วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

ASEAN Under The Attack

              ในปี พ.ศ. 2558 สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ าเซียนะได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการรวมตัวจากสมาคม เป้ฯประชาคมอาเซยน หรือ ASEAN Community โดยแบ่งการการทำงานออกเป็น 3 เสาหลักสำคัญ คือ
               - เสาที่ 1 ด้านประชาคมความมั่นคง
               - เสาที่ 2 ด้านประชาคมเศราฐกิจ
                - เสาที่ 3ด้านประชาสังคมและวัฒนธรรม
               ปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในประเทศไทยให้ความสำคัญ ในการเตรียมพร้อมของประชาชนในภคต่างๆ เพื่อการเข้าสุ่ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน หรือ AECV  ส่วนอีก 2 เสานั้น คือ ASC และ ASCC ยังไม่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐเพื่อสร้างควมเข้าใจและสร้างความพร้อมให้ กับ
ประชาชนมากนัก เสาที่ดุจะเป้นปัญหาในาทงปฏิบัติมากที่สุด คือ เสาประชาคมความมั่นคง เนื่องจากว่าประเทศสมาชิกอเาซียนเองนั้น ได้มีการทำข้อตกลงไว้นเรื่องการ เพมืองและความมั่นคงอยุ่หลายข้อและข้อที่สำคัญประการหนึ่ง คือ กาไม่ยุ่งเกี่ยวการเมืองภายในของประเทศสมาชิกด้วยกัน ดังนั้น เสาประชาคมความมั่นงคงจึงอาจำไม่สามาตถพัฒนาได้มากนักหลังจากการเข้า สุ่ประชาคมอาเซียน
               อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่าจะมีอุปสรรคในการจัดตั้งเสาประชาคมความมั่นคง แต่ผู้เชี่ยวชาญด้านอาเซียนรวมถึงผู้เกี่ยวข้องด้านความมั่นคง ในอาเซียนได้แสวงหาปัจจัยที่จะสามารถดึงเอาประเทศสมาชิกต่งๆ ของอาเซียนยอมเข้ามาร่วมมือกัเพื่อก่อให้เกิดประชาคมในเสาดังกล่าว ดดยหลายท่านได้ชี้ไปที่การต่อต้านภัยคุกคามต่อความมั่นคงร่วมกัน ดดยเฉพาะภัยด้านความมั่คงนอกรูปแบบ ซึ่งถือเป็ฯอาชญากรรมรูปแบบใหม่ท่เกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียนปัจจุบัย เช่น การก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาติ ดรคระบาดและภัยธรรมชาติที่รุนแรง เป็นต้น ดดยหวังว่าประเทศสมาชิกจะสามารถแสงหาจุดยืนร่วมกันในการแก้ปัญหาภัยด้าน ความมั่นคงนอการูปแบบนี้ได้อย่างทันท่วงที่ก็จะสามารถชข่วยให้ภัยคุกคามดังกล่าวไม่แผ่ขยายจนส่งผล กระทบที่รุนแรงต่อประเทศในภูมิภาค และนำมาสู่การสร้างความมั่นคงของเสาความมั่นคงใประชาคมอาเซียนต่อไป
              ภัยด้านความมั่นคงนอกรูปแบบ ประเภทหนึ่งที่ได้ับความสนใจอย่างกว้างขสงในกลุ่มปู้บังคับใช้กฎหมาย คือ ภัยจากอาชญากรรมข้ามชาติ ในปัจจุบันอาชญากรรมข้ามชติส่งผลร้ายแรงและมีความซับซ้อนมากว่าอดีต สำหรับในพิมพ์ฺเขียวของเสาประชาคมความมั่นคงนั้น ได้กล่าวถึงอาชญากรรมข้ามขชาติที่สำคัญ 6 ประเภท คือ การก่อการร้าย กาลักพาตัวและค้ามนุษย์ การต้ายาเสพติด การประมงผิดกฎหมาย กาต้าอาวุธเถือนขนาดเล็ก อาชญากรรมทางไซเบอร์และโจรสลัด และสำหรับอาชญากรรมที่ต้องมีการจัดการอย่างเร่ิงด่วนในภูมิภาค คือ กาต้ามนุษย การต้ายาเสพติด และปัญหาโจรสลัด
              ในการแก้ปัญหาจากอาชญากรรมข้ามชตินัน มีความจำเป็ฯอย่งย่ิงที่ประเทศในภูมิภาครองรวมมือกัน ไม่ใช่ปล่อยให้เป็นความรับผิดชอบของประเทศใดประเทศหนึ่งเท่านั้น สำหรับการขยายตัวของอาชญากรรมข้ามชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียนนั้นไม่แตกต่างจากภูมิภาคอื ่่นๆ กล่าวคือเกิดจากความเหลือมล้ำด้านคุณภาพของกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายของ ประเทศสมาชิก รวมทัี้งความ่อนแอของรัฐบาลกลางที่จะเข้าไปแก้ปัญหาอาชญากรรมองค์กรข้ามขชาติ อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้เมื่อเกิดการคุกคามจากปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติดังกล่าวประเทศสมาชิก อาเว๊ยนไม่ได้แก้ปัญหาร่วมกันอย่างบูรณาการ แต่กลับมองว่าปัญหาการคุกคามดังกล่าวเกิดขึ้นใประเทศใดก็เป็นความรับผิดชอบของประเทศนั้นนการจัดการ ดังนี้นการแก้ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติจึบไม่อาจเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมได้ ระหว่างประเทศสมาชิก
               ความจริงแล้วกลุ่มประเทศอาเวียนนั้นมความตื้นตัวในการต่อต้านอาชญากรรม ข้ามชาติมาเป็นเวลานานแล้ว ดั่งแต่ปี ค.ศ. 1976 แต่ส่วนใหญ่เนนรเื่องการปราบปรามยาเสพติดทั่วไป จนกระท่งอาเซียนเร่ิมจัดตั้งการประชุมรัฐมนตรีอาเซียน และเริ่มมีการกล่าวถึงอาชญากรรมข้ามชาติมากขึ้น รวมทั้งกระตุ้นให้ประทเศสมาชิกตระหนักถึงผลกระทบและการแก้ปัญการอาชญากรรม ข้ามชาติ
              ในการประชุม ASEAN Conference on Transnational Crime ในปี 1977 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ได้มีการประกาศร่วมกันของประเทศสมาชิกใน คำประกาศว่าด้วยเรื่องอาชญากรรมข้ามขาติ  ซึ่งถือเป็นความร่วมมือที่เป็นรูปธรรมครั้งแรกระหว่างประเทศสมาชิกในภูมิภาค ในการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ ในคำประกาศดังกล่าวยังได้มีการประกาศใช้กลไกต่างๆ เช่น กำหนดการประชุมระหว่างรัฐมนตรีในการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติทุกๆ 2 ปี นอกจกนี้ยังจัดให้มีการประชุมอื่นๆ ด้วย  และที่สำคัญที่สุดคือการผลักดันให้ประชาคมความมั่นคงอาเซียนหรือ ASC เกิดขึ้นและมีกลไกที่มีประสิทธิภาพในการแก้ปขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติอย่างแท้จริง
             สำหรับการกำหนดความร่่วมือในการต่อต้ารอาชญากรรมข้ามชาติภายใต้กรอบของประชาคมความมั่นคง หรือ ASC คือ
             - เพิ่มความร่วมมือในการรับมือกับภัยความมั่นคงนอกรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการต่อสู้กับอาชญากรรมข้ามชาติและปัญหาข้ามพรมแดนอื่นๆ
             - เพิ่มความร่วมมือในการรับมือกับภัยความมั่นคงนอกรูแปบบต่างๆ ดดยเฉพาเยอ่างยิ่งการต่องสู้กับอาชญากรรมข้ามขติและปัญหาข้ามพรมแดนอื่นๆ
             - เพ่ิมความพยายรามในการต่อต้านการก่อการร้ายดดยการลงนามรับรองในอนุสัญญา อาเวียนว่าด้วยการต่อต้านการก่อการร้ายและนำข้อตกลงจากอนุสัญญาไปปฏิบัติจริง
             นอกจากเครื่องมือและกลไกต่างๆ ภายในอาเซียนเองแล้ว การสร้างความร่วมมือจากประเทศนอกกลุ่มดดยเฉพาะประเทศในภุมิภาคเอเชียน อเงนั้นก็ยังเป็นปัจจัยสำคัญในการแก้ปัญหาแาชญากรรมความมั่นคงนอกรูปแบบ ร่วมทั้งอาชญากรรมข้ามชาติด้วยเช่นกัน ความช่ีวยเหลือจากประเทศนอกกลุ่มสมชิก เช่น ญี่ป่นุ จีน และเกาหลีนั้น จะช่วยผลักดันนโยบายต่างๆ ให้สำเร็จมากขึ้น
             เช่น ปัญหาดจรสลัด ประเทศญี่ป่นุซึ่งต้องส่งสินคึ้าผ่านน่นนำทะเลจีนใต้ได้รับความเดือดร้อน จาการแผ่ขยายอิทธิพลของโจรสลัด จึงได้เสนอให้แก้ปขปัญหาโตจรสลัดในน่านน้ำบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่าง จริงจัง ประเทศญี่ปุ่นได้ผลักดันให้เกิดการประชุมเรื่องภัยจากโจรสลัดในปี ค.ศ. 2000 กับประเทศสมาชิกอาเว๊ยน และยังได้เชิญตัวแทนจากประเทศอื่นๆ เช่น จีน ฮ่องกง อินเดีย และศรีลงการ เข้าร่วมด้วย
             นอกจากนี้ญี่ปุ่นยังได้ผลักดันดครงการ "ASIA Anti-Piracy Challenges 2000" และร่วมลงนามในข้อตกลง ซึ่งนำมาสู่การบังคัยใช้นปี ค.ศ. 2006 โดยมีข้อตกลงโดยรัฐบาบลญี่ป่นุได้ช่วยสนยสนุนเงินทุนและการฝึกซ้อมต่อหน่วยงานในประเทศสมาชิกอาเวียนเพื่อต่อต้านอาชญากรรมทางทะเลจากโจรสลัด การเข้ามมาร่วมมือของประทเศญี่ป่นุในการต่อต้านอาชญากรรมจากโจรสลัดดังกล่าว ช่วยให้รัฐบาลของอาเซียนสามารถร่วมมือกันอย่างเป็นรูปธรรมมากขึนเพื่อต่อต้านและการปราบปรามโจรสลัดในน่าน้ำของอาเซียนเอง...(http://www.matichon.co.th/news_detail... /มติชนออนไลน์/28 มีนาคม 2556)
           
6 พ.ค. 2560 เกิดเหตุระเบิดกรุงมะนิลา 2 ครั้งซ้อน ดับ 2 เจ็บอีก 5 ซ้ำรอยที่เดิมตอนประชุมผู้นำอาเซียน. สำนักข่าวเอเอฟพีรายงานว่า เกิดเหตุระเบิด 2 ครั้งซ็อนในกรุงมะนิลา เมืองหลวงของฟิลลิปปินส์เมื่อคืนวันที่ 6 พฤษภาคม ส่งผลให้มีผุ้เสียชีวิตอย่างน้อย 2 ราย และบาดเจ็บอีก 5 คร ตำรวจเปิดเผยว่า เหตุระเบิดครั้งแรกเกิดขึ้นทีใกล้กับมัสยิดในย่านกิอาโป หนึ่งในย่านเก่าแก่ที่สุดในกรุงมะนิลาที่เป็นพ้นที่สลัมเป็นส่วนใหย่ เมื่อเวลาราว 18.00 น. ตามเวลาท้องถ่ิน โดยมีผุ้เสียชีวิต 2 รายและบาดเจ็บ 4 คน จากเหตุระเบิดครั้งนี้
              ขณะที่ระเบิดครั้งที่ 2 เกิดขึ้นบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงกับจุดเดิมเมื่อเวลาราว 8.30 น. โดยระเบิดครั้งนี้ไม่ได้ก่อให้เกิดความเสียหายรุนแรงต่ออาคารสภานที่ดดยรอบ แต่สงผลให้เจ้าหน้าที่ตำรวจที่าำลังตครวจสอบสถานที่เกิดเหตุได้รับบาดเจ็บ 1 นาย
               โดยก่อนหน้านี้เกิดเหตุระเบิดในย่านกิอาโปเมื่อวันที่ 29 เมษายน ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ฟิลิปปินส์เป็นเจ้าภาพจัดการปรุชมสุดยอดผุ้นำอาเซียน ส่งผลให้มีผุ้ได้รับบาดเจบ 14 คน ดดยกลุ่มกองกำลังรัฐอิสลาม (ไอเอส) ในฟิลิปปินส์อ้างว่าเป็นผุ้ลงมือก่อเหจุ ทว่าตำรวจฟิลิปปินส์ปฏิเสธว่าไม่ได้เป็นการก่อการร้าย และไม่เกี่ยวกับการประชุมผุ้นำอาเซียนแต่อย่างได แต่ระบุว่าเป็นการล้างแค้นกับแก๊งวัยรุ่นที่มีปัญหากันในพื้นที่ ขณะที่เหตุระเบิดครั้งล่าสุด เจ้าหน้าที่ยังไม่ได้ระบุถึงสาเหตุที่เป็นไปได้แต่อย่างใด..(matichon.co.th/new/552613
             22 พฤษภาคม 2560 สำนักข่าวแห่งประเทศจีนรายงานว่า เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคมนี้ การทหารฟิลิปปินส์แถลงวา กองทัพของประเทศอาเซียนต่างๆ จะกระชับความร่วมมือเพื่อดจมตีการก่อการร้ายที่เป็นภัยต่อสันตุภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค วันเดียวกัน นายเอดัวร์โด อาเรวาโล ผู้อำนวยการสำนักงานกิจการสาะารณะกองทัพฟิลิปปินส์เผยว่า เมื่อเร็วๆ นี้ผู้นำระดับสุงของกองทัพประเทศอาเซียนลงนามในแถลงการณ์ร่วมดดยระบุจะกระชับการซ้อมรบร่วม การช่วยเหลือทางสทิะิมนุษยะรรมและความสามารถการบรรเทาภัย ฝ่ายต่างๆ  ยังพยายามที่จะส่งเสริมให้การประชุมเสนาธิการใหญ่ของกองทัพประเทศอาเซียนให้เป็นกลไกแบบทางการ เพื่อโจมตีการก่อการร้ายและประสานงานการับมือกับภัยพิบัติต่างๆ ..(thai.cri.cn/247/2017/05/22/...)
             23 พฤษภาคม 2560 ดูแตร์เต ประกาศกฎอัยการศึก จังหวัด มินดาเนา หลังผู้ก่อการร้ายเอี่ยว "ไอเอส"ป่วนเมือง, ประธานาธิบดีโรตริโก ดุแตร์เต้ ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ ประกาศกฎอับยการศึก ในช่วงดึกของวันที่ 23 พฤษภาคมที่ผ่านมา ในจังหวัดมินดาเนา ตอนใต้ของประเทศฟิลิปปิน์ หลังทหารกองทัพฟิลิปปินส์ยิงปะทะกับกลุ่มติดอาวุธที่มส่วนเกี่ยวข้องกับกาองกำลังรัฐอิสลาม หรือไอเอส อยางหนัก ขณะที่คนร้ายเผาบ้านเรื่อน ยึดโรงพยาบาลและประกาศศักดาชักธงไอเอสขึ้น
             นายเออร์เนสโต อเบลเลล่า โฆษกประธานาธิบดี แถลงเกี่ยวกับการประากศกฎอัยการศึกที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซียน ซึ่งนายดูแตร์เตอยู่ระหว่างเดินทางเยือนอย่างเป็นทางการ สำนักข่าวรอบเตอร์รายงานว่า ในช่วงค่ำที่ผ่านมาเกิดเหตุปะทะกันระหว่างทหารของกองทัพฟิลิปปินส์ กับกลุ่มติดอาวุธที่ม
             ด้านสำนักข่าวเอเอฟพีรายงานอ้างนายเอดูอาร์โต อาร์โน ผุ้บัญชาการทหารสูงสุดฟิลิปปินส์ ว่าเหตุปะทะดังกล่าวส่งผลให้มีทหารเสียชีวิตอย่างน้อย 1 นาย และมีทหารได้รับบาดเจ็บจำนวนหนึ่ง ในปฏิบัติการตามล่าตัวนายอิสนิลฃอน ฮาปิลอน หัวหน้ากลุ่มอาบุไซยาฟ และหวหน้ากลุ่มไอเอส สาขาประเทศฟิลิปปินส์
           
 นายอาร์โน ระบุ่ามีนักรบของกลุ่มติดอาวุธราว 20 นายใช้โรงพยาบาลแห่งหนึ่งเป็นฐานที่มั่นและชักธงของกลุ่ม ไอเอส ขึ้นที่ประตูของโรพยาบาล ขณะทีมีนักรบอีกราว 10 นายที่บุกไปยังเรือนจำในพื้นที่และปะทะกับเจ้าหน้าที่ความมั่นคง นอกจากนี้รายงานระบุด้วยว่ากลุ่มก่อการร้ายได้เผาทำลายอาคารบ้านเรือนเพื่อสร้างความสับสนให้กับเจ้าหน้าที่ด้วย
             ทั้งนี้ผุ้บัญชาการทหารสุงสุดฟิลิปปินส์ ยืนยันว่าเหตุการณ์ดังกล่าวที่ดุเหมือนจะเป็นเหตุรุนแรงนั้นเป็นฝีมือของคนร้ายกลุ่มเล็กๆ ที่ต้องรับมือกับกำลังของเจ้าหน้าที่จำนวนมาก
               24 พฤษภาคม 2560 ศาสนจักรคาทอลิก ฟิลิปปินส์ เปิดเผยว่า กลุ่มกองกำลังอิสลามที่สุ้รบกับกองทัพฟิลิปปินส์ บนเกาะมินดาเนา ตอนใต้ของประเทศ ได้บุกยึดโบสถ์คริสต์และจับบาทหลวงเป็นตัวประกัน หลังการสุ้รบยังยืดเยื้อตลอดช่วงคืนที่ผ่านมา ขณะที่นายดรดริโก ดูแตร์เต ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ ระบุว่าอาจขยายเวลากฎอัยการศึกในพื้นที่ไปนานถึง 1 ปี คริสตจักรคาทอลิก ฟิลิปปินส์ แถลงระบุว่า มีบาทหลวงหลายคนอยุ่ในโบสถ์ "อาวเลดี้เฮลป์ออฟคริสเตีนส์" ขณะทีกลุ่มกองกำลังมาอูเต บุกเข้าไปในโบสถ์ และกลุ่มมือปืนได้ใช้บาทหลวงเหล่านั้นเป็นตัวประกัน พร้อมทั้งขู่จะฆ่าตัวประกันหากรัฐบาลไม่ยกเลิกไล่ล่าพวกตน
               รายงานข่าวดังกล่าวมีขึ้นหลังประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ประกาศกฎอัยการศึกเมื่อช่วงดึกของคืนวันที่ 23 พฤษภาคร ในพื้นที่เกาะมินดาเนา หลังกลุ่มกองกำลังอิสลาม ก่อหตุป่วนในพื้นที่ตอนใต้ของเกาะมินดาเนา และปะทะกับเจ้าหน้าที่รัฐอย่างรุนแรง เหตุปะทะในเมืองมาราวี พื้นที่ซึ่งประชากรส่วนใหญ่จากทั้งหมด 200,000 คน เป็นชาวมุสลิมเกิดขึ้นในชี่วงบ่ายของวันที่ 23 พฤษภาคม หลังเจ้าหน้าที่ความมั่นคงของฟิลิปปินส์ บุกบ้านที่เชื่อว่านายอิสนิลอนฮาพิลิน หัวหน้ากลุ่มอาบูไซยาฟ และหัวหน้ากลุ่มไอเอสสาขาฟิลิปปินส์จะกบดานอยุ่ โดยนายฮาปิลอน นั้น เป็นหนึ่งในผุ้ก่อการร้ายที่สหรัฐอเมริกาต้องการตัวมากที่สุดและตั้งค่าหัวไว้ที่ 5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ รายงานระบุว่าหลังการบุกจับมีมือปืนกว่า 100 คนเข้าต่อสู้กับเจ้าหน้าที่ด้วยการเผาอาคารบ้านเรือนและทำการอำพรางตัวสุ้รบแบบกองโจร
               ด้านนักวิเคราะห์ด้านความมั่นคงระบุว่า ฮาพิลอน พยายามที่จะสร้างเอกภาพให้กับกลุ่มกองกำลังติดอาวุธในฟิลิปปินส์ที่ประกาศสวามิภักดิ์กับกลุ่ม ไอเอส ในจำนนนี้รวมไปถึงกลุ่มมาอูเต ที่มีฐานที่มั่นอยุ่ในเมืองมาราวีด้วย ทั้งนี้โฆษกของเจ้าหน้าที่ตำรวจและกองทัีพฟิลิปปินส์ยังไม่ได้ออกมายืนยันรายงานข่าวการจับกุมตัวประกันดังกล่าวแต่อย่างใด..(www.matichon.co.th/news/566363, 565893)
               25 พฤษภาคม 2560 รองนายกรัฐมนตรีมาเลเซียเตือนประชาชนให้เฝ้าระวังภัยจากการก่อการร้าย พร้อมระบุว่าเหตุการร์ที่เกิดขึ้นในต่างประเทศก็อาจเกิดขึ้นในภุมิภาคได้เช่นกัน
               ดาโต๊ะ สรี ฮามิดี  รองนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ประกาศเตือนประชาชนให้เผ้าระวังภัยก่อการร้ายในภุมิภาค หลังเกิดเหตุระเบิดที่เกี่ยวพันกับกลุ่มติดอาวุธซึ่งเรียกตัวเองว่า รัฐอิสลาม หรือ ไอเอส ในหลายพื้นที่ติดต่อกัน ดดยนายฮามิดีเตือนว่ามาเลเซียไม่ควรเพิดเฉพยต่อเหตุการณ์ร้ายแรงที่เกิดข้นในต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป้นเหตุระเบิดที่นครแมนเชสตอร์ของอังกฤษหรือกรุงจากร์ตาของอินโดนีเซียน ก็อาจเกิดขึ้นในภูมิภาคนี้ได้เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะพื้นที่ที่ไม่เข้มวงดเรื่องมาตรการป้องกันการก่อการร้ายรัฐบาลมาเลเซียจึงขอความร่วมมือประชาชน ให้ช่วยกันจับตาบุคคลหรือวัตถุต้องสงสัยในชุมชน และแจ้งเบาะแสต่อเจ้าหน้าที่ด้วย
               นายฮามิดีระบุอีกว่า กลุ่มติดอาวุธ คาติบะห์ นูซันตารา ซึ่งเคลื่อนไหวอยุ่ในมาเลเซีย มีความเชื่อมโยงกับกลุ่มไอเอส และอาจเคลื่อนไหวก่อเหตุต่อเนื่องในละแวกใกล้เคียง ขณะที่ตำรวจและหน่วยปราบปรามการก่อการร้ายของมาเลเซียกำลังเครียมความพร้อมขึ้นสูงสุด เพื่อรับมือและป้องกันเหตุก่อการร้ายต่างๆ โดยมีการร่วมมือระหว่างรัฐบาลในกลุ่มประทเศอาเวียนและตำรวจสากลอินเตอร์โพล เพื่อแบ่งปันข้อมูลบต่อต้านการก่อการร้ายระหว่างประเทศสมาชิกด้วย
             
 นอกจากนี้ หลายประเทศทั่วโลกยังได้ประกาศเตือนประชาชนให้เผ้าระหวังภัยจากการก่อการร้าย หลังเกิดเหตุระเบิดที่นครแมนเชสเตอร์ของอังกฤษ กรุงจาการ์ตาของอินโดนีเซียน และเหตุปะทะนองเลือดระหว่างกลุ่มติดอาวุธชาวมุสลิมกับกองทัพฟิลปปินส์ในช่วงหลายวันที่ผ่านมาระเบิดที่นครแมนเชสเตอร์ของอังกฤษเมื่อช่วงค่ำวันที 22 พฤษภาคม บริเวณจุดขายตั๋วของแมนเชสเตอร์อารีนา สถานที่จัดคอนเสิร์ตนักร้องหญิงชื่อดังขชาวอเมริกัน อาริอานนา กรานเด ทไใ้มีผุ้เสียชีวิต 22 ราย และบาดเจ็บ 64 ราย ถือเป็นเหตุก่อการร้ายครั้งรุนแรงที่สุดในรอบ 12 ปีของอังกฤษ โดยตำรวจอังกฤษจับกุมผุ้ต้องสงสัยได้แล้ว 8 คน ส่วนใหญ่เป็นญาติของนายซัลมาน อะเบดี มือระเบิดชาวอังกฤษเชื่อสายลิเบีย วัย 22 ปี ที่เสียชีวิตในที่เกิดเหตุ ส่วนผู้ต้องสงสัยอีก 2 คนเป็นชาวลิเบีย ซึ่งทางการอังกฤษได้ประสานกับทางการลิเบียให้ช่วยจับกุมเอาไว้ได้
                ด้านนางเทเรซา เมย์ นายกรัญมนตรีอังกฤษ ปรกาศยกระดับการเตือนภัยก่อการร้ายเป็นระดับสูงสุด ซึ่ง หมายความว่า อาจจะมีการก่อเหตุรอบใหม่เกิดขึ้นได้ ขณะที่หลายประเทศทั่วโลก ทั้งสหรัฐฯ สิงคโปร์สมาชิกสหภาพยุโรป รวมถึงไทย ประกาศเตือนประชาชนขอตนที่พำนักอาศัยหรือผุ้ที่จะเดินทางไปยังอังกฤษให้ ติดตามประกาศและคำเตือนของรัฐบาลอังกฤษอย่างใหล้ชิด และสหรัฐฯ ยังได้เตือนสภานทูตสหรัฐฯ ในอียิปต์ให้เผ้าระวังภัยการก่อการร้ายด้วย เนื่องจากได้รับเบาะแสจกแหล่งข่าวที่เป้ฯพันธมิตรเมื่อไม่นานมานี้
                หลังจากเกิดเหตุระเบิดที่นครแมนเชสเตอร์เพียง 1 วัน กลุ่มติดอาวุธมาอุเตซึ่งมีแนวคิดแบ่งแยกดินแดนในฟิลิปปินส์ก็ได้เปิดฉาก ต่อสู่กับกองทัพของรัฐบาลฟิลิปปินส์ที่เมืองมาราวี ซึ่งเป็นเมืองเล็กๆ ในจังหวัดลาเนา เดล ซูร์ บนเกาะมินดาเนา เขตปกครองทางใต้ของฟิลิปปินส์ และเป็นฐานที่มั่นของกลุ่มติดอาวุธหลายหลุ่ม โดยกลุ่มมาอูเตเป็นพันธมิตรกับกลุ่มอาบูไซยัฟ ซึ่งทั้งคู่ประกาศตัวสวามิภักดิ์ต่อกลุ่มติดอาวุธที่เรียกตัวเองว่ารัฐอิสลาม หรือ ไอเอส ส่วนเหตุปะทะทีเทมืองมาราวี ทำให้เจ้าหน้าท่รัฐเสียชีวิตดอย่างน้อย 3 นาย และนายโรดริโก ดูแตร์เต ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ ได้ประกาศกฎอัยการศึกทั่วเกาะมินดาเนา พร้อมสั่งตรึงกำลังเจาหน้าที่หน่วยความมั่นคงรอบเมือง รวมถึงอพยพประชาชนบางส่วนที่ต้องการออกจากพึ้นที่สู้รบ
               ขณะที่ช่วงค่ำวานนี้ เกิดเหตุระเบิดสถานีรถประจุทางทางตะวันออกของกรุงจาการ์ตา เมืองหลวงของอินโดนีเซีย ทำให้มีผุ้เสียชีวิต 5 คน แบ่งเป็นตำรวจ 3 นาย ผุ้ก่อเหตุ 2 คน และผุ้บาดเจ็บอีก 10 คนเหตุระเบิดครั้งนี้เป็นการโจมตีกรุงจาการ์ตาครั้งที่ 2 โดยเมื่อเดือนมกราคมที่ผ่านมา เคยเกิดเหตุมือปืนซึ่งเป็นเครื่อข่ายกลุ่มไอเอสบุกกราดยิงและระเบิดย่านใจ กลางกรุงจาการ์ตามาแล้วครั้งหนึ่ง ทำให้มีผุ้เสียชีวิต 4 คน ถือเป็นการก่อเหตุของเครือข่ายไอเอสครั้งรแกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเหตุการณืครั้งใหม่ก็พบเบาแสเกี่ยวขช้องกับกลุ่มไอเอสอีกเช่นกัน...newa.voicetv.co.th
           
           
           

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...