East Asia 2016

              วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559 สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ร่วมกับคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดสัมมนาประจำปี "เอเชียตะวันออกในปี 2016" ณ ห้องสัมนากลาง สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รังสิต
               ปาฐกถาเกียรติยศจาก รศ.ดร. จุลชีพ ชินวรรโณ กีรติยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แล่าวถึงความสำคัญของภูมิภาคอเมิรกาที่ถอถอยอำนาจลงไป แม้ว่าสิ้นสุดสงครามเย็นสหรัฐอเมริกาได้เป็นอภิมหาอำนาจโลกอันสามารถกำหนดวาระความเป็นไปทางการเมืองโลกจนนำสู่เหตุการณ์ 911 ที่นำสหรัฐอเมริกาสู่สงครามต่อต้านการก่อการร้าย ส่งผลให้เกิดปัญหาเศราฐกิจตามมาเหนื่องจากรายจ่ายในการสงคราม และการให้ความสนใจภูมิภาคตะวันออกกลางในสงครามต่อต้านการก่อการร้ายทำให้อิทธิพลของสหรัฐอเมริกาในเอเชียตะวันออกถดถอยลงไป ทำให้จีนมามีอิทธิพล ดดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านเศราฐกิจที่จีนมีการพัฒนามาโดยตลอดทำให้การทหารของจีนมีการขยายตัวไปด้วยนับตั้งแต่ปี 1995 เป็นต้นมา
             นอกจานี้ จีนยังได้ใช้อำนาจสังคมหรือ Soft Power ในการขยายอำนาจของตน อาทิ กาเปิดสถาบันขงจื้อ การสอนภาษาจนผ่านอาเสาสมัคร และการเดินทางท่องเที่ยวและลงทุนใไปทั่วดลกของชาวจีนแสดงถึงอำนาจของจีนที่ขยายตัวไปทั่วดลก ขณะเดียงกัน ในภูมิภาคก็มีการแข่งขันระหว่างจีนกับญี่ปุ่นที่ทั้งสองกลายเป็นมหาอำนาจพร้อมกนเป็นครั้งแรก
             ในช่วงเสวนาและอภิปราย เอเชียตะวันออก 2016  มีวิทยากร คือ ศ.ดร. ไชยวัฒน์ ค้ำชู รศ. ดร. นภดล ชาติประเสริฐ ผศ. ดร. กิตติ ประเสิรฐสุข ดำเนินรายการดย ผศ.ดร. สนุตา อรุณพิพัฒน์
              เริ่มที่ ศ.ดร. ไชยวัฒน์ ค้ำชู ได้ชี้ว่า การที่จีนและญี่ป่นุเป็นมหาอำนาจพร้อมกันในปัจจุบันส่งผลต่อสถาปัตยกรรมความมั่นคงเอเชียตะวันออกจุดเปลี่ยนที่สำคัญคือการที่จีนก้าวขึ้นเป็นอันดับที่ 2 ของเศราฐกิจโลกแทนญี่ปุ่นได้ในปี 2010 ทำให้นโยบายของนายกชิโซ อาเบะ มีความต้องการแก้ปขมาตรา 9 ของรัฐธรรมนูญ แม้จะแก้ไขไม่ได้แต่ตีความใหม่ได้สำเร็จ ในการป้องกับประเทศอื่น เมื่อพันธมิตรของวญี่ป่นุถูกโจมตีและมีผลต่อี่ป่นุส่งผลให้บทบาทความมั่นคงจะเพิ่มมากขึ้น
            เป็นที่น่าสังเกตว่าพัฒนาการของญี่ปุ่นตั้งแต่นายกรัฐมนตรี บิโซ อาเบะ ที่มีท่าที่ความมั่นคงเปล่ยนแปลงไปจากเิดมคงกำลังพลส่วนใหฐญ่ของประเทศที่ภาคเหนือ แต่ในปี 2013  เป็นต้นมามีการขยายไปที่ภาคตะวันตกเฉียงใต้ใกล้กับโอกินาวา ซึ่งเป็นการให้ความสำคัญกับความมั่นใจต่อจีนมากขึ้นฃ
            นอกจานี้แนวคิดทางด้านความมั่นคงของญ่ป่นุมีบทบาทอย่างยิ่งในการเสริมาน้างสันภาพตามขีนความสามารถของประเทศญี่ปุ่นสอิดรับกับนโยบายปักหมุดเอเชียของสหรัฐอเมริกา และมีความพายามดึงเกาหลีใต้ให้เข้าร่วมกับสหรัฐในการถ่วงดุลอำนาจกับจีนอีกแรงหนึ่ง
           สำหรับปี 2016 นี้ ศ.ดร. ไชยวัตน์ ค้ำชู กว่างว่า ตัวแปรของเอเชียตะวันออกอยุ่ที่ 3 ประเทศมหาอำนาจ คือ จีน ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริการ ดดยชีให้เห็นในภาพรวมของความสัมพันะ์ระหว่างประเทศในศตวรรษที่ 21 ว่าเป้ฯสันติภาพภายใต้ระบบเศรษฐกิจ ๙ึ่งชาติมหาอำนาจต่างพึงพาแาศัยกันทางเศราฐกิจอย่างซับซ้อน มีความผูกพันทางด้านผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน ดังนั้นความขัดแย้งจะสงผลตอเศราฐกิจของชาติมหาอำนาจซึงจะไม่เป็นผลดี
             ส่วนที่เกาหลีใต้ ชู รศ.ดร.นภดล ชาติประเสริฐ กล่าวถึงสภาพการณ์ของเกาหลีใต้ในบริบทโลกปี 2015ว่าแนวคิดความมั่นคงของญุ่่่ปนท่เปลี่ยนแปลงไป กับอิทธิพลของจีน เกาหลีใต้ภายใต้การนำของประธานาธิบิีปาร์ค กึน เฮ ยังคงมีแนวทางความมั่นคงหลักใกลชิดสหรัฐอเมริกา ความสัมพันธ์กับเกาหลีเหนือมีความเปลี่ยนแลปงจานโยบาย ซันชายด์ ที่ได้นำมาใช้ตั้งแต่สมัยปรธานาธิบดีคิม แต จุง สู่นโยบายที่มีความแข็งกร้าวมากขึ้น พร้อมกันี้ยังได้มีการเดินคามสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนในการกดดันเกาหลีเหนือ ดดยมีการพบกันระหว่างผู้นำทั้ง 2 ประเทศ 6 คั้งนับตั้งแต่นางปาร์คดำรงตำแหน่ง ต่างจากเกาหลีเหนือภายใต้ผุ้นำคนปัจจุบันที่ยังไม่มีการพบกับผุ้นำจีนนบตั้งแต่ขึ้นสู่อำนาจ
            ส่วนปัญหาที่นากังวลของเกาหลีใต้ในปี 2015 ที่ผ่านมาคือปัญหาเศราฐกิจที่เป็นผลจากโครงสร้างเศราฐกิจโลก คู่ค้าหลักของเกาหลีใต้มีความถดถอยชะลอตัว และการแพร่ระบาดของไข้หวัดเมิอร์สก็มีผลต่อเศราฐกจของเกาหลีใต้อย่างไรก็ดี ได้มีการแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างด้วยการผลิตในภาคส่วนใหม่ๆ เช่น เทคโนโยโลยีะอาด พลังงานทงเลอกที่เป็ฯมติรต่อสิ่งแวดล้อมพร้อมกันยังได้มีการเร่งรัดส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม SME ทั่วประเทศ ตลอดจนการใช้การูตเพื่อการต้าเป็นจุดเด่นของนางปาร์คเพราะได้มีการเดินทางเือนต่างประเทศกว่า 30 ครั้งตลอดการดำรงตำแหน่ง 3 ปี ซึ่งเป้นประธานาะิบดีที่เดินทางมากที่สุดของเกาหลีใต้
            ส่วนในปี 2016 แม้ในภาพใหญ่โลกจะมีการพึ่งพาอยางซับซ้อน แต่ใรระดับจุลภาคผลประโยชนของชาติมีความหลากหลายนำสู่ความขัดแย้งได้เช่นกัน ในกรณีเปิดเขตอุตสาหกรรมแคซองซึ่งถือว่าเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญเพราะเป็นการสิ้นสุดนโยบาย ซันชายด์ และการปิดดังกล่วหาได้เ็นแันทามติในสงคมเกาหลี แต่ได้มีการวิเคราะห์กันว่าได้รับความเห็นชอบและมีการปรึกษาหารือกับสหรัฐอเมริกา หลังจากเกาหลีเหนือได้ทดลองระเบิดนิวเคลียร์ซึ่งเป้นการทดลองครั้งที่ 4 อย่างไรก็ตามความตึงเครียดในคาบสมุทรเกาหลี ทีปะทุขึ้นด้วยความระแวงของกาหลีเหนือที่มองการซ้อมรบระหว่างหสรัฐอเมริกากับเกาหลีได้เป็นภัยคุกคามประเทศตน
             การดึงประเด็นในคาบสมุทรเกาหลีให้เป็ฯประเด็นระดับโลกสวนหนึ่งเพื่อเป็นการผลักภาระให้จนเข้ามาจัดการกับปัญหานิวเคลียร์ของเกาลี่เหนือ พร้อมกันทางเกาหลีได้เดินการทูตที่แข็งกร้้าวด้วยพยยามขยายความร่วมมือด้านเทคโนดลยีป้องกันขีปนาวุธกับหรัฐอเมริกา ซึ่งเทคโนโลยีนี้หากนำเข้ามาสู่เกาหลีใต้จะลดทอนอำนาจการทหารของจีนในการป้องกันประเทศ
             สำหรับอาเซียน ผศ.ดร. กิตติ ประเสริฐสุข ได้ชี้ว่าการเข้าุ่ประชาคมอาเซียนเม่อสิ้นปี 2015 ได้นำสู่ภาวะ "อกหักจากอาเซียน" ที่ความคาดหวังจากอาเวียนจะก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด แต่ความเป้ฯจริงไมได้เปลียแปลงอะไรมากนัก ความคาดหวังดังกล่วเป้นผลจากายาคติของสังคมไทยที่มีตค่ออาเซีนว่าเป้ฯดั่งสหภาพยุโรปที่จะมีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีทั้งในแรงงานต่างๆ ซึงความจริงยังม่อุปสรรคอยู่และการเะดินทางยังไม่เสรี ส่วนที่สังคมไทยตื่อนตัวกับ AEC เกรงว่าสินค้าของเพือย้านอาเซียนจะทะลักเข้าสู่ประเทศว่าความเป้ฯจริงสินค้าจีนต่างหากที่เข้ามามาก ส่วนความกังวลว่าแรงงานเข้าชาติจะเข้าพบว่าปัจจุบันมีจำนวนกว่า 2 ล้านคนที่ลงทะเบียนอยู่ในประเทศ
           
 ความสำเร็จของอาเวียนมี่ประากฎให้เห็นคือประเทศ CLMV ลดภาษีร้อยละ 90 จนถึงปี 2018 จะปลดภาษี ซิงเก้อวินโดว์ ได้มีก้าวสุ่ระดับหนึ่งแล้ว ึค่งเป็นการเร่ิมตั้งแต่ปี 2008 ส่วนด้านการเดินทางภายในอาเซียนได้มีการยกเลิก VISA ผ่านแดนในเมียนมา กัมพูชา ได้ยกเลิกมา 4 ปีแล้วนอกจากนี้การตื่นตัวต่ออาเซียนทำให้คนไทยมีทัศนะคติทางบวกต่อชาติเพื่อนบ้านอาเซียน ตลอดทั้งการเตรียมความพร้อมของหน่วยงานราชาการ ท้องถ่ินต่างๆ ในการเข้าสุ่ประชาคมอาเซ๊ยนอีกด้วย
             ขณะที่เครื่องมือติดตามวัดผลการดำเนินงานระดับภูมิภาค ชีัว่าได้ดำเนินการไปถึงร้อยละ 97 เป็นการประเมินที่วัดจากการมีมาตรการเท่านัน แต่ไม่ได้ดูผลลัพธ์
             สวนในปี 2016 นี้ประเทศลาวที่เป็นประธานได้ภายใต้แนวคิด Turning vision to Reality Dynamic การบูรณาการในระดับสุง การขยายความร่วมมือหลายสาขาต่างๆ ะท้อนว่าอาเวียนยังคงเดินหน้าต่อไป ขณะที่ปี 2016 ชาติสมาชิกอาเซียน
              ผศ.ดร.กิตติ ประเมินประเด็นที่ชาติสมาชิกอาเซียนต้องเผชิญร่วมกันคือ 1. พื้นที่ประชุาธิปไตยที่ขยายตัวและการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองอย่างเมียนมาบทบาทท่าที่ของพรรค NLD ต่ออาเซียนต้องปรับเปลี่ยนไปเพราะพรรค NLD ยังคงกังขาต่ออาเว๊ยนนช่วงที่รัฐบาลทหารเมียนมาปกคอง การเลือกตั้งในฟิลิปปินส์ที่จะมีขึ้นในปลายปีนี้ ส่วนเวียดนามและลาวล่าสุดมีการเปลี่ยนผุ้นำที่ยังคงมีความสัมพันธ์อันดีกับจีน สวนความหลากหลายทางเพศได้เป็นที่ตื่นตัวในชาติอาเซ๊ยนมากขึ้น 2. การ่ก่อการร้ายของกลุ่มรัฐอิสลาม IS เป็นประเด็นที่น่าจับตาในการเข้ามาปฏิบัติในภุมิภาค 3. ด้านแรงงานและการต้ามนุษย์ มีการเรียกร้องคุณภาพชีวิตแรงานลาสุดในกัมพูชา และเมียนมามีการขึ้นค่าแรงขึ้นต่ำ ส่วนการค้ามนุษย์ประเด็นโรฮีจายังคงเป็นปัญหาร่วมอาเว๊ยน 4 ด้านภัยพิบัติไฟป่าและหมอกควันข้ามชาติ การบังคับใช้กฎหมายของประเทศที่เกี่ยวข้องกับปัญหาหมากควันในการจัดการกับปัญหาดังกล่ว 5 . ทะเลจีนใต้ ประเ็นที่ชาติสมาชิกอาเซียนต้องจักการกับความสัมพันธ์กับชาติมหาอำนาจที่เข้ามามีอิทธิพลต่อภูมิภาค
                 
                     - aseanwatch/..การสัมนา-เอชียตะวันออกในปี 2016
           

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)