำใหสถานการณ์ทวีความตึงเครียดมากขึ้น และการเจรจาจัดทำแนวปฏิบัติในทะเลจีนใต้
            - ประเด็นปัญหาคาบสมุทรเกาหลี สนับสนนุให้มีการปฏิบัติตามข้อมติที่เกี่ยวข้องของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ รวมทั้งสนับสนุนความพยายามต่างๆ ที่จะทำให้กลับคืนสู่การเจรจา 6 ฝ่าย ที่ประกอบด้วย เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้ รัสเซีย จีน ญี่ป่นุ สหรัฐอเมริกา
            - ประเด็นปัญหาความรุนแรงจากกลุ่มก่อการร้ายในอิรักและซีเรีย Isalamic State of Iraq and the Levant : ISIL มีการเรียกร้องให้มีการปฏิบัติตามข้อตกลงของ UNSC และการส่งเสริมความร่วมมือเพือก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการ โดยสนับสนนุการแลกเปลี่ยนข้อมุลกันให้มากยิ่งขึ้น และการส่งเสริมความมั่นคงชายแดน..(www.aseanthai.ne... บทความพิเศษ "การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก : ประเด็นที่สำคัญบางประเด็นจากการประชุมครั้งที่ 9)

วันจันทร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

East Asean Summit : EAS

              การจัดการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก East Asia Summit : EAS ในปี พ.ศ. 2548 เป็นพัฒนาการที่สำคัญในความรน่วมมือเอเชียตะวันออกเนื่องจากเป็นการเปิดมิติใหม่ของความสัมพันธ์และความร่วมมือในภูมิภาคและมีการเปิดโอกาสให้ประเทศนอกภูมิภาคเข้ามามีส่วนร่วมด้วย ดดยประเทศอาเซียน + 3 ที่ผลักดันให้ประเทศนอกูมิภาคได้เข้าร่วมใน EASแม้จะมีเหตุผลแตกต่างกันไป แต่ก็มีเป้าหมายตรงกัน คือ ไม่ต้องการให้ EAS จำกัดอยู่เฉพาะแค่ประเทศอาเซียน +3เนื่องจากยังมีความหวาดระแวงกันเองทั้งที่จุดประสงค์ดั้งเดิมของ EAS จะเป็นวิวัฒนาการของการประชุมสุดยอดอาเซียน +3 ซึ่งจะจัดขึ้นเมื่อประเทศอาเซียน +3 มีความไว้เนื้อเชื่อใจกันมากพอ
             ปัจจุบัน EAS ประกอบไปด้วยสมาชิก 16 ประเทศ ซึ่งได้แก่ ประเทศอาเซียน +3 และประเทศที่เข้ามาใหม่ 3 ประเทศ ได้แก่ อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ซึ่งมักเรียกกันว่าอาเซียน +6 โดยในมุมมองของอาเซียน EAS จะเป็นเวทีใหม่อีกเวทีหนึ่งที่อาเซียนปรารถนาจะมีบทบา นำ แต่ในมุมมองของประเทศภายนอกอาเซียนโดยเฉพาะประเทศที่เข้ามาใหม่ทั้ง 3 ประเทศ EAS เป็นเวทีที่ประเทศทั้ง 16 ประเทศมีความเท่าเทียมกัน
           EAS จะเข้ามาแทนที่กรอบอาเซียน +3 หรือจะพัฒนาคู่ขนานกันไปจะทำให้ความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเข้มแข็งหรืออ่นแอลงเป็นสิ่งที่ต้องศึกษากันต่อไป อยางไรก็ดี EAS อาจเป็นผลดีต่อความร่วมมือในเอเชียตะวันออกในระยะยาวเพราะช่วยให้ความร่วมมือในเอเชียตะวันออกมีพลงัตมากขึ้น การที่เป็นเวทีความร่วมมือที่เปิดกว้างไม่จำกัดเฉพาะประเทศในเอเชียตะวันออกทำให้ EAS สามารถปรับตัวให้เข้ากับการปลี่ยนแปลงของโครงสร้างทางเศราฐกิจและการเมืองของโลกไ้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ ยังอาจใช้เป็นเครื่องมือสำคัญควบคุมจีน หากในอนาคตจีนมีท่าที่เปลี่ยนไปในทางที่พยายามจะแสดงอิทธิพลมากขึ้น ทั้งนี้ ในปัจจุบัน EAS มีการประชุมมาแล้ว 5 ครั้ง ในการประชุม EAS ครั้งที่ 5 ในเดือนตุลาคม 2553 ที่กรุงฮานอย ได้มีการออกเอกสาร Ha Noi Declaration on the Commemoration of 5th Anniversary of the EAS เพื่อแสดงเจตนารมณ์และพันธะทางการเมืองในการส่งเสริมควารมร่วมมือและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ EAS ต่อไป อย่างไรก็ดีกรอบอาเซียน +3 เป็นกรอบที่มีความเป็นไปได้มากว่า EAS เนื่องจากมีความร่วมมือที่มีความก้าวหน้าไปแล้วในหลายๆ ประเด็น

            ญีุ่่ปุ่นมีผลประโยชน์ทั้งทางเศราฐกิจและการเมืองอย่างสูงในการรวมตัวกันในเอเชียตะวันออก โดยการรวมตัวกันแบบ EAS (อาเซียน + 6 ) จะทำให้ประโยชน์ทางเศราฐกิจของญี่ป่นุเกิดขึ้นสูงที่สุด เนื่องจากจะมีการเติบโตทางเศราฐกิจสูงกว่าการรวมตัวในแบบอาเซียน +3 สำหรับด้านการเมืองการขัเคลื่อนประเด็นเกี่ยวกัยประชาคมเอเชียตะวันออกจะช่วยให้ญี่ปุ่นสามารถรักษาสถานภาพการมีบทบาทนำในภูมิภาคไว้ได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานภาพนำต่อจีนโดยญี่ปุ่นมองว่าการดำเนินนโยบายการต่างประเทศในประเด็นนี้ จะสามารถตอบสนองผลประดยชน์ของญี่ป่นุได้ใน 3 ประการ คือ 1. กระบวนการความร่วมมือนี้มีประโยชน์ในเนื้อหาสาระในตัวของมันเอง 2. การพบปะหารือกันแบบพหุภาคีเป็นโอกาศที่จะสามารถหารือในประเด็นอื่นๆ ที่นอกเหนือจากเรื่องประชาคมได้ทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี 3. เป็นโอกาสดีที่ญี่ปุ่นจะสามารถมีนโยบายต่อเอเชียอย่างรอคลุมเป็นครั้งแรกตั้งแต่สิ้นสุดสงคราดลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา
            ทั้งนี้ ญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะใช้เอเชียตะวันออกเป็นฐานเพื่อมีบทบาทในการปฏิรูรประบบการบริหารจัดการโลกเพื่อแก้ไขปัญหาการเกิดวิกฤตพลังงาน วิกฤติอาหาร และวิกฤติการเงินโลกในปี 2551 อย่างยั่งยืนตลอดจนเดื้อต่การสร้างระบบการบริหารจัการเศราฐกิจโลกใหม่ที่เหมาะสมขึ้นมา
            ญี่ปุ่นเน้นแนวทาง EAS (ASEAN +6 ) ที่มีออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดียเข้าเป็นสมาชิกด้ยโดยนโยบายและบทบาทของญี่ปุ่นมักจะขึ้นอยู่กับนโยบายและบทบาทของจีนในประชาคมเอเชียตะวันออกเป็นอย่างมาก หลายฝ่ายในญี่ปุ่นมองว่า เอเชียตะวันออกจะไม่สามารถพัฒนาเป็นประชาคมในลักาณะเดียวกับสหภาพยุโรปได้เพราะมีเงื่อนไขที่ต่างกันทั้งในเชิงสถาบันแลค่านิยมไม่ว่าจะเป็นการขาดองค์การระหว่างประเทศที่จะเป็นกลไกในการประสานความร่วมมือค่านิยมที่แตกต่างกันในประเด็นประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนตลอดจนความรุ้สึกชาตินิยมที่ยังคงเข้มข้นในหม่ชาติเอเชีย อย่างไรก็ตามเอเชียตะวันออกน่าจะสามารถรวมตัวกันได้ในลักษณะเฉพาะแบบเอเชีย ที่ผ่านมา ญี่ปุ่นยงขาดการบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประชาคมเอเชยตะวันออกเนืองจากการแบ่งแยกกันสูงระหว่างการทำงานของกระทรวงต่างๆ โดยนโยบายประชาคมเอเชียตะวันออกของญี่ผ่นุมุ่งเน้นไปที่การแก้ไขปัญหาความสัมพันธ์กับจนเป้ฯหลักโดยเฉพาะอย่างอยิ่งในสมัยนายกรัฐมนตรีจุอิจิโร โคอิสึมิ อย่างไรก็ดี หลังจากที่ญี่ปุ่นมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งใหญ่ หลังพรรคประชาธิปไตยญี่ปุ่นได้รับชัยชนะการเลือกตั้งทั่วไปเหนือพรรคเสรีประชาธิปไตยซึ่งเป็นรัฐบาลมายาวนานกว่า 50 ปี และนายยูกิโอะ ฮาโตยามา เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีดดยได้ประกาศอย่างแข็งขันที่จะผลักดันการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกทั้งยังได้กล่าวเชิญจีนให้มาร่วมมือกันสร้างประชาคมอยางแข็งขัน
           แสดงให้เก็นถึงท่าที่ใหม่ของรัฐบาลญี่ปุ่นในการดำเนินนดยบายการต่างประเทศศที่ให้ความสำคัญกับเอเชียมากยิ่งขึ้นโดยนายฮาโตยามาต้องการผลักดันการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์และความเจริญรุ่งเรื่องในภุมิภาค บนพื้นฐานของการเปิดกว้าง โปร่งใส และครอบคลุม และเน้นหลักการความเป็นพี่น้องกันเริ่มจากความร่วมมือด้านเศราฐกิจก่อน แล้วค่อยๆ ขยายไปในสาขาอืนๆ นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงการมีเงินสกุลเดียวกันอีกด้วย ทั้งนี้ นายฮาโตยามามิได้กล่าวถึงประเทศที่จะเป็นสมาชิกของประชาคมเอเชียตะวันออก แต่เป็นที่เข้าใจได้ว่าญี่ป่นุต้องการให้ครอบคลุมประเทศที่เข้าร่วมใน EAS แต่หลีกเลี่ยงที่จะกล่างถึงเรื่องจากไม่อยากจะเผชิญหน้ากับจีน ซึ่งมีท่าที่ที่ชดเจนว่าประชาคมเอเชียตะวันออกควรเร่ิมจากกรอบอาเซียน +3 ก่อน

          โดยในปี พ.ศ. 2553 สำนักเลขาะิการคณะรัฐมนตรีของญี่ป่นุได้เผลแพร่เอกสารเกี่ยวกับการดำเนินการในอนาคตเกี่ยวกับแนวคิดประชาคมเอเชียตะวันออก ซึ่้งเน้นการดำเนินการในก้านต่างๆ ได้แก่ 1) ด้านเศรษฐกิจโดยการส่งเสริมการจัดทำความตกลงเขตการต้าเสรี และหุ้นส่วนเศราฐกิจและการส่งเสริมการลงทุนในภูมิภาค และส่งเสริมความเชื่อมโยงในภูมิภาคด้านการแก้ปขปัญหาการเปลี่นแปลงสภาพภูมิอากาศ 2) ด้านการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศดดยเสนอที่จะแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยเสนอที่จะแก้ไขปัญหาด้วยการส่งเสริมให้มีกรใช้เทคโนดลยีที่ก้าวหน้าของญี่ป่นุรวมทั้งถ่ายทอดความรุ้แลประสบการณ์ของตนให้แก่ประเทศอื่นๆ 3) ด้านการป้องกันภัยพิบัติและโรคระบาดโดยเสนอให้มีการตั้งศูนย์ป้องกันภัยพิบัติแห่งเอเชียเพื่อเป็นจุดศูนย์กลางในการให้ความรุ้แลถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง และสร้างเครือข่ายเพื่อป้องกันและสร้างมาตรการในการรับมือกับโรคระบาด 4) ด้านความมั่นคงทางทะเล ดดยส่งเสริมการแก้ไขปัญหาโจรสลัด รวมทั้งส่งเสริมความมั่นคงและความปลอภัยทางทะเล 5) ด้านการศึกษาและวัฒนธรรม ดดยส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนบุคลากรทั้งนักเรียน เยาวชน และนักวิจัย
                ในกรอบอาเซียน + 3 ญี่ป่นุแสดงบทบาทแข็งขันไม่ว่าจะเป็นบทบาทในความร่วมือทางการเงินโดยเฉพาะในส่วนของข้อตกลงความริเริ่มเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี 2543 หรือการประกาศที่จะจัดทำความตกลงหุ้นส่วนทางเศราฐกิจระหว่างอาเซียนกับญี่ป่นุ ในปี 2545 เป็นต้น โดยในทางปฏิบัติ ญี่ปุ่นมีเครื่องมือทางนโยบายที่สำคัญอยุ่ 3 ประการ เพื่อผลักดันนโยบายและแสดงบทบาทของตน ได้แก่ 1) การจัดทำและใชบังคับ AJCEP ซึ่งเป็นความตกลงเชตการต้าเสรีระหว่งญี่ปุ่นกับอาเซียนซึญี่ป่นุถือว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญในการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกเนื่องจากมีส่วนในการส่งเสริมสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทสที่จะส่งผลต่อญี่ป่นุในการกำหนดกลยุทธ์ทางการทูตกับประเทศอื่นๆ เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการก่อตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก  2) การช่วยเสริมสร้างสมรรคภาพ ให้แก่ประเทศกำลังพัฒนาในอาเซียน ด้วยการให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนเพื่อลช่องว่าของระดับการพัฒนาในภุมิภาค ซึ่งที่ผ่านมาเป็นอุปสรรคต่อการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจและการรวมตัวกันฃของประชุาคมเอชียตวะันออกโดยญีปุ่นได้ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศต่างๆ ในอาเซียนโดยเฉพาะประเทศในอนุภุมิภาคลุ่มน้ำโขงในหลายรุปแบบ เช่น การพัฒนาสาธารณุปโภคและเทคโนดลยี การพัฒนการศึกษาและทรัพยากรบุคคล และการเสริมสร้างสมรรถนะ 3) ความร่วมมือด้านการเงินภายในภูมิภาค เพื่อสร้างเสถียรภาพของค่าเงินและเศราฐกิจในภูมิภาค เช่น นโยบายการทำให้เิงนเปยเป็นสากล ตลอดจนเพื่อตอบสองผลประโยชน์ของของญี่ปุ่นเองทั้งในสวนของภาคเอเชนและภาครัฐ เน่องจากการพึ่งพาอาศยทางเศราฐกิจระหว่างประเทศในภุมิภาคที่มีเครือข่ายการต้าการลงทุนของญี่ป่นุมีเป็นจำนวนมาก อีกทัี้งสถาบันการเงินของญี่ป่นุได้ปล่อยเงินกุ้จำนวนมหาศาลแก่ประเทศเหล่านี้เมื่อประเทศที่เป็ฯฐานการผลิตและลูกหนี้เวินกุ้ของญี่ปุ่นประสบวิกฤติ ญี่ป่นุก็ย่อมได้รับผลกระทบด้วยเชิ่นกัน ญี่ป่นุจึงต้องเข้าไปให้ความช่วยเหลือด้านการเงินเพื่อรักษาเสถียรภาพทางการเงินและกระตุ้มเศรษฐกิจของประเทศในภุมิภาค นอกจานี้ญี่ป่นุยังเล็งเห็นว่าการผูกติดค่าเงินสกุลต่างๆ ของเอเชียกับค่าเงินคอลลาร์สหรัฐไม่เป็นผลดีประเทศในภูมิภาคควรมทีกลไกช่ยเลหือตนเอง ดังนั้น การทำให้เงินเยนเป็นสกลจึงเป็นการทำให้เงินเยนเป็นเงินสกุลหลักที่ใ้ในธุรกรรมทางเศราฐกจิระหว่างประเทศซึ่งจะช่วยสร้างระบบลทางการเงินที่มีเสถียรภาพ ไมุ่กติดกับเงินสกุลเดียวและลดความเสี่ยงด้านเิงนทุนที่เป็นเงินสกุลต่างประเทศซึ่งจะเห็นได้ว่าญี่ปุ่นมีทั้งวิสัยทัศน์และบทบาทเด่นในการผลักดันการรวมตัวของเอเชยตะวันออกซึ่งบทบาทดังกล่าวย่อมเป็นการตอบสนองผลประโยชน์ของญีปุ่เองทั้งในส่วนของธุรกิจภาคเอกชน และภาครัฐที่ต้องการสร้างเกี่ยติภูมิขิงญี่ป่นุนประชาคมโลก แต่ในขณะเดียวกันถือได้ว่าบทบาทดังกล่าวจะก่อให้เกิดความเข้มแข็งทางเศราฐกิจอขงญีปุ่่นปละภูมิภาคในลักษณะผลประดยชน์ร่วมมือจากการพึงพาอาศัยกันระหวางประเทศในูมิภาค

            ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก ได้แก่ 1 นโยบายและบทบาทของญี่ปุ่และจีนในประเด็นการรวมตัวในภุมิภาคซึ่งต่างขึ้นอยุ่กับนโยบายและบทบาทของอีกฝ่ายหนึ่งเป็นอย่างมากโดยต่างฝ่ายต่างช่วงชิงบทบาทนำในการริเริ่มข้อเสนอต่างๆ 2. ทัศนะและท่าที่ที่แตกต่างกันของประเทศในอาเซียน +3 และความสนใจอย่างมากของประเทศภายนอกที่มีต่อความร่วมมืแอละการรวมตัวกันในเอเชียตะวันออก และ 3. ปัจจัยพื้นฐานของประเทศภายในภุมิาคซึ่งมีควาหลากหลายและแตกต่างกันมาก
           จากปัจจัยสำคัญข้องต้นการรวมตัวเป้นประชาคมเอเชียตะวันออกจะมีความแตกต่างจากสหภาพยุโรปที่มีการรวมตัวกันในเชิงลึกจนพัฒนาก้าวหน้าจนเป็นสหภาพทางการเมืองซึ่งเอเชียตะวันออกคงไม่สามารถเจริญรอยตามนั้นได้อย่างไรก็ตาม เอเชียตะวันออกจะรวมตัวและร่วมมือกันด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ เขตการต้าเสรี ความร่วมมือด้านการเงินและความร่วมมือเชิงหน้าที่ โดยท้ง 3 ส่วนนี้ มีพัฒนาการทีค่อนข้างดีในกรอบอาเซียน + 3 ซึ่งในปี 2550อาเซียน +3 ได้ออกแผนงานเพื่อความร่วมมืออาเซียน +3 ระหว่างปี 2550-2560 เพื่อกำหนดทิศทางในการเพิ่มความร่วมมือต่างๆ อีก้ดวยซึ่งเอเชียตะวันออกน่าจะมีการรวมตัวกันในลักษณะเฉพาะของัวเอง เนื่องจากยังมีความแตกต่างและข้อจำกัดอยู่มากแต่ก็ถือได้ว่า เป็นประบวนการความร่วมมือละภูมิภาคนิยมที่มีนัยสำคัญอันจะก่อให้เกิดประเดยชน์แก่ประเทศในภุมิาภคได้... ( บทความ "บทบาทของญี่ปุ่นในประชาคมเอเชียตะวันออกและนัยต่อประเทศไทย")

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...