วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Under The Attack

              ในปี พ.ศ. 2558 สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ าเซียนะได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการรวมตัวจากสมาคม เป้ฯประชาคมอาเซยน หรือ ASEAN Community โดยแบ่งการการทำงานออกเป็น 3 เสาหลักสำคัญ คือ
               - เสาที่ 1 ด้านประชาคมความมั่นคง
               - เสาที่ 2 ด้านประชาคมเศราฐกิจ
                - เสาที่ 3ด้านประชาสังคมและวัฒนธรรม
               ปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในประเทศไทยให้ความสำคัญ ในการเตรียมพร้อมของประชาชนในภคต่างๆ เพื่อการเข้าสุ่ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน หรือ AECV  ส่วนอีก 2 เสานั้น คือ ASC และ ASCC ยังไม่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐเพื่อสร้างควมเข้าใจและสร้างความพร้อมให้ กับ
ประชาชนมากนัก เสาที่ดุจะเป้นปัญหาในาทงปฏิบัติมากที่สุด คือ เสาประชาคมความมั่นคง เนื่องจากว่าประเทศสมาชิกอเาซียนเองนั้น ได้มีการทำข้อตกลงไว้นเรื่องการ เพมืองและความมั่นคงอยุ่หลายข้อและข้อที่สำคัญประการหนึ่ง คือ กาไม่ยุ่งเกี่ยวการเมืองภายในของประเทศสมาชิกด้วยกัน ดังนั้น เสาประชาคมความมั่นงคงจึงอาจำไม่สามาตถพัฒนาได้มากนักหลังจากการเข้า สุ่ประชาคมอาเซียน
               อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่าจะมีอุปสรรคในการจัดตั้งเสาประชาคมความมั่นคง แต่ผู้เชี่ยวชาญด้านอาเซียนรวมถึงผู้เกี่ยวข้องด้านความมั่นคง ในอาเซียนได้แสวงหาปัจจัยที่จะสามารถดึงเอาประเทศสมาชิกต่งๆ ของอาเซียนยอมเข้ามาร่วมมือกัเพื่อก่อให้เกิดประชาคมในเสาดังกล่าว ดดยหลายท่านได้ชี้ไปที่การต่อต้านภัยคุกคามต่อความมั่นคงร่วมกัน ดดยเฉพาะภัยด้านความมั่คงนอกรูปแบบ ซึ่งถือเป็ฯอาชญากรรมรูปแบบใหม่ท่เกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียนปัจจุบัย เช่น การก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาติ ดรคระบาดและภัยธรรมชาติที่รุนแรง เป็นต้น ดดยหวังว่าประเทศสมาชิกจะสามารถแสงหาจุดยืนร่วมกันในการแก้ปัญหาภัยด้าน ความมั่นคงนอการูปแบบนี้ได้อย่างทันท่วงที่ก็จะสามารถชข่วยให้ภัยคุกคามดังกล่าวไม่แผ่ขยายจนส่งผล กระทบที่รุนแรงต่อประเทศในภูมิภาค และนำมาสู่การสร้างความมั่นคงของเสาความมั่นคงใประชาคมอาเซียนต่อไป
              ภัยด้านความมั่นคงนอกรูปแบบ ประเภทหนึ่งที่ได้ับความสนใจอย่างกว้างขสงในกลุ่มปู้บังคับใช้กฎหมาย คือ ภัยจากอาชญากรรมข้ามชาติ ในปัจจุบันอาชญากรรมข้ามชติส่งผลร้ายแรงและมีความซับซ้อนมากว่าอดีต สำหรับในพิมพ์ฺเขียวของเสาประชาคมความมั่นคงนั้น ได้กล่าวถึงอาชญากรรมข้ามขชาติที่สำคัญ 6 ประเภท คือ การก่อการร้าย กาลักพาตัวและค้ามนุษย์ การต้ายาเสพติด การประมงผิดกฎหมาย กาต้าอาวุธเถือนขนาดเล็ก อาชญากรรมทางไซเบอร์และโจรสลัด และสำหรับอาชญากรรมที่ต้องมีการจัดการอย่างเร่ิงด่วนในภูมิภาค คือ กาต้ามนุษย การต้ายาเสพติด และปัญหาโจรสลัด
              ในการแก้ปัญหาจากอาชญากรรมข้ามชตินัน มีความจำเป็ฯอย่งย่ิงที่ประเทศในภูมิภาครองรวมมือกัน ไม่ใช่ปล่อยให้เป็นความรับผิดชอบของประเทศใดประเทศหนึ่งเท่านั้น สำหรับการขยายตัวของอาชญากรรมข้ามชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียนนั้นไม่แตกต่างจากภูมิภาคอื ่่นๆ กล่าวคือเกิดจากความเหลือมล้ำด้านคุณภาพของกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายของ ประเทศสมาชิก รวมทัี้งความ่อนแอของรัฐบาลกลางที่จะเข้าไปแก้ปัญหาอาชญากรรมองค์กรข้ามขชาติ อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้เมื่อเกิดการคุกคามจากปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติดังกล่าวประเทศสมาชิก อาเว๊ยนไม่ได้แก้ปัญหาร่วมกันอย่างบูรณาการ แต่กลับมองว่าปัญหาการคุกคามดังกล่าวเกิดขึ้นใประเทศใดก็เป็นความรับผิดชอบของประเทศนั้นนการจัดการ ดังนี้นการแก้ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติจึบไม่อาจเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมได้ ระหว่างประเทศสมาชิก
               ความจริงแล้วกลุ่มประเทศอาเวียนนั้นมความตื้นตัวในการต่อต้านอาชญากรรม ข้ามชาติมาเป็นเวลานานแล้ว ดั่งแต่ปี ค.ศ. 1976 แต่ส่วนใหญ่เนนรเื่องการปราบปรามยาเสพติดทั่วไป จนกระท่งอาเซียนเร่ิมจัดตั้งการประชุมรัฐมนตรีอาเซียน และเริ่มมีการกล่าวถึงอาชญากรรมข้ามชาติมากขึ้น รวมทั้งกระตุ้นให้ประทเศสมาชิกตระหนักถึงผลกระทบและการแก้ปัญการอาชญากรรม ข้ามชาติ
              ในการประชุม ASEAN Conference on Transnational Crime ในปี 1977 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ได้มีการประกาศร่วมกันของประเทศสมาชิกใน คำประกาศว่าด้วยเรื่องอาชญากรรมข้ามขาติ  ซึ่งถือเป็นความร่วมมือที่เป็นรูปธรรมครั้งแรกระหว่างประเทศสมาชิกในภูมิภาค ในการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ ในคำประกาศดังกล่าวยังได้มีการประกาศใช้กลไกต่างๆ เช่น กำหนดการประชุมระหว่างรัฐมนตรีในการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติทุกๆ 2 ปี นอกจกนี้ยังจัดให้มีการประชุมอื่นๆ ด้วย  และที่สำคัญที่สุดคือการผลักดันให้ประชาคมความมั่นคงอาเซียนหรือ ASC เกิดขึ้นและมีกลไกที่มีประสิทธิภาพในการแก้ปขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติอย่างแท้จริง
             สำหรับการกำหนดความร่่วมือในการต่อต้ารอาชญากรรมข้ามชาติภายใต้กรอบของประชาคมความมั่นคง หรือ ASC คือ
             - เพิ่มความร่วมมือในการรับมือกับภัยความมั่นคงนอกรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการต่อสู้กับอาชญากรรมข้ามชาติและปัญหาข้ามพรมแดนอื่นๆ
             - เพิ่มความร่วมมือในการรับมือกับภัยความมั่นคงนอกรูแปบบต่างๆ ดดยเฉพาเยอ่างยิ่งการต่องสู้กับอาชญากรรมข้ามขติและปัญหาข้ามพรมแดนอื่นๆ
             - เพ่ิมความพยายรามในการต่อต้านการก่อการร้ายดดยการลงนามรับรองในอนุสัญญา อาเวียนว่าด้วยการต่อต้านการก่อการร้ายและนำข้อตกลงจากอนุสัญญาไปปฏิบัติจริง
             นอกจากเครื่องมือและกลไกต่างๆ ภายในอาเซียนเองแล้ว การสร้างความร่วมมือจากประเทศนอกกลุ่มดดยเฉพาะประเทศในภุมิภาคเอเชียน อเงนั้นก็ยังเป็นปัจจัยสำคัญในการแก้ปัญหาแาชญากรรมความมั่นคงนอกรูปแบบ ร่วมทั้งอาชญากรรมข้ามชาติด้วยเช่นกัน ความช่ีวยเหลือจากประเทศนอกกลุ่มสมชิก เช่น ญี่ป่นุ จีน และเกาหลีนั้น จะช่วยผลักดันนโยบายต่างๆ ให้สำเร็จมากขึ้น
             เช่น ปัญหาดจรสลัด ประเทศญี่ป่นุซึ่งต้องส่งสินคึ้าผ่านน่นนำทะเลจีนใต้ได้รับความเดือดร้อน จาการแผ่ขยายอิทธิพลของโจรสลัด จึงได้เสนอให้แก้ปขปัญหาโตจรสลัดในน่านน้ำบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่าง จริงจัง ประเทศญี่ปุ่นได้ผลักดันให้เกิดการประชุมเรื่องภัยจากโจรสลัดในปี ค.ศ. 2000 กับประเทศสมาชิกอาเว๊ยน และยังได้เชิญตัวแทนจากประเทศอื่นๆ เช่น จีน ฮ่องกง อินเดีย และศรีลงการ เข้าร่วมด้วย
             นอกจากนี้ญี่ปุ่นยังได้ผลักดันดครงการ "ASIA Anti-Piracy Challenges 2000" และร่วมลงนามในข้อตกลง ซึ่งนำมาสู่การบังคัยใช้นปี ค.ศ. 2006 โดยมีข้อตกลงโดยรัฐบาบลญี่ป่นุได้ช่วยสนยสนุนเงินทุนและการฝึกซ้อมต่อหน่วยงานในประเทศสมาชิกอาเวียนเพื่อต่อต้านอาชญากรรมทางทะเลจากโจรสลัด การเข้ามมาร่วมมือของประทเศญี่ป่นุในการต่อต้านอาชญากรรมจากโจรสลัดดังกล่าว ช่วยให้รัฐบาลของอาเซียนสามารถร่วมมือกันอย่างเป็นรูปธรรมมากขึนเพื่อต่อต้านและการปราบปรามโจรสลัดในน่าน้ำของอาเซียนเอง...(http://www.matichon.co.th/news_detail... /มติชนออนไลน์/28 มีนาคม 2556)
           
6 พ.ค. 2560 เกิดเหตุระเบิดกรุงมะนิลา 2 ครั้งซ้อน ดับ 2 เจ็บอีก 5 ซ้ำรอยที่เดิมตอนประชุมผู้นำอาเซียน. สำนักข่าวเอเอฟพีรายงานว่า เกิดเหตุระเบิด 2 ครั้งซ็อนในกรุงมะนิลา เมืองหลวงของฟิลลิปปินส์เมื่อคืนวันที่ 6 พฤษภาคม ส่งผลให้มีผุ้เสียชีวิตอย่างน้อย 2 ราย และบาดเจ็บอีก 5 คร ตำรวจเปิดเผยว่า เหตุระเบิดครั้งแรกเกิดขึ้นทีใกล้กับมัสยิดในย่านกิอาโป หนึ่งในย่านเก่าแก่ที่สุดในกรุงมะนิลาที่เป็นพ้นที่สลัมเป็นส่วนใหย่ เมื่อเวลาราว 18.00 น. ตามเวลาท้องถ่ิน โดยมีผุ้เสียชีวิต 2 รายและบาดเจ็บ 4 คน จากเหตุระเบิดครั้งนี้
              ขณะที่ระเบิดครั้งที่ 2 เกิดขึ้นบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงกับจุดเดิมเมื่อเวลาราว 8.30 น. โดยระเบิดครั้งนี้ไม่ได้ก่อให้เกิดความเสียหายรุนแรงต่ออาคารสภานที่ดดยรอบ แต่สงผลให้เจ้าหน้าที่ตำรวจที่าำลังตครวจสอบสถานที่เกิดเหตุได้รับบาดเจ็บ 1 นาย
               โดยก่อนหน้านี้เกิดเหตุระเบิดในย่านกิอาโปเมื่อวันที่ 29 เมษายน ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ฟิลิปปินส์เป็นเจ้าภาพจัดการปรุชมสุดยอดผุ้นำอาเซียน ส่งผลให้มีผุ้ได้รับบาดเจบ 14 คน ดดยกลุ่มกองกำลังรัฐอิสลาม (ไอเอส) ในฟิลิปปินส์อ้างว่าเป็นผุ้ลงมือก่อเหจุ ทว่าตำรวจฟิลิปปินส์ปฏิเสธว่าไม่ได้เป็นการก่อการร้าย และไม่เกี่ยวกับการประชุมผุ้นำอาเซียนแต่อย่างได แต่ระบุว่าเป็นการล้างแค้นกับแก๊งวัยรุ่นที่มีปัญหากันในพื้นที่ ขณะที่เหตุระเบิดครั้งล่าสุด เจ้าหน้าที่ยังไม่ได้ระบุถึงสาเหตุที่เป็นไปได้แต่อย่างใด..(matichon.co.th/new/552613
             22 พฤษภาคม 2560 สำนักข่าวแห่งประเทศจีนรายงานว่า เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคมนี้ การทหารฟิลิปปินส์แถลงวา กองทัพของประเทศอาเซียนต่างๆ จะกระชับความร่วมมือเพื่อดจมตีการก่อการร้ายที่เป็นภัยต่อสันตุภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค วันเดียวกัน นายเอดัวร์โด อาเรวาโล ผู้อำนวยการสำนักงานกิจการสาะารณะกองทัพฟิลิปปินส์เผยว่า เมื่อเร็วๆ นี้ผู้นำระดับสุงของกองทัพประเทศอาเซียนลงนามในแถลงการณ์ร่วมดดยระบุจะกระชับการซ้อมรบร่วม การช่วยเหลือทางสทิะิมนุษยะรรมและความสามารถการบรรเทาภัย ฝ่ายต่างๆ  ยังพยายามที่จะส่งเสริมให้การประชุมเสนาธิการใหญ่ของกองทัพประเทศอาเซียนให้เป็นกลไกแบบทางการ เพื่อโจมตีการก่อการร้ายและประสานงานการับมือกับภัยพิบัติต่างๆ ..(thai.cri.cn/247/2017/05/22/...)
             23 พฤษภาคม 2560 ดูแตร์เต ประกาศกฎอัยการศึก จังหวัด มินดาเนา หลังผู้ก่อการร้ายเอี่ยว "ไอเอส"ป่วนเมือง, ประธานาธิบดีโรตริโก ดุแตร์เต้ ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ ประกาศกฎอับยการศึก ในช่วงดึกของวันที่ 23 พฤษภาคมที่ผ่านมา ในจังหวัดมินดาเนา ตอนใต้ของประเทศฟิลิปปิน์ หลังทหารกองทัพฟิลิปปินส์ยิงปะทะกับกลุ่มติดอาวุธที่มส่วนเกี่ยวข้องกับกาองกำลังรัฐอิสลาม หรือไอเอส อยางหนัก ขณะที่คนร้ายเผาบ้านเรื่อน ยึดโรงพยาบาลและประกาศศักดาชักธงไอเอสขึ้น
             นายเออร์เนสโต อเบลเลล่า โฆษกประธานาธิบดี แถลงเกี่ยวกับการประากศกฎอัยการศึกที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซียน ซึ่งนายดูแตร์เตอยู่ระหว่างเดินทางเยือนอย่างเป็นทางการ สำนักข่าวรอบเตอร์รายงานว่า ในช่วงค่ำที่ผ่านมาเกิดเหตุปะทะกันระหว่างทหารของกองทัพฟิลิปปินส์ กับกลุ่มติดอาวุธที่ม
             ด้านสำนักข่าวเอเอฟพีรายงานอ้างนายเอดูอาร์โต อาร์โน ผุ้บัญชาการทหารสูงสุดฟิลิปปินส์ ว่าเหตุปะทะดังกล่าวส่งผลให้มีทหารเสียชีวิตอย่างน้อย 1 นาย และมีทหารได้รับบาดเจ็บจำนวนหนึ่ง ในปฏิบัติการตามล่าตัวนายอิสนิลฃอน ฮาปิลอน หัวหน้ากลุ่มอาบุไซยาฟ และหวหน้ากลุ่มไอเอส สาขาประเทศฟิลิปปินส์
           
 นายอาร์โน ระบุ่ามีนักรบของกลุ่มติดอาวุธราว 20 นายใช้โรงพยาบาลแห่งหนึ่งเป็นฐานที่มั่นและชักธงของกลุ่ม ไอเอส ขึ้นที่ประตูของโรพยาบาล ขณะทีมีนักรบอีกราว 10 นายที่บุกไปยังเรือนจำในพื้นที่และปะทะกับเจ้าหน้าที่ความมั่นคง นอกจากนี้รายงานระบุด้วยว่ากลุ่มก่อการร้ายได้เผาทำลายอาคารบ้านเรือนเพื่อสร้างความสับสนให้กับเจ้าหน้าที่ด้วย
             ทั้งนี้ผุ้บัญชาการทหารสุงสุดฟิลิปปินส์ ยืนยันว่าเหตุการณ์ดังกล่าวที่ดุเหมือนจะเป็นเหตุรุนแรงนั้นเป็นฝีมือของคนร้ายกลุ่มเล็กๆ ที่ต้องรับมือกับกำลังของเจ้าหน้าที่จำนวนมาก
               24 พฤษภาคม 2560 ศาสนจักรคาทอลิก ฟิลิปปินส์ เปิดเผยว่า กลุ่มกองกำลังอิสลามที่สุ้รบกับกองทัพฟิลิปปินส์ บนเกาะมินดาเนา ตอนใต้ของประเทศ ได้บุกยึดโบสถ์คริสต์และจับบาทหลวงเป็นตัวประกัน หลังการสุ้รบยังยืดเยื้อตลอดช่วงคืนที่ผ่านมา ขณะที่นายดรดริโก ดูแตร์เต ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ ระบุว่าอาจขยายเวลากฎอัยการศึกในพื้นที่ไปนานถึง 1 ปี คริสตจักรคาทอลิก ฟิลิปปินส์ แถลงระบุว่า มีบาทหลวงหลายคนอยุ่ในโบสถ์ "อาวเลดี้เฮลป์ออฟคริสเตีนส์" ขณะทีกลุ่มกองกำลังมาอูเต บุกเข้าไปในโบสถ์ และกลุ่มมือปืนได้ใช้บาทหลวงเหล่านั้นเป็นตัวประกัน พร้อมทั้งขู่จะฆ่าตัวประกันหากรัฐบาลไม่ยกเลิกไล่ล่าพวกตน
               รายงานข่าวดังกล่าวมีขึ้นหลังประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ประกาศกฎอัยการศึกเมื่อช่วงดึกของคืนวันที่ 23 พฤษภาคร ในพื้นที่เกาะมินดาเนา หลังกลุ่มกองกำลังอิสลาม ก่อหตุป่วนในพื้นที่ตอนใต้ของเกาะมินดาเนา และปะทะกับเจ้าหน้าที่รัฐอย่างรุนแรง เหตุปะทะในเมืองมาราวี พื้นที่ซึ่งประชากรส่วนใหญ่จากทั้งหมด 200,000 คน เป็นชาวมุสลิมเกิดขึ้นในชี่วงบ่ายของวันที่ 23 พฤษภาคม หลังเจ้าหน้าที่ความมั่นคงของฟิลิปปินส์ บุกบ้านที่เชื่อว่านายอิสนิลอนฮาพิลิน หัวหน้ากลุ่มอาบูไซยาฟ และหัวหน้ากลุ่มไอเอสสาขาฟิลิปปินส์จะกบดานอยุ่ โดยนายฮาปิลอน นั้น เป็นหนึ่งในผุ้ก่อการร้ายที่สหรัฐอเมริกาต้องการตัวมากที่สุดและตั้งค่าหัวไว้ที่ 5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ รายงานระบุว่าหลังการบุกจับมีมือปืนกว่า 100 คนเข้าต่อสู้กับเจ้าหน้าที่ด้วยการเผาอาคารบ้านเรือนและทำการอำพรางตัวสุ้รบแบบกองโจร
               ด้านนักวิเคราะห์ด้านความมั่นคงระบุว่า ฮาพิลอน พยายามที่จะสร้างเอกภาพให้กับกลุ่มกองกำลังติดอาวุธในฟิลิปปินส์ที่ประกาศสวามิภักดิ์กับกลุ่ม ไอเอส ในจำนนนี้รวมไปถึงกลุ่มมาอูเต ที่มีฐานที่มั่นอยุ่ในเมืองมาราวีด้วย ทั้งนี้โฆษกของเจ้าหน้าที่ตำรวจและกองทัีพฟิลิปปินส์ยังไม่ได้ออกมายืนยันรายงานข่าวการจับกุมตัวประกันดังกล่าวแต่อย่างใด..(www.matichon.co.th/news/566363, 565893)
               25 พฤษภาคม 2560 รองนายกรัฐมนตรีมาเลเซียเตือนประชาชนให้เฝ้าระวังภัยจากการก่อการร้าย พร้อมระบุว่าเหตุการร์ที่เกิดขึ้นในต่างประเทศก็อาจเกิดขึ้นในภุมิภาคได้เช่นกัน
               ดาโต๊ะ สรี ฮามิดี  รองนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ประกาศเตือนประชาชนให้เผ้าระวังภัยก่อการร้ายในภุมิภาค หลังเกิดเหตุระเบิดที่เกี่ยวพันกับกลุ่มติดอาวุธซึ่งเรียกตัวเองว่า รัฐอิสลาม หรือ ไอเอส ในหลายพื้นที่ติดต่อกัน ดดยนายฮามิดีเตือนว่ามาเลเซียไม่ควรเพิดเฉพยต่อเหตุการณ์ร้ายแรงที่เกิดข้นในต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป้นเหตุระเบิดที่นครแมนเชสตอร์ของอังกฤษหรือกรุงจากร์ตาของอินโดนีเซียน ก็อาจเกิดขึ้นในภูมิภาคนี้ได้เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะพื้นที่ที่ไม่เข้มวงดเรื่องมาตรการป้องกันการก่อการร้ายรัฐบาลมาเลเซียจึงขอความร่วมมือประชาชน ให้ช่วยกันจับตาบุคคลหรือวัตถุต้องสงสัยในชุมชน และแจ้งเบาะแสต่อเจ้าหน้าที่ด้วย
               นายฮามิดีระบุอีกว่า กลุ่มติดอาวุธ คาติบะห์ นูซันตารา ซึ่งเคลื่อนไหวอยุ่ในมาเลเซีย มีความเชื่อมโยงกับกลุ่มไอเอส และอาจเคลื่อนไหวก่อเหตุต่อเนื่องในละแวกใกล้เคียง ขณะที่ตำรวจและหน่วยปราบปรามการก่อการร้ายของมาเลเซียกำลังเครียมความพร้อมขึ้นสูงสุด เพื่อรับมือและป้องกันเหตุก่อการร้ายต่างๆ โดยมีการร่วมมือระหว่างรัฐบาลในกลุ่มประทเศอาเวียนและตำรวจสากลอินเตอร์โพล เพื่อแบ่งปันข้อมูลบต่อต้านการก่อการร้ายระหว่างประเทศสมาชิกด้วย
             
 นอกจากนี้ หลายประเทศทั่วโลกยังได้ประกาศเตือนประชาชนให้เผ้าระหวังภัยจากการก่อการร้าย หลังเกิดเหตุระเบิดที่นครแมนเชสเตอร์ของอังกฤษ กรุงจาการ์ตาของอินโดนีเซียน และเหตุปะทะนองเลือดระหว่างกลุ่มติดอาวุธชาวมุสลิมกับกองทัพฟิลปปินส์ในช่วงหลายวันที่ผ่านมาระเบิดที่นครแมนเชสเตอร์ของอังกฤษเมื่อช่วงค่ำวันที 22 พฤษภาคม บริเวณจุดขายตั๋วของแมนเชสเตอร์อารีนา สถานที่จัดคอนเสิร์ตนักร้องหญิงชื่อดังขชาวอเมริกัน อาริอานนา กรานเด ทไใ้มีผุ้เสียชีวิต 22 ราย และบาดเจ็บ 64 ราย ถือเป็นเหตุก่อการร้ายครั้งรุนแรงที่สุดในรอบ 12 ปีของอังกฤษ โดยตำรวจอังกฤษจับกุมผุ้ต้องสงสัยได้แล้ว 8 คน ส่วนใหญ่เป็นญาติของนายซัลมาน อะเบดี มือระเบิดชาวอังกฤษเชื่อสายลิเบีย วัย 22 ปี ที่เสียชีวิตในที่เกิดเหตุ ส่วนผู้ต้องสงสัยอีก 2 คนเป็นชาวลิเบีย ซึ่งทางการอังกฤษได้ประสานกับทางการลิเบียให้ช่วยจับกุมเอาไว้ได้
                ด้านนางเทเรซา เมย์ นายกรัญมนตรีอังกฤษ ปรกาศยกระดับการเตือนภัยก่อการร้ายเป็นระดับสูงสุด ซึ่ง หมายความว่า อาจจะมีการก่อเหตุรอบใหม่เกิดขึ้นได้ ขณะที่หลายประเทศทั่วโลก ทั้งสหรัฐฯ สิงคโปร์สมาชิกสหภาพยุโรป รวมถึงไทย ประกาศเตือนประชาชนขอตนที่พำนักอาศัยหรือผุ้ที่จะเดินทางไปยังอังกฤษให้ ติดตามประกาศและคำเตือนของรัฐบาลอังกฤษอย่างใหล้ชิด และสหรัฐฯ ยังได้เตือนสภานทูตสหรัฐฯ ในอียิปต์ให้เผ้าระวังภัยการก่อการร้ายด้วย เนื่องจากได้รับเบาะแสจกแหล่งข่าวที่เป้ฯพันธมิตรเมื่อไม่นานมานี้
                หลังจากเกิดเหตุระเบิดที่นครแมนเชสเตอร์เพียง 1 วัน กลุ่มติดอาวุธมาอุเตซึ่งมีแนวคิดแบ่งแยกดินแดนในฟิลิปปินส์ก็ได้เปิดฉาก ต่อสู่กับกองทัพของรัฐบาลฟิลิปปินส์ที่เมืองมาราวี ซึ่งเป็นเมืองเล็กๆ ในจังหวัดลาเนา เดล ซูร์ บนเกาะมินดาเนา เขตปกครองทางใต้ของฟิลิปปินส์ และเป็นฐานที่มั่นของกลุ่มติดอาวุธหลายหลุ่ม โดยกลุ่มมาอูเตเป็นพันธมิตรกับกลุ่มอาบูไซยัฟ ซึ่งทั้งคู่ประกาศตัวสวามิภักดิ์ต่อกลุ่มติดอาวุธที่เรียกตัวเองว่ารัฐอิสลาม หรือ ไอเอส ส่วนเหตุปะทะทีเทมืองมาราวี ทำให้เจ้าหน้าท่รัฐเสียชีวิตดอย่างน้อย 3 นาย และนายโรดริโก ดูแตร์เต ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ ได้ประกาศกฎอัยการศึกทั่วเกาะมินดาเนา พร้อมสั่งตรึงกำลังเจาหน้าที่หน่วยความมั่นคงรอบเมือง รวมถึงอพยพประชาชนบางส่วนที่ต้องการออกจากพึ้นที่สู้รบ
               ขณะที่ช่วงค่ำวานนี้ เกิดเหตุระเบิดสถานีรถประจุทางทางตะวันออกของกรุงจาการ์ตา เมืองหลวงของอินโดนีเซีย ทำให้มีผุ้เสียชีวิต 5 คน แบ่งเป็นตำรวจ 3 นาย ผุ้ก่อเหตุ 2 คน และผุ้บาดเจ็บอีก 10 คนเหตุระเบิดครั้งนี้เป็นการโจมตีกรุงจาการ์ตาครั้งที่ 2 โดยเมื่อเดือนมกราคมที่ผ่านมา เคยเกิดเหตุมือปืนซึ่งเป็นเครื่อข่ายกลุ่มไอเอสบุกกราดยิงและระเบิดย่านใจ กลางกรุงจาการ์ตามาแล้วครั้งหนึ่ง ทำให้มีผุ้เสียชีวิต 4 คน ถือเป็นการก่อเหตุของเครือข่ายไอเอสครั้งรแกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเหตุการณืครั้งใหม่ก็พบเบาแสเกี่ยวขช้องกับกลุ่มไอเอสอีกเช่นกัน...newa.voicetv.co.th
           
           
           

วันพุธที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

30th ASEAN Summit & 50th Aniversary of ASEAN

               ระหว่างวันที่ 28-29 เมษายน พ.ศ. 2560 นายกรัฐมนตรีและคณะได้เดินทางไปประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 30 และได้เข้าร่วมการประชุมระดับผุ้นำแผนงานการพัฒนาเขตเศราฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย ครั้งที่ 10 เพื่อสนับสนุนการเชื่อมโยงของโครงสร้างพื้นฐาน
                สำหรับการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งนี้ มีประเทศมีฟิลิปปินส์เป็นประธาน โดนจัดขึ้นในปีที่อาเซียนก่อตั้งครบรอบ 50 ปี ซึ่งถือเป็นความร่วมมือที่ยาวนานและแน่แฟ้นย่ิงกว่าความร่วมมือในภูมิภาคใดๆ ในโลกใบนี้
                ในปีนี้ ผุ้นำอาเซียนได้ร่วมกันย้ำถึงความสำคัญในการที่จะทบทวนและพิจารณราเพิ่มศักยภาพการดำเนินการของประชาคม โดยเน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยจะไม่ทอดท้ิงใครไว้ข้างหลัง ถึงปม้ความร่วมมือในอาเซียนจะประสบความสำเร็จมาระดับหนึ่งแล้ว แต่เราต้องยอมรัีบว่า ยังต้องส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในภูมิภาค และสร้างความตะกนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนให้มากขึ้นควบคู่ไปด้วย
               นอกจากนี้ ที่ประชุมยังเห้นตรงกันว่า การเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนด้านความมั่นคงในภุมิภาคนี้ ทำให้อาเซียนต้องรักษาความเป็นแกนกลางในด้านความมั่นคงของภุมิภาคและบริหารความสัมพันะ์ธ์ที่มีกับประเทศมหาอำนาจให้เป็นประโยชน์ เพื่อให้ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกเป็นภูมิภาคที่มีเสถียรภาพ มั่นคง และยั่งยืน ขณะดี่ยวกัน อาเซียนต้องสร้างความแข้งแกร่งภายใน เพื่อรับมือกับความท้าทายต่างๆ เช่น  การส่งเสริมความร่วมมือด้านการบริหารจัการชายแดน การจัดตั้งศูน์ยไซเบอร์อาเซียน และ ASEAN Centre for Active and Innovation เพื่อดูแลการเข้าสู่สังคมสุงวัยที่กำลังจะมาถึง รวมทั้งจะต้องยืนหยัดในการส่งเสริมการต้าเสรีระหว่างกัน และเร่งเจรจาความตกลงหุ้นสวนทางเศราฐกิจระดับภูมิภาคหรือ RCEP ให้สำเร็จโดยเร็ว และยังต้องมุ่งที่จะเพ่ิมการต้าภายในระหว่างกันให้มากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาประเทศอื่นๆ ลงด้วย
                อีกประเด็นหนึ่งที่หลายฝ่ายให้ความสนใจ คือเรื่องของความมั่นคงในคาบสมุทรกาหลี โดยที่ประชุมได้แสดงความกังวลต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้น และห็นพ้องในการให้ความสำคัญกับการปฏิบัติตามข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติอย่างเคร่งครัด และเน้นให้เกิดการแก้ไขปญัญหาโดยสันติวิธี ไม่ให้เกิดความรุนแรงและสร้างความขัดแย้งเพิ่มเติม.. (www.aseanthai.net/.../ "อาเซียน 50 ปี : ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ไม่ทอดทิ้งใตรไว้ข้างหลัง)

วันอังคารที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Aok Hug Jak ASEAN (อกหักจากอาเซียน)

              "อกหักจากอาเซียน" โดย ปศ.ดร. กิตติ ประเสริฐสุข ผู้ประสานงานโครงการ "จับตามอาเซียน"
               ประชาคมอาเซียมี่ว่ากันวา จเปิดขึ้นในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ก่อให้เกิดความตื่อนเต้นในสังคมไทยในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา ดดยเฉพาะความคาดหวังจากความเสรีในการนำเข้าส่งออกสินค้า การลงทุนและการเคลื่อนย้ายแรงงาน ดังนัน หลายภาคส่วนจึงประโคมข่าว จัดกิจกรรมทที่คิดว่าเป็นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน อาทิ จัดสัมมนาที่ใช้ช่อเกี่ยวกับอาเซียนบ่อยครั้ง (แม้เนื้อหาอาจไม่เกี่ยวนัก) มีการประดับธงชาติอาเวียนตามสถานศึกษาและหน่วยราชาการต่างๆ มีการปรับหลักสูตรไส่เนื้อหาอาเซียนในการศึกษาแทบทุกระดับ  มีการฝึกพูดคำทักทายในภาษาชาติอาเซียน ท่องจำดอกไม้ประจำชาติ เรียกว่า "กระแสอาเซียน" มาแรงมาก
               การที่สังคมไทน "ออกตัวแรง" กับประชาคมอาเซียนนนี้ น่าจะสร้างความผิดหวัง(อกหัก) ในหมู่คนไทยบที่มีความคาดหวังต่ออาเซียนมากเพราะเอาเข้าจริง เมื่อเปิดอาเซยนจะม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงมากอย่างที่คาดหวัง ทั้งนี้เป็นเพราะสังคมไทยมีสมมุติฐานความเข้าใจต่อประชาคมอาเซียนคลาดเคลื่่นจากความเป็นจริงไปหลายประการ
              - ประการแรก ชาวไทยจำนวนมากเข้าใจว่า เมื่อเปิดประชาคมอาเซียนจะมีการเปิดชายแดนให้มีการเดินทางไปมาหาสู่กันโดยเสรี ประหนึ่งเหมือนสหภพยุโรป ที่เดินทางข้ามประเทศกันได้ โดยไม่ต้องผ่านด่านตรวจพาสปอร์ตและวีซ่าหรือหากไม่ถึงขนาดนั้น ก็เชื่อว่าจะมีความเสรีมากในการเดินทางข้ามประเทศในอาเซียน ดังนั้นจึงมักพูดกันเสมอว่า เมื่อเปิดประชาคมอาเซ๊ยนแล้ว แรงงานจากชาติเพื่อนบ้าน อย่างพม่า ลาว กัมพูชา จะทะลักเข้ามาทำงานเป็นจำนวนมาก
                แต่ในความเป็นจริง หาได้เป็นเชนนันไม่ แรงงานเพื่อนบ้านอาเซียนได้เข้ามาทำงานในไทยราว 30 ปีมาแล้ว ตั้เงแต่ประเทศเหล่านี้ยังไม่ได้เป็นสมาชิกอาเว๊ยน้วยซ้ ทั้งนี้ก็เพราะการขาดแคลนแรงงานที่คนไทยไม่ประสงค์ทำ เช่น ประมง ก่อสร้าง แม่บ้าน และบางอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานหนาแน่น ในขณะที่แรงงานเพื่อบ้านก็ประสงค์มาทำงานที่รายได้าูงหว่าที่ประเทศของเขา อันเป็ฯไปตามหลักอุปสงค์-อุปทานของกลไกตลาด แม้ว่า แรงงานส่วนใหญ่จะเข้ามาอย่างผิดกฎหมายก็ตาม กล่วให้ถึงที่สุด ไม่ว่าจะมีประชาคมอเวียนหรือไม่ แรงงานเพื่อนบ้านก็มาทำงานในไทยอยุ่ดี
                ทั้งนี้ อาเซียนไม่เคยตกลงกันว่าจะให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงานทักษะต่ำโดยเสรีแต่อย่างใด อักทั้งในปัจจุบัน ไทยมีแรงงานต่างชาติหล่านี้ที่จดทะเบียนราว 2.5 ล้านคน รวมกับที่ไม่ได้จดทะเบียน น่่จะรวมแล้วเกิน 3 ล้านคน ซึ่งเป็ฯจำนวนที่มากอยู่แล้ว จึงยังไม่มีแนวโน้มว่าจะมีแรงงานเข้ามาเพิ่มเติมมากนัก เนื่องจากเศราฐกิจไทยยังมีอัตราการเจริญเติบโตไม่สูงด้วย
               ประการที่สอง ชาวไทยจำนวนมากเข้าใจว่า ประชาคมอาเซียนจะมีความเสรีมากในลักษณะใกล้เคียงกับ EU แต่ในความเป็นจริง อาเซียนยังมีข้อจำกัดมากมายเร่ิมจากด้านสินค้ายังมีสินคั้าอ่อนไหวหลายรายการที่ภาษียังไม่เป็นศูนย์ และมีมาตรการกีดกันอื่นๆ เช่นมาตรฐานสินค้าและสุขอนามัย ที่สำคัญ AFTA หรือเขตกรต้าเสรีอาเซียนได้เสร็จอาเซียนได้เสร็จสมบูรณ์แล้ว ตั้งแต่ต้นปี 2553 ในหมู่ 6 ชาติสมาชิกอาเซียนเดิม คือ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และบรูไน กซึ่งก็ยังไม่ปรากฎว่ามสินค้าจากชาติอาเซียนทะลักเข้าไทยมากนัก กลับเป็นสินค้าจีนเสียอีกที่เข้ามามากก
               ด้านแรงงาน อาเซียนได้ตกลงกันเพียงให้มี "การอำนวยความสะดวำ" ในการเคลื่อนย้ายแรงงานทักษะสูง 8 อาชีพ คือ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล วิสซกร สถาปนิก ช่าวสำรวจ นักบัญชี และอาชีพที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว ซึ่งยังไม่ใช่การเปิดเสร เพราะยังต้องไปสอบไบอนุญาตประกอบวิชาชีพที่ประเทศที่ประสงค์จะไปทำงานทั้งขอเขียนและสัมภาษณ์ในภาษาของเข ทำให้เป็นไปได้ยากที่จะมีการเคลื่อนย้าย นอกจากนั้น ยัะงจะมีอุปสรรคโดยธรรมชาติในเรื่องของภาษาในการสื่อสาร เช่น ระหว่างแพทย์กับคนไข้ ซึ่งก็จะทำให้นักวิชาชีพจากชาติอาเวยนอื่นเข้ามาทำงานในไทยได้ยากเช่นกัน
               การเคลื่อยยย้านแรงงานทักษะสูงที่จะเป้ฯไปได้ จะเป้ฯการเคลื่อยย้ายที่ไปพร้อมกับการลงทุนของธรกิจไทยมากกว่า เช่น ในกิจการก่อสร้าง โรงแรม ดรงพยาบาลหรือคลินิคในประเทศอาเซียน ที่มักจะนำนักวิชาชีพไทยไปทำงานด้วย
               ด้านการลงทุน อาเซียนตกลงกันให้ะูรกิจจาชาติอาเซียนสามารถลงทุนในชาติอาเซียนอื่นได้ แม้แต่ในภาคลริการ ดดยสามารถือหุ้นได้สุง 70% ซึ่งยังไม่ถึง 100% อีกทั้งบางชาติสมาชิกยังไม่ได้แก้กฎหมายภายในที่จะอนุญาตดังกล่าว เท่าที่ผ่านมา จึงมักมีการใช้นอมินีคนชาติที่จะไปลงุทนเป็นผุ้ถือหุ้นแทน ซึ่งเป็นเจ้าของทุนแต่เพียงในนาม
           
ทั้งนี้ ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน เกิดจากความสับนระหว่างอาเซียน "ตามข้อตกลงของรัฐ" กับอาเซียน "ตามกลไกตลาด" โดยมักจะเข้าใจกันว่า เมื่อเปิดประชาคมอารเซียนตามข้อตกลงของชาติอาเซียนใปลายปี 2558 แล้ว ความเสรีและธุรกรรมทางเศราฐกิจจะเพ่ิมขึ้นอย่างอัตโนมัติ ซึ่งที่จริง เป็นเพียงเดดไลน์ที่กำหนดให้รัฐสมาชิกปรับแก้กฎข้อบังคับต่างๆ ให้เสร็จสิ้น และให้มีมาตรการอำนวยความสะดวกต่างๆ ซึ่งเป็นไปได้ว่า บางชาติอาจไม่สามารถดำไเนินการบางอย่างได้ทัน หรือไมสมบูรณ์ เช่น การแก้กฎหมายภายในเพื่อนุญาติการลงทุน การอำนวยความสะดวกแบบ ซิงเกิล วินโดว์ และก้ไม่ได้กมายความว่า แม้ดำเนินการได้แล้ว จะเกิดความเสรีหรือการเคลื่อนย้ายขึ้นมากจริง ทั้งนี้ เพราะจะขึนอยู่กับกลไกตลาดเป็นสำคัญ โดยข้อตกลงอาเซียนอาจช่วยอำนวยความสะดวกได้บ้างเท่านั้น...
              "บทความชิ้นนี้เผยแพร่ครั้งแรกใน กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 23 ธันวาคม 2558"

               - aseanwatch/../อกหักจากอาเซียน/...

วันจันทร์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

East Asia 2016

              วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559 สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ร่วมกับคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดสัมมนาประจำปี "เอเชียตะวันออกในปี 2016" ณ ห้องสัมนากลาง สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รังสิต
               ปาฐกถาเกียรติยศจาก รศ.ดร. จุลชีพ ชินวรรโณ กีรติยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แล่าวถึงความสำคัญของภูมิภาคอเมิรกาที่ถอถอยอำนาจลงไป แม้ว่าสิ้นสุดสงครามเย็นสหรัฐอเมริกาได้เป็นอภิมหาอำนาจโลกอันสามารถกำหนดวาระความเป็นไปทางการเมืองโลกจนนำสู่เหตุการณ์ 911 ที่นำสหรัฐอเมริกาสู่สงครามต่อต้านการก่อการร้าย ส่งผลให้เกิดปัญหาเศราฐกิจตามมาเหนื่องจากรายจ่ายในการสงคราม และการให้ความสนใจภูมิภาคตะวันออกกลางในสงครามต่อต้านการก่อการร้ายทำให้อิทธิพลของสหรัฐอเมริกาในเอเชียตะวันออกถดถอยลงไป ทำให้จีนมามีอิทธิพล ดดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านเศราฐกิจที่จีนมีการพัฒนามาโดยตลอดทำให้การทหารของจีนมีการขยายตัวไปด้วยนับตั้งแต่ปี 1995 เป็นต้นมา
             นอกจานี้ จีนยังได้ใช้อำนาจสังคมหรือ Soft Power ในการขยายอำนาจของตน อาทิ กาเปิดสถาบันขงจื้อ การสอนภาษาจนผ่านอาเสาสมัคร และการเดินทางท่องเที่ยวและลงทุนใไปทั่วดลกของชาวจีนแสดงถึงอำนาจของจีนที่ขยายตัวไปทั่วดลก ขณะเดียงกัน ในภูมิภาคก็มีการแข่งขันระหว่างจีนกับญี่ปุ่นที่ทั้งสองกลายเป็นมหาอำนาจพร้อมกนเป็นครั้งแรก
             ในช่วงเสวนาและอภิปราย เอเชียตะวันออก 2016  มีวิทยากร คือ ศ.ดร. ไชยวัฒน์ ค้ำชู รศ. ดร. นภดล ชาติประเสริฐ ผศ. ดร. กิตติ ประเสิรฐสุข ดำเนินรายการดย ผศ.ดร. สนุตา อรุณพิพัฒน์
              เริ่มที่ ศ.ดร. ไชยวัฒน์ ค้ำชู ได้ชี้ว่า การที่จีนและญี่ป่นุเป็นมหาอำนาจพร้อมกันในปัจจุบันส่งผลต่อสถาปัตยกรรมความมั่นคงเอเชียตะวันออกจุดเปลี่ยนที่สำคัญคือการที่จีนก้าวขึ้นเป็นอันดับที่ 2 ของเศราฐกิจโลกแทนญี่ปุ่นได้ในปี 2010 ทำให้นโยบายของนายกชิโซ อาเบะ มีความต้องการแก้ปขมาตรา 9 ของรัฐธรรมนูญ แม้จะแก้ไขไม่ได้แต่ตีความใหม่ได้สำเร็จ ในการป้องกับประเทศอื่น เมื่อพันธมิตรของวญี่ป่นุถูกโจมตีและมีผลต่อี่ป่นุส่งผลให้บทบาทความมั่นคงจะเพิ่มมากขึ้น
            เป็นที่น่าสังเกตว่าพัฒนาการของญี่ปุ่นตั้งแต่นายกรัฐมนตรี บิโซ อาเบะ ที่มีท่าที่ความมั่นคงเปล่ยนแปลงไปจากเิดมคงกำลังพลส่วนใหฐญ่ของประเทศที่ภาคเหนือ แต่ในปี 2013  เป็นต้นมามีการขยายไปที่ภาคตะวันตกเฉียงใต้ใกล้กับโอกินาวา ซึ่งเป็นการให้ความสำคัญกับความมั่นใจต่อจีนมากขึ้นฃ
            นอกจานี้แนวคิดทางด้านความมั่นคงของญ่ป่นุมีบทบาทอย่างยิ่งในการเสริมาน้างสันภาพตามขีนความสามารถของประเทศญี่ปุ่นสอิดรับกับนโยบายปักหมุดเอเชียของสหรัฐอเมริกา และมีความพายามดึงเกาหลีใต้ให้เข้าร่วมกับสหรัฐในการถ่วงดุลอำนาจกับจีนอีกแรงหนึ่ง
           สำหรับปี 2016 นี้ ศ.ดร. ไชยวัตน์ ค้ำชู กว่างว่า ตัวแปรของเอเชียตะวันออกอยุ่ที่ 3 ประเทศมหาอำนาจ คือ จีน ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริการ ดดยชีให้เห็นในภาพรวมของความสัมพันะ์ระหว่างประเทศในศตวรรษที่ 21 ว่าเป้ฯสันติภาพภายใต้ระบบเศรษฐกิจ ๙ึ่งชาติมหาอำนาจต่างพึงพาแาศัยกันทางเศราฐกิจอย่างซับซ้อน มีความผูกพันทางด้านผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน ดังนั้นความขัดแย้งจะสงผลตอเศราฐกิจของชาติมหาอำนาจซึงจะไม่เป็นผลดี
             ส่วนที่เกาหลีใต้ ชู รศ.ดร.นภดล ชาติประเสริฐ กล่าวถึงสภาพการณ์ของเกาหลีใต้ในบริบทโลกปี 2015ว่าแนวคิดความมั่นคงของญุ่่่ปนท่เปลี่ยนแปลงไป กับอิทธิพลของจีน เกาหลีใต้ภายใต้การนำของประธานาธิบิีปาร์ค กึน เฮ ยังคงมีแนวทางความมั่นคงหลักใกลชิดสหรัฐอเมริกา ความสัมพันธ์กับเกาหลีเหนือมีความเปลี่ยนแลปงจานโยบาย ซันชายด์ ที่ได้นำมาใช้ตั้งแต่สมัยปรธานาธิบดีคิม แต จุง สู่นโยบายที่มีความแข็งกร้าวมากขึ้น พร้อมกันี้ยังได้มีการเดินคามสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนในการกดดันเกาหลีเหนือ ดดยมีการพบกันระหว่างผู้นำทั้ง 2 ประเทศ 6 คั้งนับตั้งแต่นางปาร์คดำรงตำแหน่ง ต่างจากเกาหลีเหนือภายใต้ผุ้นำคนปัจจุบันที่ยังไม่มีการพบกับผุ้นำจีนนบตั้งแต่ขึ้นสู่อำนาจ
            ส่วนปัญหาที่นากังวลของเกาหลีใต้ในปี 2015 ที่ผ่านมาคือปัญหาเศราฐกิจที่เป็นผลจากโครงสร้างเศราฐกิจโลก คู่ค้าหลักของเกาหลีใต้มีความถดถอยชะลอตัว และการแพร่ระบาดของไข้หวัดเมิอร์สก็มีผลต่อเศราฐกจของเกาหลีใต้อย่างไรก็ดี ได้มีการแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างด้วยการผลิตในภาคส่วนใหม่ๆ เช่น เทคโนโยโลยีะอาด พลังงานทงเลอกที่เป็ฯมติรต่อสิ่งแวดล้อมพร้อมกันยังได้มีการเร่งรัดส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม SME ทั่วประเทศ ตลอดจนการใช้การูตเพื่อการต้าเป็นจุดเด่นของนางปาร์คเพราะได้มีการเดินทางเือนต่างประเทศกว่า 30 ครั้งตลอดการดำรงตำแหน่ง 3 ปี ซึ่งเป้นประธานาะิบดีที่เดินทางมากที่สุดของเกาหลีใต้
            ส่วนในปี 2016 แม้ในภาพใหญ่โลกจะมีการพึ่งพาอยางซับซ้อน แต่ใรระดับจุลภาคผลประโยชนของชาติมีความหลากหลายนำสู่ความขัดแย้งได้เช่นกัน ในกรณีเปิดเขตอุตสาหกรรมแคซองซึ่งถือว่าเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญเพราะเป็นการสิ้นสุดนโยบาย ซันชายด์ และการปิดดังกล่วหาได้เ็นแันทามติในสงคมเกาหลี แต่ได้มีการวิเคราะห์กันว่าได้รับความเห็นชอบและมีการปรึกษาหารือกับสหรัฐอเมริกา หลังจากเกาหลีเหนือได้ทดลองระเบิดนิวเคลียร์ซึ่งเป้นการทดลองครั้งที่ 4 อย่างไรก็ตามความตึงเครียดในคาบสมุทรเกาหลี ทีปะทุขึ้นด้วยความระแวงของกาหลีเหนือที่มองการซ้อมรบระหว่างหสรัฐอเมริกากับเกาหลีได้เป็นภัยคุกคามประเทศตน
             การดึงประเด็นในคาบสมุทรเกาหลีให้เป็ฯประเด็นระดับโลกสวนหนึ่งเพื่อเป็นการผลักภาระให้จนเข้ามาจัดการกับปัญหานิวเคลียร์ของเกาลี่เหนือ พร้อมกันทางเกาหลีได้เดินการทูตที่แข็งกร้้าวด้วยพยยามขยายความร่วมมือด้านเทคโนดลยีป้องกันขีปนาวุธกับหรัฐอเมริกา ซึ่งเทคโนโลยีนี้หากนำเข้ามาสู่เกาหลีใต้จะลดทอนอำนาจการทหารของจีนในการป้องกันประเทศ
             สำหรับอาเซียน ผศ.ดร. กิตติ ประเสริฐสุข ได้ชี้ว่าการเข้าุ่ประชาคมอาเซียนเม่อสิ้นปี 2015 ได้นำสู่ภาวะ "อกหักจากอาเซียน" ที่ความคาดหวังจากอาเวียนจะก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด แต่ความเป้ฯจริงไมได้เปลียแปลงอะไรมากนัก ความคาดหวังดังกล่วเป้นผลจากายาคติของสังคมไทยที่มีตค่ออาเซีนว่าเป้ฯดั่งสหภาพยุโรปที่จะมีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีทั้งในแรงงานต่างๆ ซึงความจริงยังม่อุปสรรคอยู่และการเะดินทางยังไม่เสรี ส่วนที่สังคมไทยตื่อนตัวกับ AEC เกรงว่าสินค้าของเพือย้านอาเซียนจะทะลักเข้าสู่ประเทศว่าความเป้ฯจริงสินค้าจีนต่างหากที่เข้ามามาก ส่วนความกังวลว่าแรงงานเข้าชาติจะเข้าพบว่าปัจจุบันมีจำนวนกว่า 2 ล้านคนที่ลงทะเบียนอยู่ในประเทศ
           
 ความสำเร็จของอาเวียนมี่ประากฎให้เห็นคือประเทศ CLMV ลดภาษีร้อยละ 90 จนถึงปี 2018 จะปลดภาษี ซิงเก้อวินโดว์ ได้มีก้าวสุ่ระดับหนึ่งแล้ว ึค่งเป็นการเร่ิมตั้งแต่ปี 2008 ส่วนด้านการเดินทางภายในอาเซียนได้มีการยกเลิก VISA ผ่านแดนในเมียนมา กัมพูชา ได้ยกเลิกมา 4 ปีแล้วนอกจากนี้การตื่นตัวต่ออาเซียนทำให้คนไทยมีทัศนะคติทางบวกต่อชาติเพื่อนบ้านอาเซียน ตลอดทั้งการเตรียมความพร้อมของหน่วยงานราชาการ ท้องถ่ินต่างๆ ในการเข้าสุ่ประชาคมอาเซ๊ยนอีกด้วย
             ขณะที่เครื่องมือติดตามวัดผลการดำเนินงานระดับภูมิภาค ชีัว่าได้ดำเนินการไปถึงร้อยละ 97 เป็นการประเมินที่วัดจากการมีมาตรการเท่านัน แต่ไม่ได้ดูผลลัพธ์
             สวนในปี 2016 นี้ประเทศลาวที่เป็นประธานได้ภายใต้แนวคิด Turning vision to Reality Dynamic การบูรณาการในระดับสุง การขยายความร่วมมือหลายสาขาต่างๆ ะท้อนว่าอาเวียนยังคงเดินหน้าต่อไป ขณะที่ปี 2016 ชาติสมาชิกอาเซียน
              ผศ.ดร.กิตติ ประเมินประเด็นที่ชาติสมาชิกอาเซียนต้องเผชิญร่วมกันคือ 1. พื้นที่ประชุาธิปไตยที่ขยายตัวและการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองอย่างเมียนมาบทบาทท่าที่ของพรรค NLD ต่ออาเซียนต้องปรับเปลี่ยนไปเพราะพรรค NLD ยังคงกังขาต่ออาเว๊ยนนช่วงที่รัฐบาลทหารเมียนมาปกคอง การเลือกตั้งในฟิลิปปินส์ที่จะมีขึ้นในปลายปีนี้ ส่วนเวียดนามและลาวล่าสุดมีการเปลี่ยนผุ้นำที่ยังคงมีความสัมพันธ์อันดีกับจีน สวนความหลากหลายทางเพศได้เป็นที่ตื่นตัวในชาติอาเซ๊ยนมากขึ้น 2. การ่ก่อการร้ายของกลุ่มรัฐอิสลาม IS เป็นประเด็นที่น่าจับตาในการเข้ามาปฏิบัติในภุมิภาค 3. ด้านแรงงานและการต้ามนุษย์ มีการเรียกร้องคุณภาพชีวิตแรงานลาสุดในกัมพูชา และเมียนมามีการขึ้นค่าแรงขึ้นต่ำ ส่วนการค้ามนุษย์ประเด็นโรฮีจายังคงเป็นปัญหาร่วมอาเว๊ยน 4 ด้านภัยพิบัติไฟป่าและหมอกควันข้ามชาติ การบังคับใช้กฎหมายของประเทศที่เกี่ยวข้องกับปัญหาหมากควันในการจัดการกับปัญหาดังกล่ว 5 . ทะเลจีนใต้ ประเ็นที่ชาติสมาชิกอาเซียนต้องจักการกับความสัมพันธ์กับชาติมหาอำนาจที่เข้ามามีอิทธิพลต่อภูมิภาค
                 
                     - aseanwatch/..การสัมนา-เอชียตะวันออกในปี 2016
           

วันอาทิตย์ที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Korean Peninsula

             ความเคลื่อนไหวของสหรัฐอเมริกาและเกาหลีเหนือ ต่อสถานการณ์ในคารบสมุทรเกาหลีส่งผลให้ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่กรุงมะนิลา ฟิลิปปินส์ ต้องกมาหยััิบยกขึ้นมาหารือเป็นกรณ์พิเศษ โดยที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาซียน ได้ออกแถลงการณ์แยกต่อกรณีความตึงเครียดบนคาบสมุทรเกาหลี โดยแสดงความวิตกกังวลอย่างยิ่งต่อความตึงเครียดที่เพ่ิมสูงขึ้น รวมถึงการทดสอบนิวเคลียร์และการทดสอบขีปนาวุธของเกาหลี่เหนือ
           
อาเซียนเห็นว่าความไม่มั่นคงบนคาบสมุทรเกาหลีส่งผลกระทบอยางยิ่งต่อภูมิภาคและโลก และของเรียกร้องอย่างจริงจังให้เกาหลีเหนือ ปฎิบัติตามพัธกรณีที่มีต่อข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ และกฎหมายระหว่างประเทศเพื่อคงไว้ซึ่งสติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และาียกร้องให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องใช้ความอดทนอดกลั้น พร้อมสนับสนุนให้คาบสมทุรเกาหลัีเป็นเขตปลดออาวุธนิวเคลียร์และขอให้หันกลับไปสูการพูดคุยเพื่อลอความตึงเครียดบนคาบสมุทรเกาหลี
            แต่ไม่ว่าความตึงเครียดจะรุนแรงแค่ไหน นักวิชากรด้านความมั่นคงก็มั่นใจว่า จะไม่บานปลายกลายเป็นสงครามขนาดใหญ่ หรือ สงครามโลกครั้งที่ 3 โดยให้เหตุผลว่า ปัจจัยที่จะทำให้เกิดสงครามขนาดใหญ่ คือ ประเทศมหาอำนาจต่อสู้กัน นที่นี้ คือ สหรัฐฯ กับ จีน แต่ปัญหาก็ยังไปไม่ถึงขขั้นนั้น เว้นแต่เกาหลีเหนือถูกบีบจนหลังชนฝา แล้วยิงจรวดใส่เกาหลีใต้ หรือ ญี่ปุ่น ที่อาจทำให้สหรัญฯ กับจีน ซึ่งหนุนหลังแต่ละฝ่าย ออกมาเผชิญหน้ากันได้ ถ้าเป็นเช่นนั้นจึงจะทำให้เกิดสงครามขนาดใหญ่...
           เ่กาหลีเหนือภายใต้การนำของผุ้นำสูงสุ คิม จองอึ ได้แกสดงความแข็งกร้าวมากขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่ดำรงตำแหน่งแทนบิดาเมือปีกว่าที่ผ่านมา ตลอดเวลาประชุาคมโลกมีความหวังว่าผุ้นำหนุ่มที่สุด (อายุ 32 ปี) ในโลกคนนี้จะนำเกาหลีเหนือไปสู่มิติการเมือง เศราฐกิจสังคมใหม่ รวมทั้งเชื่อว่าผุ้นำรุ่นที่สามคนนี้ มีการศึกษาในต่างประเทศมาก่อน น่าจะมีความรู้แลความเข้าใจในสังคมทันสมัยและมีเศราฐกิจเจริญก้าวหน้า พัฒนาประเทศ ทำให้ประชุาชนมีชีวิตที่ดีขึ้น
           ในปัจจุบัน นักวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ทั่วโลกปวดหัวมา ไม่สามารถเข้าใจถึงควมต้องการของ คิม จองอน ลึกๆ เขาต้องการอะไรกันแน่ ที่ผ่านมามีเหตุการ์ล่เเหลมเกิดขึ้นมาตลาด ล้วนชี้ไปทางเดียวว่า ผุ้นำคนี้ไม่มีความคิดต้องการเห็นสันติภาพในคาบสมุทรเกาหลีอย่างแน่นอน ทไใ้ผุ้นำเกาหลีใต้และชาติอื่นๆ เป็นห่วงมาก
            เมื่อต้นเดือนเมษายน กองทัพของสองเกาหลีได้มีการยิงปะทะกันอ้วยปืนใหญ่ ถึงแม้ว่าจะไม่ได้ร้ายแรงอะไร แต่เหตุการณืครั้งนี้สร้างความตระหนกตกใจต่อหลายประเทศในภูมิภาคว่า ในขณะที่ประชุาคมโลกกำลังเผ้าดูสถานกาณ์ในไครเมีย และการใช้กองกำลังเช้ายึดครองพื้นที่ของยูเครน เกาหลีเหนืออาจจะทดสอบความพร้อมทางด้านกำลังรบของเกาหลีใต้อีกครั้ง
              เมื่อเร็วๆ นี้ ปรธนาธิบดี ปักกัน เฮ ได้เสนอแยการจะรวมสองเกาหลีในอนาคตโดยใช้แนวทางสันติภาพ ปฏิญาณเดรสเดน บ่งชัดว่าการวมสองเกาหลี่นั้นจะค่อยๆ เป็นค่อยๆ ไป โดยเริ่มจากให้วามช่วยเหลือ ทางด้านมนุษยธรรม ซึ่ง ทางเกาหลีไใต้ได้ให้ความช่วยเหลือด้านนี้มาดดยตลอด ตามด้วยความร่วมมือทางด้านเศราฐกิจ การพัฒนาอุตสาหกรรมและการร่วมมือระหว่างสองระบบเศรษฐกิจเกาหลีทำให้สองเกาหลีเข้ารวมตัวกันง่ายขึ้น โดยเฉพาะการลดช่องวางเสษบกิจระหวางกัน ส่วนเสาหลักสุดท้ายอยู่ที่สัมพันธ์ประชุาชนต่อประชาชน คนเกาหลีเป็นจำนวนมากถูกแยกห่างออกจากัน เนื่องจากสงครามเกาหลีปละความแตกต่างทางด้านการเมือง
              ฝ่ายเกาหลีเหนือไม่ได้แสดงความยิดีอะไรต่อข้อเสนแเกาหลใต้ ผู้นำเกาหลีเหนืออาจจะผิดหวังก็ได้ เพราะลึกๆ เกาหลีเหนือต้องการให้เกาหลีใต้ยกเลิกการห้ามทำธุรกิจท่องเที่ยวกับเกาหลีเหนือ ที่ผ่านมาผุ้นำเกาหลีเหนือมักใช้วิธีข่มขู่เกาหลีใต้และญี่ป่นุเพื่อเาอมาเป็นอำนาต่อรองในการขอเพิ่มคามช่วยเหลือทางมนุษยธร
              พฤติกรรมของผุ้นำเากลีเหนือที่ในช่วงยี่สิบปีที่ผ่านมาจะพบว่ามีวิธีกาแบเดียวกันคือ หนึ่งเข้าร่วมการเจรจา 6 ฝ่าย หลังมีข้อตกลงกันแล้ว จะมีการละเมิดข้อตกลง ต่อด้วยการยั่วยุสหรัฐอเมริกา ญี่ป่น และเกาหลีใต้  เพื่อมความตึงเครียดหลังจากนั้นไม่นาน จมีท่าที่อ่อนลง เข้าสู่โต๊ะเจรจาอีก เหสร็จแล้วก็จะพบกับสถานการณ์เดิมซึ่งถือว่าเป็นยุทธศาสตร์ซื้อเวลาที่ได้ผลตอนนี้ คิม จองอึน ต้องนำเกาหลีให้รอด เพราะเศรษฐกิจภายในประเทศตกต่ำมาก
           
ปัจจุบันนี้มีความพยายามจะรื้อฟิ้นการเจรจา 6 ฝ่ายที่ได้หยุดชะงัไปแล้วตั้งแต่ปี 2009(2552) เกาหลีเหนือไม่ยอมเข้าร่วมการเจรจาเพราะถูกองค์การสหประชุาชาติโดดเดียวางด้านการต้าและการคลัง ช่วงหลัง อาเซียนเร่ิมให้ความสนใจ เนืองจากคู่กรณีในการเจรจาหกฝ่ายล้วนเป็นสมาชิกในเวที่การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นความมั่นคงในเอเซีย-แปซิฟิก หรือ เออาร์เอฟ นั่้นเอง ปรากฎว่า สมาชิกมนวงเจรจาหกฝ่ายยังไม่มีประชามติในเรื่องนี้ ฝ่ายอเาซียนเชื่อว่า องค์กรตัวเองมีศักยภาพในการชักจูงให้เกาหลีเหนือเข้าสู่โต็ะเจรจาได้
              นอกจากนั้นมิตรภาพจีนและเกาหลีใต้ดีขึ้นมา การต้าการลงทุนในช่วงสาม-สีปีที่ผ่านมาเพ่ิมสูงขึ้น นักท่องเที่ยวจีนและเกาหลีไปมาหาสู่กันกว่าสามล้านคนต่อปี ทางอาเซียนเห็ว่า ถ้าจีนและเกาหลีได้สนับสนนุท่าที่อาเซียน การเจรจาหกฝ่ายอาจจะเพ่ิมขึ้นอีกหนึ่งเจ้าคือ อาเซียน นั่นเอง....
               ที่ประชุมอาเซียน-สหรัฐฯ ตระหนักถึงความจำเป็นในการ่วมมือต่อต้านภัยก่อการร้าย ขณะทีอ่าเซียนใช้ เวทีแสดงจุดยือนเดิมต่อความขัดแย้งในคาบสมุทรทรเกาหลีโดยย้ำให้เกาหลีเหนือ ปฏิบัติตามกฎของสหประชาชาติ และร่วมกันแก้ปัญกาด้วยความสันติ..
               ในการประชุมสุถยอดผุ้นำอาเซียนครั้งที่ 30 และการประชุมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นการบพกันครั้งแรกของผุ้นำอาเซียนในปีนี้ ซึ่งเป็นคร้้งแรกที่ิลิปปินส์ตามมาด้วยการประชุมผุ้นำอาเซียนกับประเทศคุ่เจรจากในปลายปีีซึ่งจะเป็นการประชุมผุ้นำที่เหใญ่กว่านี้มาก เนื่องจากผุ้นำของประเทศคู่เจรจาของอาเซียนจำนวนมากจะเดินทางมาเข้าร่วมประชุมกับผุ้นำอาเซียนถึงประะานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ของสหรัฐฯที่ประกาศชัดเจนแล้วว่าจะพบปะกับและเข้าร่วมหารือกับผุ้นำอาเวียนในปลายปีนี้ด้วย
               ก่อนหน้าดูเหมือนสหรัฐภายใต้การนำของประธานาธิบดีทรัมป์จะไม่เเสดงท่าที่ชัดเจนว่าจะหใ้ความสำคัญกับภูมิภาคเอเชียในระดับใด หลังจากสิ้นสุดยุคของรัฐบาลสหรัฐภายใต้การนำของอดีตประธานาธิบดีบารัค ดอบามาที่ประกาศนโยบาย "ปักหมุดเอเชีย" หรือหันกลับมาให้ความสำคัญกับเอเชียอีกครั้งหนึ่งเพื่อลอทอนอิทะิพลของจีนในภุมิภาคนี้
                อย่างไรก็ดีการประกาศว่าปรธานาะิบดีทรัมป์จะมาร่วมประชุมสุดยออาเซีย ครั้งที่ 31 และการประชุมสำคัญอื่นๆ ที่จะมีขึ้นในช่วงปลายปีในทางเหนึ่งก็สะท้อนไให้เก็นว่ารัฐบาลสหรัฐชุมปัจจุบันตระหนักแล้วว่าแม้จะยังงยคึดนโยบาย "อเมริกาต้องมก่อน" เป็นแก่นแกนในกาดำเนินงานทุกด้านแต่สหรัฐในฐานะที่เป็นมหาอำนาจของโลกก็ไม่อาจตคัดขาดนเองออกจากโลกได้ และสกรัฐยังคงต้องแสดงบทบาทนำหนหลารยๆ ด้าน ซึ่งแน่นอนว่าการดำเนินนโยบายต่างประเทศที่สมดุลก็เป็นส่ิงที่สกรัฐต้องยึดมั่นต่อไป
                สิงที่สะท้อนให้เก็นว่าสรัฐกลับมาให้ความสำคัญกัอเชียและอาเซียอีกครั้งแม้จะยังต้องจับตาดูแลประเมินสถานการณืกันต่อไปก็คือการที่นายเร็กซ์ ทิลเลิร์สันรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัญ ได้เหชิญรัฐมนตรีต่างประเทศอาเวียน ให้ไปพบปะหารือสมัพิเศษทกันที่กรุงวองชิงตัน ดี.ซี. ในันที่ 4 พฤษาคมนี้ ซึ่งนายดอน ประมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าดารกระทรวงการต่างประเทศระบุว่า เ็นการไปหารือในประเด็นที่อยุ่ในความสนใจของทั้งสอง่ายไม่ว่าความมั่นคงในภูมิภาค สภานกาณ์ระหว่าประเทศ และความรวมมือด้สนอืนไ ซึงร่วมถึงเรืองการต้าการลงทุน
               เชื่อได้เลยว่าเวทีการพบปะารือดังกล่าวในทางหนึ่งก็เป็นความพยายามของฝ่ายสหรัฐที่ประกาศว่าจะเร่ิงการดำเนินนโยบายทางการทูตเพื่อกาทางออกต่อกรณีเกาหลีเหนือ ซึ่งในช่วงที่ผ่านมาถูกมองว่าสถานการณ์บนคาบสมทุรกาหลีกำลังทวความตึงเครียดมากขึ้นเรื่อยๆ โดยฝ่ายเกาหลีเหนือพยายามจะบอกว่าการทีต้องพัฒนาขีปนาวุธหรือนิวเคลียร์ก็เพื่อป้องกันการรุกรานจาสหรัฐที่จัมือกับชาติพันธมิตรอย่างเกาหลีใต้เพื่อรุกรานเกาหลีเหนือ
             
 ความพยายามของเกาหลีเหนือท่จะหาพวกยังปรกกฎให้เห็นในจดหมายที่รัฐมนตรีต่างประเทศเกาหลีเหนือส่งถุงเลขาธการอาเวียน ซึ่งเพิ่งถูกนำมาเผยแพร่ผ่านสำนักข่าวเอเอฟพีก่อนการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งนีจะเร่ิมขึ้น ทั้งที่จดหมายดังกล่างถูกส่งให้กับเลขาธิการอาเซียนตั้งแต่วันที่ 23 มีนาคม ที่ผ่านมา หรือกว่ากนึ่งเดือนก่อนหน้านี้
               เกาหลีเหนือได้่งจดหมายเพื่อให้เลขาธิการอาเซียนได้เวียรให้ชาติสมาชิกอาเซียนรับทราบและให้การสนับสนุนเกาหลีเหนือกลายเป็นส่ิงที่ครอบงำความสนใจขอผู้ที่มาทำข่าวการประชุสุดยอดอาเซียนไปทันทีแม้วาก่อนหน้านี้ความสนใจต่อประเ็นความตึงเครยดบนคาบสมุทรเกาหลีจะมีอยุ่แต่ก็เพรียงในระดับหนึ่งเท่านัน เป็ฯการตัดสินใจเผยแพร่จดหมายให้กับสื่อหลังจากที่เลขาธิการอาเว๊ยนไดมได้เวียนหนึงสือให้สมาชิกอาเวียนอย่างี่เกาหลี่เหนือต้องการ
               รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซึยนจึงได้ออกแถลงการณ์แยกต่อกรณีสถานการณ์บนคาบสมทุรเกาหลีซึ่งไม่เพียงแต่จะเป้ฯการแสดงท่าที่อาเซียนต่อกรณีดังกล่าว แต่ยังเป็นการแสดงใหเห็นว่าอาเซียนในฐานะประชาาคมยังมีจุดยืนร่วมกันในประเด็นที่อยู่ในควาสนของโกทั้งเป็นจุดยื่อนรัญมนตรีต่างประเทศอาเวียนสามารถนำไปพูดคุยกับรับมนตรีต่างประเทศสหรัฐในการประชุมที่กำลังจะมีขึ้น และตอบข้อเรียกร้องของเกาหลีเหนือย่างชัดเจนว่าเกาหลีเหนือจะต้องทำตามข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ ขณะที่ทุกฝ่ายต้องหันหน้ามาหาทางแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธีต่อกรณีนี้ต้องถือว่าอาเซียนรับมือกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างทีนที
               สิงที่จะต้องจับตาดุหลังจากนี้ไปนอกจากพัฒนาการรายวันบนคาบสมุทรเกาหลีแล้วก็คือเวทีการพูดคุยกันของฝ่ายต่างๆ เพื่อหาทางลดอุณหภูมิความร้อนแรงของประเด็นคาบสมทุรเกาหลีไม่ได้บานปลายใหญ่โตออกไปมากกว่านี้จนถึงกับเป็นการปะทะกันด้วยอาวุทธยุทโธปกรณ์ ซึ่งหลายฝ่ายเชื่อว่ายังไม่น่าจะเกิขึ้น
              ขณะที่เวทีการประชุมอเวียนว่าด้วยความรวมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภคเอเชีย-แปซิฟิก หรือเออาร์เอฟ ที่จะจัดขึ้นพร้อมกับภารประชุมสุดยอดอาเวียนในช่วปลายปี ซึ่งเป็นเพรียงเวที่การประชุมด้านความมั่นคงในภูมิภาคเวทีเดียวที่เกาหลีเหนือเป็นสมาชิกอยุ่ก็จะกลายเป็นเวทีร้อนตามา ซึ่งทั้งหมดทั้งปวงนั้นจะททำให้การประชุมสุดยอดอาเซียนในปลายปีนี้ ยิ่งน่าจะได้รับความสนใจมากย่ิงขึ้นไปอีกหลายเท่า

                        - http//www.matichon.co.th/..คอลัมน์ วิเทศวิถี: "คาบสมุทรเกหลี" ปัญหาป่วนอาเซียน
                        - www.komchadluek.net/...คาบสมุทรเกาหลีกับความมั่นคงเอเชีย
                        - www.krobkruakao.com/...อาเซียน-ถกวิกฤตคาบสมุรเกาหลี
               
               

วันเสาร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Korean Peninsula ( Six - Party Talks)

            เกาหลีใต้มีความพยายามที่จะรวมประเทศอย่างสัติตั้งแต่ พ.ศ. 2513 โดยเปิดการเจรจากับเกาหลีเหนืออย่างต่อเนื่อง เร่ิมจากการเจรจาระหว่างสภกาชาตฝ่ายต้กับฝ่ายเหนือเพื่อให้ครอบครัวที่พลัดพรากระหว่างสงครามได้พบหน้ากัน มีการออกแถลงการณ์ระหว่างสองประเทศเมื่อ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 เพื่อยุติการกล่าวร้ายระหว่างกัน แต่การเจรจาเพื่อรวมประเทศข้ามเขตปลอดทหารไปมาหาสู่กันได้ในช่วง 20-23 กันยายน พ.ศ. 2528 และการเจรจาเกี่ยวกับกีฬาโอลิมปิก พ.ศ. 2531 ที่กรุงโซลเท่านั้น การเจรจาเรื่องอื่นๆ หยุดชะงักลงหลัง พ.ศ. 2529 เนื่องจากเกาหลีเหนือไม่พอใจเกี่ยวกับการซ้อมรบระหว่างเกาหลีใต้กับสหรัฐอเมริกาซึ่งถือเป็นการขัดแย้งกับการรวมชาติ เกาหลีใต้พยายามประนีประนอมกับเกาหลีเหนือเพื่อการเจรจาจนมีการประชุมระดับผุ้นำครั้งแรกเมื่อ 4 กันยายน พ.ศ. 2533 จากนั้นมีการประชุมต่อมาอีกหลายอย่าง อย่างไรก็ตาม การรวมชาติเกาหลียังเป็นสิ่งที่ต้องรอคอยต่อปไจนกระทั่งปัจจุบัน

            นับตั้งแต่เกิดเหตุการตึงเครียดในคาบสมุทรเกาหลีเมื่ปฃลาปี 2545 หลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้ใช้ความพยยามเพื่อลอความตึงเครียดดังกล่าวดังนี้
             การเจรจา 3 ฝ่าย จีนได้รับการ้องของจากสหรัฐฯ ให้จัดการเจรจา 3 ฝ่าย ระหว่าง สหรัฐฯ เกาหลีเหนือ และจีน ขึ้นที่กรุงปักกิ่ง เมื่อ 23-25 เมษายน พ.ศ. 2546 แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ เนื่อจากเกาหลีเหนือได้ตั้งข้อเรียกร้องต่างๆ ซึ่งสหรัฐฯ เห็นว่าเป็นการข่มขู่สหรัฐฯ
             การเจรจา 6 ฝ่ายรอบแรก จีนได้จัดให้ีการเจรจา 6 ฝ่าย รอบแรกขึ้นที่กรุงปักกิ่งเมื่อ 27-29 สิงหาคม พ.ศ. 2546 โดยมีสหรัญฯ เกาหลีเหนือ จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และรัศเซีย เข้าร่วมแต่ไ่มีความคืบหน้า เนื่องจากทั้งสองฝ่ายไม่มีท่าทียือหยุ่นและผ่อนปรนจุดยืนของตน สหรัฐฯต้องการให้เกาหลีเหนือล้มเลิกโครงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์โดยทันที่ก่อน ส่วนเกาหลีเหนือก็เสนอข้อเรียกร้องต่างๆ ได้แก่
           1. ให้สหรัญฯ จัดหาน้ำมันและอาหารให้แก่เกาหลีเหนือ
           2. ให้มีการจัดทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกัน
           3. ให้มีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างเกาหลีเหนือกับสหรัฐฯ และเกาหลีเหนือกับญี่ปุ่่น และ
           4. ให้ดำเนินการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2 แห่งที่สหรัฐฯ สัญญาจะสร้างให้
       
 การเจรจา 6 ฝ่ายรอบสอง จัดที่กรุงปักกิ่ง เมื่อ 25-28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 สหรัฐฯต้องการให้เกาหลีเหนือล้มเลิกด้วยการทำลาย โครงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์จากแร่พลูโตเนียมและแร่ยูเรเนียมอย่างสิ้นเชิง ตรวจสอบได้และหวนกลับคืนไม่ได้ แล้วสหรฐฯกับทุกฝ่ายจึงจะร่วมกันดูแลความมั่นคงปลอดภัยให้แก่เกาหลีเหนือ รวมทั้งให้ควมช่วยเหลือทาางเศราฐกิจและพลงงานส่งนเกาหลีเหนือต้องการสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเกาหลีเหนือกับสหรัญฯ หรือหลัักประกันจากทั้ง 5 ฝ่าย โดยคาดหวังว่าจะได้รับความช่วยเหลือด้านต่างๆ เป็นการตอบแทน ทั้ง 6 ฝ่ายได้จัดตั้งคณะระดับทำงาน
           การประชุมคณะระดับทำงานครั้งที่ 1 จัดขึ้นเมื่อ 12-14 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ที่กรุงปักกิ่ง โดยไม่มีความก้ายหน้าที่สำคัญมากนักเนื่องจากท่าที่ของสหัรฐฯและเกาหลเนือยังคงแตกต่างกันมาก การประชุมคณะระดับทำงานครั้งที่ 2 การเจรจา 6 ฝ่ายรอบสามีขึ้นระหว่าง 21-22 และ 23-26 มิถุนายน 2547
            การเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่สาม จัดที่กรุงปักกิ่งเมื่อ 23-26 มิถุนายน 2547 โดยได้มีความคืบห้า 3 ประการคือ
            1. จีนในฐานะประธานการเจรจาได้ออกคแถลงของประธาน มีเนื้อหาโดยสรุปคือ ทั้ง 6 ฝ่ายเน้นย้ำความจำเป็ฯในการดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอนของถ้อยคำต่อถ้อยคำและกากระทำต่อกากระทำ ในการหาแนวทางการแก้ปัญหาประเด็นอาวุธนิวเคลียร์
            2. กำหนดให้มีการประชุมคณะระดับทำงารนครั้งที่ 3 โดยเร็วที่สุด และ
            3. กำหนดให้มีการเจรจา 6 ฝ่ายรอบสี่ภายในเดือนกันยายน พ.ศ. 2547 เพื่อกำหนดขอบเขต ระยะเวล การตรวจสอบ และมาตการที่สอดคล้องกัน ในการดำเนินกำารรในขึ้นตอนแรกของการทำลายโครการพัฒนาอาวุธนิวเคียร์
             นอกจากนีั้ สหรัญฐฯ ได้ยื่อข้เสนแ 5 ประการแก่เกาหลีเหนือเพือ่เป็นากรตอบแทนที่เกาหลีเหนือระงับโครงการอาวุธนิวเคลียร์ ได้แก่
             - ช่วยเหลือด้านน้ำมันเชื้อเพลิง
             - ค้ำประกันเฉพาะกาลด้านความมั่นคง
             - ช่วยเหลือด้านพลังงานในระยะยาว
           
 - หารือกับเกาหลีเหนือโดยตรงเพื่อยกเลิการควำ่บาตทางเศราฐกิจและถอนเกาหลีเหนือออกจากบัญชีรายชื่อประเทศก่อการร้ายและ
             - ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์นิวเคียร์ในช่วง 3 เดือนซึ่งเป็นขั้นการเรียมการ ไปสู่กระบวนการขจัดอาวุธนิวเคียร์ในเกาหลเหนือ
              การเจรจา 6 ฝ่ายรอบสี่ การเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่ 4 ระยะที่ 1 วันที่ 26 กรกฎาคม - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2548 มัพัฒนาการที่สำคัญ ได้แก่ ด้านสารัตถุ ทุกฝ่ายสามารถบรรลุความเห็นชอบในหลักการร่วมกันใน Joint Statement ซึ่งจะเป็นเอกสารที่ก่อให้เกิดเจตนารมณ์ทางการเมืองร่วมกันและนำสู่การปฏิบัตเพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดในการทำให้คาบสมุทรเกาหลีเป็นเชตปลอดอาวุธนิวเคียร์ ด้านกลไก การเจรจาครั้งนี้เปิดให้สมาชิก 6 ฝ่ายพบหารือทวิภาคีเพื่อรปับท่าทีที่แตกต่างกน ดดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐฯ และเกาหลีเหนือได้พบกัน หารือทวิภาคกันมากกว่า 10 ครั้ง อยางำรก็ตาม การเจรจาครั้งนี้ต้อง recess เนื่องจากสหรัฐฯและเกาหลีเหนือยังมีท่าทีที่แตกต่างกันโดยสหรัฐฯย้ภว่าเกาหลีเหนือต้องยกเลิกโครงการนิวเคลียร์ทั้งหมด ขะที่เกาหลีเหนือ เห็นว่าโครงการนิวเคียร์เพื่อกิจการพลเรือนและากรใช้นิวเคลียร์อย่างสนติเป็นสิทธิอันชอบธรรมของรัฐอธิปไตย
              การเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่ 4 ระยะที่ 2 เร่ิมขึ้นระหว่างวันที่ 13-19 กันยายา 2548 โดยทั้ง 6 ฝ่ายได้ออกคำแถลงร่วม ซึ่งมีสาระสำคัญ ได้แก่
             - สมาชิกทั้ง 6 ฝ่ายยืนยันอย่างเป็นเอกฉันท์ถึงเป้าหมายของการเจรจา 6 ฝ่าย คือ กา่ทำให้คาบสมุทรเกาหลีปลอดอาวุธนิวเคียร์โดยสันติวิธี และสามารถตรวจสอบได้
             - สมาชิกทั้ง 6  ุ ฝ่ายเคาพรเป้าหมายและหลักากรของกฎบัตรสหประชาชาิและยอมรับบรรทัดฐานของการดำเนินความสมพันธ์ระหว่างประเทศในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างกัน
             - สมาชิกทั้ง 6 ฝ่ายจะส่งเสริมความร่วมมือด้านเศราฐกิจในสาชาพลังงาน การต้าและการลงทุน ทังใรกรอบทวิภาคและพหุภาคี
             - สมาชิก 6 ฝ่ายเห็นขอบที่จะจัดการเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่ ถ ที่กรุงปักกิ่งในต้นเดือนพศจิการยน 2548 โดยจะหารือเกี่ยวกับกำหนดวันต่อไป
               การเจรจา 6 ฝ่ายรอบ 5 การประชุมเจรจา 6 ฝ่ายรอบที่ 5 เร่ิมขึ้นเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2548 โดยมีกำหนดระยะเวลา 3 วัน ก่อนที่จะมีการหยุดพักชั่วคราว เพื่อให้คณะผุ้แทนไปเข้าร่วมประชุม APEC ที่เมืองปูซาน ประเทศเกาหลีใต้ ประเด็นหลักในการเจรจาครั้งนี้ คือ การหารือในรายละเดียดของข้อตกลงร่วมที่สมาชิกทั้ง ุ6 ฝ่ายได้ตกลงกันไว้ในการเจรจารอบที่ 4 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 ได้แก่
               - การยกเลิกโครงการอาวุธนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือ
               - การปรับความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯกับเกาหลีเหนือ
               - ความช่วยเหลือด้านพลังงานเกาหลีเหนือ

                               - https//th.wikipedia.org/../คาบสมุทรเกาหลี, ประวัติศาสตร์เกาหลี
         

วันศุกร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Korean Peninsula (Korean War)

             ในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา เกาหลีถูกรุกรานจากจีนและญี่ป่นุหลายครั้ง หลังจากที่ญี่ปุ่่นชนะจีนในสงครามจีนกับญี่ปุ่น (Sino-Japanese War 1894-1895) แต่ญีปุ่นก็ยังคงกำลังทหารไว้ในเกาหลี่และยึดครองพื้นที่ส่วนใหญ่ทางยุทธศาสตร์ของประเทศเกาหลีไว้ และอีก 10 ปีต่อมาญี่ป่นุก็สามารถเอาชนะในสงครามทางเรือต่อรัสเซีย -ญี่ปุ่น (Russo - Japanese War 1904-1905) ทำให้ญี่ปุ่นมาเป็นมหาอำนาจจักรวรรดินิยม ญี่ปุ่นจึงยังยึดครองเกาหลีต่อไปและขยายการยึดครองไปยังิดนแดนต่างๆ ของประเทศเกาลหลีโดยใช้กำลังทหาร จนรในที่สุดญี่ป่นุก็ได้ผนวกเกาหลีเป็นดินแดนของญี่ป่นุเมื่อเดือนสิงหาคม 1910
              เมื่อญี่ปุ่นเข้ามาปกรองเกาหลี ญี่ปุ่นจัดการฟื้นฟูประเทศเกาหลีให้มีความก้าวหน้าตามนโยบายจักรรรดินิยมของญี่ป่นุ เช่น ผลักดนให้เกาหลีมีความก้าวหน้าทางเศณาฐกิจ แต่ประชกรชาวเกาหลีกลับได้ผลประโยชน์จากความก้ายหน้าทางเศราฐกิจเพียงเล็กน้อย นอกจากนั้นญี่ปุ่่นยังกดขี่เกาหลีทงด้านวัฒนธรรมด้วย เช่น ห้ามใหช้ภาษาเกาหลี และเมื่อชาวเกาหลีกลุ่มใดเรียกร้องเสรีภาพ ญี่ป่นุจะให้ตำรวจเข้าทำการปราบปราม จึงทำให้ชาวเกาหลีด้ินตนแสวงหาอิสรภาพอย่างเต้ฒที่ในที่สุดได้เกิด
"ขบวนการซามิว" หรือ "ขบวนการ 1 มีนาคม" ขึ้นในปี ค.ศ. 1919 ซึ่งขบวนการซามิวนี้ประเกอบด้วยผูงชนที่ปราศจากอาวุธจำนวนมาก พากันเดินขบวนเรียกร้องให้ชาวโลกช่วยเกาหลีให้หลุ่มพ้นจากความเป็นทาสของญี่ป่นุ แต่การปฏิบัติการของขบวนการซามิวไม่สำเร็จผล บรรดาผู้นำในการกอบกุ้เอกราชของเกหลีจึงได้จักตั้งรัฐบาพลัดถ่ินขึ้นในประเทศจีน โดยตั้งให้นายชิงมัน รี เป็นประธานาธิบดีคนแรกของรัฐบาลเกาหลี แต่ต่อมาไม่นานรัฐบาลพลัดถ่ินดังกล่าวเกิดการแตกแยกเป็นหลายฝ่าย ในที่สุดกลุ่มที่นิยมโซเวียตก่อตัวเป็นกองโจรแล้วต่อต้านญี่ป่นุอยุ่ตามบริเวณพรมแดนที่ติดต่อระหว่างเกาหลีกับแมนจูเรีย ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งเป็นปรปักษ์ตจ่อคอมมิวนิสต์ซึ่งทำการต่อต้านอยาางดุเดือดเช่นเดียวกับกลุ่มนิยมโซเวียต และในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 กลุ่มที่เป็นปรปักษ์ต่อคอมมิวินสิต์ได้เข้าร่วมกับกองทัพจีน ส่งวนายชิงมัน รี เดินทางไปยังกรุงวอชิงตัน เพื่อหาทางกอบลกู้เอกราชให้เกาหลีโดยวิถีทางการทูตและการเมือง แต่ความแตกแยกทางความคิดของรัฐบาลพลัดถ่ินของเกาหลีในจีนก็ยังคงมีอยู่
              ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 นอกจาพันธมิตรจะประกาศให้เกาหลีเป็นเอกราชแล้วสหรัฐอเมริกากับอดีตสหภาพโซเวียตยังตกลงกัน่า เมื่อชนะสงครามแล้วจะใช้เส้นขนานที่ 38 เป็นเส้นแบ่งเขต สำหรับควบคุมกองทหารญี่ป่นุของแต่ละฝ่าย
                 และเมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1945 กองทัพสหรัฐอเมริกาเคลื่อนกำลังไปในดินแดนเกาหลีตั้งแต่ใต้เส้นขนานที่ 38 ขึ้นไป และแต่ละฝ่ายจัดตั้งการปกครองในเกาหลีทีั้ง 2 เขตตั้งแต่นั้นมา จึงก่อให้เกิดการแบ่งแยกประเทศเกาหลีออกเป็น  ประเทศ แต่สหรัฐอเมริกาไม่เห็นด้วยกับการแบ่งแยกดังกล่าวจึงขัดขวางโดยเสนอให้วมเกาหลีทั้ง 2 เป็นประเทศเดียวกัน ซึ่งทางสหภาพโซเวียตเห็นด้วยแต่ีเงื่อไขว่า รัฐบาลที่จะปกครองเกาหลีต้องเป็นรัฐบาลที่จัดตังขึ้นตามเหงื่อนไขของสหภาพโซเวียตเท่านั้ สหนรัฐอเมิรกาจึงนำปัญหานี้เสนอต่องค์การสหประชาชาติตามเบงื่อนไขของสหภาพโซเวียตเท่านั้นสหรัฐอเมริกาจึงนำปัญหานี้เสนอต่อองคการสหประชาชาติพิจารณาเมือกันยายน ค.ศ. 1947 ต่อมาสภาความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีมติให้เลือกตั้งทัี่้วไปในเกาหลีและให้อยุ่ในความควบคุมของสหประชาติ แต่สหภาพโซเวียนปฏิเสธความี่วมมือและ พฤษ๓าคม ค.ศ. 1948 จึงมีการเลือกตั้งทั่วไปในเกาหลีเฉพาะเขตคที่อยุ่ในการยึดครองของสหรัฐอเมริกาเพียงเขตเดียวเท่านัน การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกต้้งสมาชิกประจำสมัชชาแห่งชาติของเกาหลี หลังจาการเลือกตั้งผ่านพ้นสมัชชาแห่งชาติเกาหลีได่้ทำากรร่างรัฐธรรมนูญขคึ้นมาปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยและประกาศไช้รัฐ
ธรรมนูญฉยับบนี้ในวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1948 และในวันที่ 156 สิงหาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่ีงชาติเกาหลีประกาศจัดตั้งสาธารณรับเกาหลีขึ้นเป็นทางการโยมีนายชิงมัน รี เป็นประธานาธิบดีคนแรก และขณะเดียวกันใตช่วงต้นปี คซฦ.ศ. 1946 สหภาพโซเวียนก็ตอบโต้ด้วยการจัดตั้งรัฐบาลขึ้ามาปกครอง ในดินแดนยึดครองของตนเองบ้าง โดยมีนาย คิมอิล ซุง เป็นหัวหรเ้าคณะรัฐบาล ซึ่งเป็นไปในแนวทางคอมมิวนิสต์ ทำให้ชาวเกาหลีจำนวนามากที่อยุ่นเชตการปกครองนี้หนีลงข้ามเส้นขนาที่ 38 มาอาศัยในเขตที่สหรัฐอเมริกาได้ประกาศจึดตั้งสาธารณรัฐเกาหลีขึ้น ต่อมาเมื่อวันที่ 9 กันยายน ค.ศ. 1948 สหภาพโซเวียนตึงจัดตั้งเขต ยึดครองของตนเป็นประเทศ "สาธารณรับประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี" มีนายคิม อิล ซุง เป็นหัวหน้าคณะรัฐบาล  และเมื่อจัดตั้งประเทศเกาหลีเหนือสำเร็จ สหภาพโซเวียจตึงถอยทัพออกไปจากดินแดนเกาหลีเหนือนับแต่นั้นมา เกาหลีจึงกลายเป็น 2 ประเทศโดยมีเส้นขนานที่ 38 เป็นเส้นแบ่งดินแดน
            เหตุการณืที่เกิดกับเกาหลีหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แสดงให้เห็นว่าเกาหลี่เป็นอีกประเทสหนึค่งที่มหาอำนาจผู้ชนะสงครามได้วางแผนให้สู้รบกันเอง เพราะการแบ่งแยกประเทศและการแบ่งปยกแนวความคิดทางการเมือง และเมื่อสงครามสิ้นสุดลงแล้วชขาวเกาหลียังต้องจับอาวุธรบกันเองครั้งยิงใหญ่ เพราะเหตุที่มหาอำนาจ "ยัดเยียด" หรือ "ส่งเสริม" แนวความคิดทาสงการเมืองที่แตกต่างกันให้กับชาวเกาหลีนั้นเอง
             เกาหลีเป็นประเทศ ที่วัติศาสตร์ยาวนาไม่น้อยกว่า 5,000 ปรี และตลอดระยะเวลาที่ยายนามนั้นเกาหลีเต็มไปด้วยสงคราม เพราะที่ตั้งของประเทศเกาหลีเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญระหว่างญี่ปุ่น จีน และอดีตสหภาพโซเวียต ทำให้จีนและญี่ปุ่นต่างต้องการที่จะเข้าไปมีอิทธิพลเหนือเกาหลี ทำให้ประเทศทั้งสองเข้ารุกรานเกาหลีตลอดมา
             ในช่วงต้นและกลางศตวรรษที่ 20 ญี่ปุ่นได้เข้าครอบครองเกาหลีไว้ทั้งประเทศแล้วเปลี่ยนชื่อประเทศเกาหลีเป็น "ประเทศโซเซน" เมื่อญี่ปุ่นแพ้สงคราม ในสงครามโลกครั้งที่ 2 เกาหลีจึงได้รับอกราชตามคำประกาศแห่งไคโรของฝ่ายพันธมิตรซึ่งการได้รับเอกตาชของเกาหลีหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง ทำให้เกาหลีถูกแบ่งแยกออกเป็น 2 เขตการยึดครอง คือ เขตยึดครองของโซเวียนและเขตยึดครองของสหรัฐฯ ซึ่งต่อมาเขตยึดครองของมหาอำนาจทั้งสองกลายเป็นประเทศเกาหลี 2 ประเทศในปัจจุบัน
             เกาหลีก่อนแยกเป็นเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ เดิมเมืองหลวงอยู่ที่กรุงโซลเมื่อที่เป็นศูนบ์กลางการเมือง เศราฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมจของประเทศมานานกว่า 600 ปี มีแม่น้ำฮันกังไหลผป่านแลเทือกเขานัมซันตั้งอยุ่ใจกลางเมืองประเวัติของเกาหลีก่อนที่จะเจอสงครามเย็นจนแยกออกเป็นสองประเทศนั้นเคยถูกจีนและญี่ปุ่นรุกราน อย่างสหาหันสากัน ส่งสงครามเกาหลีเป็นช่วงต่อจากสงครามโลกครั้งที่ 2 และเริ่มจ้นสงครามเย็น กล่าวคือ สหภาพโซเวียตในขณะนั้น ภายใต้การนำของสตาลิน จดๆจ้องจะประกาศสงครามกับญีปุ่่น แต่อเมริกาท้ิงประมาณูบอมบ์ฮิโรชิม่าจนญี่ป่นุประกาศยอมแพ้ในปี 1945 โซเวียตจึงยกทัพบุกแมนจูเรียกับเกาหลีทางเหนือทันที่ ซึ่งไม่มีการต่อต้านจากสองดินแดนนี้ อเมริกามองสถานการณ์อย่างไม่พอใจนัก จึงแยกอำนาจเกาหลีออกเป็นสองฝ่าย โดยให้โซเวียตกำกับดินแดนที่อยูเหนือเส้นขนาน 38 ขึ้นไป ในช่วงเวลาดังกล่าวการเมืองของเกาหลีทั้งฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้วูบวาบตลอดเวลา แต่ฝ่ายเหนือดูเหมือจะมั่นคงกว่า เมื่อโซเวียตหนุนหลังคิม อิล ซุง สร้างอำนาจเต็มที่ ขณะที่ฝ่ายใต้แตกแยกเป็นฝ่ายนิยมคอมมิวนิสต์กับฝ่ายต่อต้านโดยมีอเมริกาแอบหนุนหลังฝ่ายต่อต้านคอมมิวนิสต์จนครองอำนาจเบ็ดเสร็จในปี 1947 ฝ่ายเหนือและใต้พยายามจะเปิดเจรจาเพื่อรวมชาติหลายคั้ง แต่ทั้งโซเวียตและอเมริกาต่างๆไม่ยอม เพราะเกรงจะเสียทีอีกฝ่ายในที่สุดทั้งสองดินแดจึคงจัดเลือกตั้งและมีรัฐบาลแยกตัวกันอย่างเด็ดขาด นำไปสู่การทำสงครามในปี 1950 และสิ้นสุดลงเมื่อ กรกฎาคม 1953 ซึ่งสงครามคร่าชีวิตชาวเกาหลีไปกว่า 3 ล้านราย สงครามเกาหลีเป็นส่วนหนึ่งของสงครามเย็น
             ในวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 1950 กองทัพเกาหลีเหือเคลื่นผ่านเส้นขนานที่ 38 มายังเกาหลีใต้ดินแดนเกาหลีต้องประสบกับภาวะสงครามครั้งยิ่งใหญ่นับจากสงครามดลกครั้งที่ 2 ยุติลง สงครามครั้งนี้เรียกว่า"สงครามเกาหลี" เป็นสงครามที่ดำเนินต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานถึง 4 ปี เกาหลีเหลืออ้างว่ากองทัพสาธารณรับเกาหลีภายใต้การนำของ ชิงมัน รี ผุ้ขายชาติ ได้บุกรุกข้ามชายแดนมาก่อน และชิงมัน รี จะต้องถุกจับกุมตัวและประหารชีวิต
              ในสงครามครั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบแล้วเกาหลีเหนือมียุทโธปกรณ์และกองกำังที่เหนืขั้นกว่าเกาหลีไต้อยุ่มาก ทำให้กองทัพเกาหลีเหนือเข้าจู่โจมและได้รับผลำเร็จอย่างรวดเร็ว ซึ่งทำให้กองทัพเหนือยึดกรุงโซลได้ในบ่ายวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1950 แต่อย่างไรก็ตามความหวังของเกาหลีเหนือที่จะได้รับการยอมรับการยอมแพ้จากรัฐบาลของ ซิงมัน รี และทำการรวมชาติได้อย่างรวดเร็วก็สลายไปเมื่อสหรัฐอเมริกาและชาติมหาอำนาจอื่นๆ เข้าแทรกแซงและขยายสงครามกลางเมืองเป็นความขัดแย้งนานาชาติ
               ประธานาธิปบดี ทรูแน ของสหรัฐอเมริาการนขณะนั้นได้เดินทาไปที่สหประชุาชาตเพื่อขอคำอนุมัติในการนำกำลังสหประชาชาติเข้าทำการยุติสงครามและเกาหลีเหนือต้องถอนกำลังไปที่เส้นขนานที่ 38 จัดตั้งคณะกรรมาธิการสหประชาชาติเพื่เผ้าดูสภานการณ์และให้ระงับการช่วยเบหือรัฐบาลเกาหลีเหนือ ซึ่งเรื่องดังกล่าว ทรูแมน กระทำโดยไม่ได้มีการเสนอให้ที่ประชุมสภาของสหรัฐอเมริการร่วมพิจารณาด้วย แต่คณะมนตีความมั่นคงสหประชุาชาติก็ได้ผ่านมติดังกล่าวอย่างเป็นเอกฉันท์ โดยปราศากผู้แทนของสหภาพโซเวียตเข้าร่วมในการประชุมครั้งนี้สหปะชาชาติจึงลงคะแนนเสีนงให้ช่วยเหลือเกาหลีต้ สหรัฐอเมริกาจึงได้ประกอบกำลังทหารและสงกำลังบำรุงจาชาติสมาชิก คือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อังกฤษ ฝรั่งเศส แอฟริกาใต้ เตอร์กี ไทย กรีก เนเธอิร์แลนด์ เอธิโอเปีย โคลัมเีย ฟิลิปปินส์ เบลเยี่ยม และลักแซมเยิร์ก เข้าร่วม
             
 นอกจากนัน ทรูแมนยังได้สั่งการให้นายพล ดักลาส แมคอาเธอร์ ผู้บังคับบัญชาการสูงสุดของฝ่ายพันธมิตร ซึ่งยึดครองญี่ป่นุอยู่ในขณะนั้น สงอาวุธ ยุทโธปกรณ์ สนับสนนุให้กับกองทัพเกาหลีใต้ และสั่งให้กองทัพเรือที่ 7 สหรัฐอเมริกาเดินทางมายังช่องแคบไต้หวันเพื่อป้องกันจีนคอมมิวินสต์บุกเข้ายึดเกาะไต้หวันและขณะเดียวกันป้องกันไม่ให้จีนคณะชาติที่ไต้หวันบุกยึดพื้ที่แผ่นดินใหญ่ของจีน เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้สงครามแผ่ขยายไปยังเอเชียตะวันออก
              เดือนสิงคหาคม ค.ศ. 1950 กองทัพเกาหลีใต้และกองทัพบกของสหรัฐอเมริกาภายใต้การบังคับบัญชาของ พลเอก วอลตัน วอคเคอร์ ถูกโจมตีถอยร่นมายังปูซาน ขณะที่อกงทัพเกาหลีเหนือบุกมานั้นได้ไล่สังหารชาวเมืองที่เคยช่วยพวกเขาในกาต่อต้าน ซิงมัน รี ในสงครามครั้งนี้อย่างโหดร้าย และในเือนกันยายนปีเดี่ยวกัน กองกำลังพันธมิตรชั่วคราวยังยึดพื้นที่รอบเมืองปูซานไว้ได้ซึ่งเป็นเพียง 10 % ของคาบสมุทรเกาหลี
              ในการเปชิญหน้ากับการโจตีอย่างดุเดือดของเกาหลีเหนือ การตั้งรับของฝ่ายพันธมิตรกลายเป็นการสู้รบเข้าตาจนที่ฝ่ายสหรัฐอเมริกาเรียกว่า "สงครามวงรอบปูซาน" อย่างไรก็ตาม เกาหลีเหนือไม่สามารถตีเมืองปูซานแตกได้ ซึ่งขณะนั้นทั่วทั้งเกาหลีเกต็มไปด้วยเครื่องบินทิ้งระเบิด สหรัฐได้โจมตีแหล่งส่งกำลังหลักต่างๆ ของเกาหลีเหนือเพื่อให้กองทัพเกาหลีเหนือขาดแคลนสิ่งจำเป็นในการทำสงคราม ซึ่งการำลายของเครื่องบินทิ้งระเบิดครั้งนี้ทำให้การส่งยุทโธปกร์ไม่สามารถไปถึงกองทัพเกาหลีเหนือ ที่ปฏิวัติการรบอยุ่ทางใต้ได้ ในขณะเดียวกันฐานส่งกำลังในญี่ป่นุของสหรัฐอเมริกาได้ทำการส่งอาวุธและกำลังทหารมายังเมืองปูซานอย่างมากมาย ทำให้เกาหลีใต้มีความแข็งแกร่งและมีกำลังทหารมากว่ากองทัพเกาหลีเหนือ อยู่กว่าเกือบแสน และในเวลานี้เองกองทัพสหประชาชาติและเกาหลีใต้ก็ได้เร่ิมปฏิยัติการโจมตีตอบโตค้ กองทัพสหประชาชาติได้ขับไล่กองทัพเกาหลีเหนือผ่านเส้นขนานที่ 38 จุดหมายปลายทงในการที่จะปกป้องรักษารัฐบาลเกาหลีใต้บรรลุแลว กองทัพสหประชาชาติได้ข้าแดนเข้าไปในเกาหลีเหนือเมื่อต้นเดือนตุลาคม ค.ศ. 1950 ทำให้กองทัพเกาหลีเหนือแตกกระจายและถูกจับเป็นเชลยถึง 135,000 คน และการรุกของกองสหประชาชาิ ครั้งนี้สร้างความกังวบลให้จีนมาก เพราะเป็นห่วงว่าสหประชาชาติจะไม่หยุดอยู่เพียงแม่น้ำยาบูซึ่งเป็นชายแดนระหว่างเกาหลีเหนือและจีน และดำเนินนโยบายให้จีนกลับสู่อำนาจเก่าคือ เจียงไค เชค หลายคนในชาติตะันตกรวมทั้งนายพล ดักลาส แมคอาเธอร์ คิดว่ามีความจำเป็นต้องขยายสงครามไปสู่จีน แต่ทรูแมนและผุ้นำคนอื่นๆ ไม่เห็นด้วย  นายพล ดักลาส จึงถูกกล่าวเตือนในเรื่องดังกล่าว แต่นายพลฯ ก็ไม่ใส่ใจการเตือนั้น โดยเข้าแย้งว่าเนื่องจากกองทัพเกาหลีเหนือได้รับการส่งกำลังจากฐานในเขตแดนจีน คลังสงกำลังเหล่านั้นจึงควรถูกทำลายด้วย
           
 8 ตุลาคม ค.ศ. 1950 หลังจากที่ทหารสรัฐอเมริกาข้ามเส้นขนานที่ 38 ไปแล้ว ประธานเหมาเจ๋อตุงของจีนได้ออกคำสั่งใหรวบรวมกองทัพอาสาสมัครประชุาชนจีนเคลื่อพลไปยังแม่น้ำยาลูและเตรียมพร้อมที่จะข้าแม่น้ำ ขณะเดียวกันเหมาเจ๋อ ตุงมองหาความช่วยเหลือจากสหภาพโซเวียตและมอว่ากรแทรกแซงสงครามเกาหลีครั้งนี้เป็นเพียงการป้องกันตนเอง ขอากล่าวกับสตาลินว่า "ถ้าเรายินยอมให้สหรัฐอเมริกาครอบครองเกาหลีทั้งหมด เราก็ต้องเตรียมตัวให้สหรัฐฯประกาศสงครามกับจีน" อย่างไรก็ตาม สหภาพโซเวียตก็ได้ตัดสินใจให้การช่วยเหลืออย่างจำกัดกับจีน ทไใ้จีนโกรธเคื่องมก ในขณะที่สหรัฐอเมริการก็รู้ดีว่าสหภาพโซเวียรไต้ส่งกำลังทางอากาศเข้ามาในสงครามเกาหลี แต่ก็น่ิงเฉยเพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่อาจนำไปสู่สงครามนิเคลียร์ และในวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1950 นั้นเองที่เป็นวันที่กองทัพอาสาประชาชนจีนเข้าปะทะกับทหารสรัีฐอเมริกา โดยใการปารปะทะครั้งนี้จนทำการเคลื่อนพลได้อย่างมีระเบียบวินัยและแยบยลเป็ยอย่างยิ่ง
             ปลายเดือนพฤศติกายน ค.ศ. 1950 กองทัพจีนได้เข้าโจมตีพื้ี่ด้านตะวันตกตามแนวแม่น้ำของ ซอน และสามารถเอาชนะกองทัพเกาหลีใต้หลายกองพลและประสบความสำเร็จในการเข้าตรีกองทัพสหประชาชาติ ที่เหลืออยู่ จากความพ่ายแพ้ของกองทัพสหรัฐอเมริกาเป็นเหตุให้ทหารสหรัฐอเมริกาต้องล่าถอยเป็นระยะยาวที่สุดในประวัติศาสตร์
            ในเดือน มกราคม ค.ศ. 1951 ฝ่ายคอมมิวนิสต์ได้ทำการโจมตีอีกครั้งในช่วงที่เรียกว่า Chinese Winter Offensive กองทัพจีนได้ใช้ยุทธวิธีในรูปแบบเดิมอย่างที่เคยทำ สถานการณ์ของกองทัพที่ 8 แย่ลงไปอีกเมื่อพลเอกวอคเคอร์เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ ผู้นำคนใหม่คือ พลโท แมททิว ริดจ์เวย์ ซึงเขาเร่ิมดำเนินการด้วยการกระตุ้นขวัญและกำลังใจของกองทัพที่ 8 ซึ่งตกต่ำจากการถูกโจมตีจนต้องล่าถอยเป็นระยะทางไกล และในปลายเดือนมกราคมนั้น จากการลาดตระเวนริดจ์เวย์ พลว่า แนวรบตรงหน้าเขาปราศจากข้าศึก เขาจึงพัฒนแผนการรุกแบบเต็มกำลังในยุทธการรวอัพ ซึ่งประสบผลสำเร็จอย่างมาใน ต้นเดือนกุมภาพันธ์กองทัพสหประชาชาติมาถึงแม่น้ำฮันและยึดเมืองวอนจูได้อีกครั้ง
           
จีนทำการตอบโต้กลับในเดือนกุมภาพันธ์ที่ฮองของในภาคกลางเข้าตีท่ตั้งกองทัพน้อยที่ 9 รอบเมืองชิบยองนี กองพลทหารราบที่ 2 ของสหรัฐรวมกับกองพันทหารฝรั่งเศสได้ทำการต่อสู้ชนิดเข้ตาจนในช่วงเวลาสั้น แต่ก็สามารถต้อนการรุกของจีนได้ และในสองสัปดาห์สุดท้ายของเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1951 กองทัพบกที่ 8 รุกเต็มรูปแบบเพื่อใช้อำนาจการยิงสูงสุดและมุ่งทำลายกองทัพจีนและเกาหลีเหนือมากที่สุดโดยยุทธการคิลเลอร์ กองทัพน้อยที่ 1 จึงได้ยึดครองดินแดนด้านใต้ของฮัน ในขณะที่อกงทัพน้อยที่ 9 สามารถยึดครองรองชอนได้
               11 เมษายน 1951 ประธานาธิบดีทรูแมนได้ปลดพลเอกแมคอาเธอร์ออกจากตำแหน่ง ผุ้บัญชาการกองทัพสหประชาชาติเนื่องจากขัดคำสั่ง ผู้บัญชาการคนใหม่คือ พลเอกริดจ์เวย์ ได้จัการกลุ่มกองทัพสหประชาชาติใหม่ เกิดการโจมตีอย่างเป็นขั้นเป็นตอนขับไล่คอมมิวนิสต์ให้ถอยไปช้าๆ กองทัพสหประชาชาติยังคงรุกคือบจนกระทั่งถึงแนวแคนซัส ซึ่งอยุ่เหนือเส้นขนานที 38 พวกเขาได้เปิดฉากการรุกในช่วงที่ 5 การโจมตีหลักคือ ตำแหน่งกองทัพน้อยที่ 1 แต่ก็ถูกต้านทานอย่างเหนียวแน่นที่แม่น้ำอิมจินและคาเปียง การรุกของจีนถูกหยุดลงที่ที่แนวตังรับเหนือกรุงโซล
              กองทัพสหประชาชาติตัดสินใจหยุดอยุ่แค่แนวแคนซัส ซึ่งอยุ่เหนือเส้นขนานที่ 38 และหยุดนิ่งไม่มีทีท่าที่จะทำการรุกขึ้นไปในเกาหลีเหนือ บ่งชี้ถึงช่วงเวลาที่เกิดมีกายิ่งกัน ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่เหลือจนกระทั่งมีการตกลงเพื่อหยุดยิง...

                       - wiki.kpi.ac.th/...สงครามเกาหลี
                       - gojoseon.blogspot.com... สาเหตุของสงครามเกาหลีเหนือ&เกาหลีใต้
           

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...