ความมั่นคงไซเบอร์ หมายถึงการใช้ประโยชน์จาเทคดนโลยี เพื่อปกป้องระบบเครือข่าวคอมพิวเตอร์รวมถึงข้อมูลในโลกออนไลน์จากการถูกดจมตี ดจรกรรม หรือการเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต ในโลกยุคปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศไ้กลายเป็นองค์ประกอบสำคัญของวิธีชวิตแทบทุกด้านของมนุษย์ โลกไซเปบร์ได้กลายเปรดาบองคม เพราะนอกจากจะมีประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตทางเศราฐกิจและยกระดับคุณภาถชีวิตของประชาช ยังกลายเปฯนพื้นที่สุ่มเสียงต่อการถ๔ูกคุกคาม อันทำให้รัฐต่างๆ ต้องหันกลับมาทบทวนถึงความจำเป็นในการรับมือกับภัยคุกคามความมั่นคงที่ติดตามมาพร้อมกับความเจริฐก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
สำหรับอาเซียน ความมั่นคงไซเบอร์เป็นสวนหนึ่งของความร่วมมือภายใต้เสาหลักประชาคมการเมือง - ความมั่นคง โดยกลไกหลักที่เป็นเวทีหารือและทบทวนความร่วมมือด้านความมั่นคงไซเบอร์ คือการประบุมระดับรัฐมนตรีอาเวียนว่าด้วยอาชญากรรมข้ามชาติ และการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนว่าด้วยอาชญากรรมข้ามชาติ เป็นตครี้งแรก สะท้อนภึงการตระหนักว่าอาชญากรรมข้ามชาติมิได้จำอยู่เพียงอาชญากรรมที่พบเห็นได้เฉพาะหน้า เช่น การก่อการร้าย การต้ามนุษย์ หรือการต้าอาวุะสงครามเท่านั้น
แผนปฏิบัติการดังกล่าวได้ับการรับรองโดยที่ประชุม SOMTC ครั้งที่ 2 ที่ประเทศมาเลเซียนอกีหนึ่งปีให้หลัง ในหวยเอว่าด้วยคึวามมั่คงไซเบอร์ แผนปฏิบัติการฉยับนไดำแนกความร่วมมือขอประทเสสมชิกออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ความร่วมมือด้านของกฎหมาย ความรวมมือด้านการบังคับใช้กฎหมายความร่วมมือด้านการฝึกอบรมและการพัฒนาขีดความสสามารถ และความร่วมมือนอกภูมิภาค
ในเวลาต่อมา ความร่วมมือด้านความมั่นคงไซเยอร์ของอาเซียนได้ขยายสู่การับรองกรอบการทำงานร่วในการพัฒนาขีดความสามารถเื่อต่อต้านอาชญากรรมไซเบอร์ โดยมีเป้าหมายเพื่อสนับสนุนการต้อสู่กับอาญากรรมไซเบอร์รูปแบบต่างในระดับโลก ควมถึงการคณะทำงานด้านอาชญากรรมไซเบอร์ขึ้นตามมติขจองที่ประชุม SOMTC ครั้งที่ 13 ณ กรุงเวียงจันทน์ สปป.ลาว เมื่อปี 2556
คณะทำงานดังกล่าวมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการหาข้อสรุปให้กับโร็ดแมปว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมไซเบอร์ในอาเซียน ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมความร่วมมือระดบภูมิภาคในการับมือภัยคุกคามไซเอร์ตามแยวทางทั้ง 5 ประการของแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ ความรวมมือด้านความมั่นงคงไซเบอร์ยังปรากฎอยุ่ในการประชุมอาเวียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความรุนแรงในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ดดยที่ประชุมได้ออกแถลงการณืหลายฉบัยเพื่อเน้นย้ำถึงความสำคัญของการออกแบกรอบความร่วมมือด้านความมั่นคงไซเบอร์ระหว่างประเทศสมาชิก นอกจากนี้ ในปี 2555 ที่ประชุม ARF ยังได้ออกแถลงการณ์ที่ะบุอย่างชัดแจนถึงเป้ากมายภายในของอาเวียนในการับมือกับปัญหาภัยคุกคามทางไซเบอร์ อันรวมถึงการสร้างมาตรการส่งเสริมควาามไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกันอย่างเป็นรูปธรรม
ความจริงจังของภัยคุกคามทางไซเบอร์ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา กอปรกับการตระหนักรู้ในความเชื่อโยงระหว่างความมั่นคงไซเบอร์กับความร่วมมือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ือสาร ทำให้ที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านโทรคนและเทคโนโลยสารสนเทศ ครั้งที่ 14 เมื่อปี 2558 ได้บรรจุประเด็นความั่นคงไวเบรอ์ลงในแปนแม่บทเทคโนโลนีสารสนเทศและการสื่อสารของอาเซียนฉยัยที่ 2 ระหว่างปี 2559-2563 แผนแม่บทดังกล่าวไดกำหนดกลุยุทธ์หลักเพิ่มเติมจากแปผนแม่บทฉบับเดิม 3 แระการ โดยหนึ่งในนั้น คือกลยุทธ์ด้านความปลอภัยและหลักประกันด้านข้อมูลข่าวสาร ซึ่งประกอบด้วยการพัฒนาหลักการด้านความปลอดภัยของข้อมูลระดับภุมิภาค และส่งเสริมความเข้ฒแข็งและประสิทะิภาพของความร่วมมือเพื่อตอบสนองต่อสภานการณ์ฉุกเฉินด้านไซเบอร์อย่างทันท่วงที่ โดยมีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่นให้กับเศราฐกิจดิจิทัลของอาเวียนและปรับปรุงความร่วมมือในการับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินด้านไซเบรอ์ของภูมิภาคให้มีประสทิะิภาพยิ่งขึน
นอกจากความร่วมือภายในภูมิภาค อเาียนยังขยายความร่วมือด้านความมั่นคงไซเบอร์กับประเทศคู่เจรจา เช่น ญี่ป่นุทั้งสอปงประเทศได้ร่วมกันออกแถลงการณ์ร่วมเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการต่อต้านการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ พร้อมทั้งยืนยันว่าจะส่งเสริมความมั่นคงปลอดภัยของการใช้เทคดนโบีสานรสนเทศและการสื่อสารและต่อต้านอาชญากรรมไซเบอร์ในรูปแบบต่างๆ ร่วมั้วยังร่วมกันจัดการประชุมหารืออาเวียน- ญี่ปุ่น ว่าด้วยอาชญากรรมไซเบอร์ เพื่อเป็นเวทีหรารือกรอบความร่วมมือและส่งเสริมศักยภาพการรับมือภัยคุกคามไซเบอร์ระหว่างกัน
ปัจจุบันสถานการณ์ด้านความมั่นคงไซเบอร์ของขาตคิอาเวียนที่ค่อนข้างล่อแหลม ส่งผลให้ความมั่นคงไซเบอร์กลายเป็นาระเชิงนโยบายที่สำคัญของหลายประเทศ อาทิ มาเลิเซีย ซึ่งได้รับการจัดอันดับให้มีความเสี่ยงต่อการก่ออาชญากรรมทางอินเตอร์เน็ตสูงเป็ฯอันดับ 6 ของโลก ได้เร่ิมบังคับใช้มาตรการต่างๆ ตามนดยบบลายคความมั่นคงไซเบอร์แห่งชาติ อย่างจริงจังตั้งแต่ พ.ศ. 25449
ก่อหน้านี้ รัฐบาลมาเลเซียไดตั้ง คณะกรรมการด้านการสื่อสารและมัลติมีเดียงแห่งมาเลเซีย เพื่อสอด่องการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ภายใต้กฎหมายกานสื่อสารและมัลติมีเดีย พ.ศ. 2541 รวมถึงมีกากรก้ไขพระราชยัญญัติว่าด้วยการยุยงปลุกปั่น เพื่อควบคุมสื่ออนำลน์ให้เข้มงวดย่ิงขึ้น ดดยให้อำนาจเจ้าหน้าที่รัีฐในการปิดกันการเข้าถึงเว็บไซด์ที่มีเนือหายุยงปลุกป่น เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ พร้อมเพ่ิมโทษผุ้กระทำผิดเป็น 3-7 ปี
ขณะที่สิงคโปร์ ซึ่งมุ่งมั่นพัฒนาประเทศตามดครงการ "ชาติอัจฉริยะ" โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อใช้เทคโนโลยียกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและสงเสริมผลิตภายของประเทศ ได้ลงนามในบันทึกคยวามเข้าใจเพื่อส่งเสริมความมั่นคงไซเอยร์กับอังกฤษพร้อมทั้งร่วมมือกับบริษัทไมโครซอฟท์เพื่อจักตั้งศูนย์อาชญากรรมไซเบอร์แห่งแรกของอาเซียนเมื่อปี 2558
ด้านฟิลิปปินส์ได้ออกกำหมายป้องปรมอาชญากรรมไซเบอร์ โดยมีจุดประสงค์เพื่อป้องกันการโจรกรรมหรือล้วงข้อมุลทางอินเทอร์เน็ต รวมถึงป้องกันไม่ให้มีการเผยแพร่อนาจารของเด็กและเยาวชน แม้หลายฝ่ายมองว่า กฎหมายฉบับดังกล่าวมีเนื่อหาลดทอนเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เนื่องจากรัฐบาลสามารถสั่งปิดเว็บไซด์ และสอดส่องกิจกรรมออนไลน์ของประชาชนได้โดยไม่ต้องของหมายอนุญาตจากตุลาการก่อน
ถึงแม้ชาติอาเซียนจะตระหนักถึงปัญหาความมั่นคงไซเบอร์มากขึ้นในช่วงหลัง แต่น่าังเกตุว่าการับมือกับภัยคุกคามไซเบอร์ในระดับประเทศยังเนห้นหนักไปที่การปราบปรามผุ้กระทำผิดที่ส่งผลต่อสถานะของรัฐบาลเป็นสำคัญ ดังเห็นได้จากการบังคับกฎมหายของประเทศต่างๆ ที่มุ่งเป้าเพื่อการปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นและวิพากวิจารณ์รัฐบาล ทำให้ประเด็นความขัดแย้งระหว่งการบังคับใช้กฎหมายด้านความมั่นคงกับสิทธิเสรีภาพของประชาชนได้รับการหยิบยกขึ้นมาถกเถียงอยู่เสมอ และบดบังประเด็นเกี่ยวกับความมั่นคงไซเบอร์ในลักษณะอื่นๆ ซึ่งยังคงไม่ีค่อยคืบหน้านัก
ปัญหาหลักๆ เกิดจากการที่ชาติอาเซียนหลายประเทศยังคงขาดแคบนบุคลากรที่มีความรุ้ความสามารถเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและมีควมเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของภัยคุกคามความมั่นคงไซเบอร์จริงๆ แม้สมาชิกบางประเทศ เช่น สิงคโปร์และมาเลเซีย จะมีความเข้ามแข็งด้านความมั่นคงไซเบอร์เป็นลำดับต้นๆ ของโลก แต่ประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะดกลุ่มประเทศ CLMV ยังคงมีมาตรฐานด้านความมั่นคงไซเยอร์ที่ต่างกันอยุ่มาก
สิงนี้ส่งผลให้หลายประเทศยังขาดนโยบายด้านความมั่นคงไซเบอร์ที่มีประสิทะิภาพ ประเมินว่า ปี 2557 ชาติสมาชิกอาเซียนจำต้องสูญเสียเงินรวมกันกว่า 7.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในการสอดส่องและติดตามผุ้กระทำความผิดเกี่ยวกับความพิวเตอร์และอาชญากรรมไซเบอร์
นอกจากนี้ หลายประเทศยังคงเปราะบางต่อการโจมตีทางไซเยอร์ ทัเ้งการเข้าถึงโดยไม่ได้รบอนุญาต การรบกวนการทำงานของคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการหลอกลวงและทำลายขอมูล รวมถึงการอดแนมข้อมูลทางการเมือง และการทหารดดยหน่วยงานที่คาดว่าได้รับการสนับสนนุจากชาติมหาอำนาจบางประเทศ
ข้อจำกัดและความท้าทายเหล่านี้อาจเริ่มแก้ไขได้ด้วยการ่วมแลกเปลี่ยนข้อมุล ความรุ้ และเทคดนดลยีที่จำเป็นทังภายในภูมิภาคและร่วมกับประเทศคู่เจรจาแก้ไขได้ด้วยการร่วมแลกเปลี่ยนข้อมุล ความรุ้ และเทคโนโลยีที่จำเป็ฯทั้งภายในภูมิภาคและร่วมกับประเ สอฃคู่เจรจานอกภูมิภาค การวางกรอบความร่วมมือระดับภูมิภาคร่วมกันอย่างจริงจัง การพัฒนาบุคลการด้านความั่นคงไซเบอร์ตั้งแต่วัยเยา การสนับสนุนการเคลื่อนย้รายโดยเสรีของบุคลากรด้านเทคโนดลยีสารสนเทศและผุที่มีความรู้ความสามารถด้านความมั่นคงไซเบอร์ รวมถึงกาจสนับยสนุนการฝึกอบรมด้านความมั่นคงปลอดภัยของข้อมุลส่วนบุคคลและความมั่นคงไซเบอร์ให้กับนักเรียนนักศึกษาและประชาชนทั่วไป...aseanwatch/..current-issue)
วันเสาร์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
วันศุกร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
ASEAN Under The Attack II
17 พฤษภาคม 2560 สื่อมาเลเซียรายงานวา ผุ้ก่อการ้ายหลายสิบคนหรือบุคคลอันตรายที่ไม่สามารถเข้าร่วมกับกลุ่มก่อการร้ายไอซิส ใประเทศซีเรียได้นั้น ขณะนี้กำลังเดินบนท้องถนนในประทเศมาเลเซียอย่างเสรีในฐานะนักท่องเที่ยว ตามรายงานเปิดเผยว่า ทางการตุรกีได้ยื่นข้อเสนอและแนะทางเลือกให้กับพวกเขา 30 คนดังกล่าว่าจะกลับไปยังประเทศของตนหรือไปยังประเทศมาเลเซีย ซึ่งพวกเขาทั้งหมดเลือกมาเลเซียเพราะมันเป็นประเทศมุสลิมและจากนั้นก็เดินทางเข้ามาในประทเศมาเลเซีย
New Straits Times รายงานว่า บางประเทศที่คอยให้การสนับสนนุบุคคลอันตราย ซึ่งพวกเขาไม่ประสงค์จะใช้ชีวิตในประเทศของตน จึงได้จัดเตรียมเอกสารให้กับพวกเขาและจากนั้นใช้เอกสารดังกล่าวเดินทางไปประเทศมาเลเซียในฐานะนักท่องเที่ยว
ด้วยเหตุนี้มาเลเซียจึงกลายเป็นประเทศที่คอยให้การต้อนรับแขกผุ้ก่อการร้ายต่างประทเศโยที่ไม่รู้ตัว หลังจากที่พวกเขาถูกขวางไม่ให้เข้าไปในซีเรียเพื่อร่วมต่อสุเคียงข้างกลุ่มก่อการร้ายไอซิส รายงานยังเสริมว่า บุคคลเหล่านี้ส่วนมากจะเป็นบุคคลที่อันตรายมาก เพราะก่อนหน้านี้ที่สนามบินหลายประเทศได้ทำการจับกุมตัวประเภทบุคคลที่เป็นอันตรายต่อความมั่นคงของชาติมาแล้ง ถึงตอนนี เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยของมาเลเซีย ได้มีการเผ้าระวังบุคคลอันตรายเหล่านี้มีแล้วจำนวนส 28 คน ซึ่งส่วนใหญ่มาจากดูไบ สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ที่จะเดินทางต่อไปยังตุรกีและก็ถูกจับกุมดำเนินการ แม้ว่าไม่มีการระบุสัญชาติบุคคลอันตรายทั้ง 30 คน ที่สวมรอยเป็นนักท่องเที่ยวในประเทศมาเลเซียก็ตาม แต่เนื่องจากการเคลื่อนไหวที่มากขึ้นของลัทธิวะฮาบีย์ในมาเลเซีย ทำไใ้แวดวงการเมืองและหน่วยงานรักษาความปลอดภัยได้แจ้งเตือนถึงอิทธิพลและการแทรกซึมของบุคคลดังกล่าวในประเทศนี้เชื่อว่า รัฐบาลกัวลาลัมเปอร์ได้เปิดเวทีและสนามให้กับลัทธิวะฮาบีย์ดักฟีรีย์ และเอื้อสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ สำหรับกิจการและการเคลื่อนไหวของพวกเขาในประเทศมาเลเซียมากเกินไป ทำให้เป็นการเปิดโอกาสให้กลายเป็นแหล่งชุมนุมของผุ้ก่อการร้ายในประเทศ นั่นคือเหตุผลที่หน่วยงานระดับความมั่นคงในภูมิภาค ได้ออกตามเตือน กรณีความเป็ฯไปได้สูงที่จะมีการก่อตัวและจัดตั้งรัฐปกครองที่ถูกรู้จักในนาม รัฐอิสลาม กำมะลอ โดยผู้ก่อการร้ายไอซิสในจุดหนึ่งจุดใดของมาเลเซียหรือฟิลิปปินส์ นั่นเป็นเหตุผลทีเจ้าหน้าที่มาเลเซียจึงมีการเชื่อมโยงกรณีการปรากฎตัวที่มีตัวเลขน่าเป็นห่วงของกลุ่มก่อการร้ายเหล่านี้ในประเทศที่พวกเขาได้เบนเข็มขยายฐานใหม่ในภูมิภาคนี้หลังจากที่พ่ายแพ้และถูกโจมตีอย่างหนักในอิรักและซีเรีย
ฮชาม มุดดีน ฮุเซ้น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมมาเลเซีย ประกาศเมื่อเร็วๆ นี้ว่า สมาชิกชาติอาเซียน ได้ประกาศจุดยืนที่แข็งกร้าวในการดำเนินการกับไอซิส แต่ทว่าการปฏิบัติการทางทหารในอิรักและซีเรียทำให้สะท้อนเหตุการณ์เช่นนี้ในภุมิภาคนี้ดังนั้นผุ้ก่อการร้ายเหล่านี้จึงเดินทางมายังมาเลเซียเพื่อจัดตั้งสาขา เครือข่ายกลุ่มก่อการร้ายไอซิส
จเรตำรวจมาเลเซีย กล่าวว่า บรรดาผุ้ให้การสนับสนุนไอซิสในประเทศนี้ ถูกขนามนามว่า "หมาป่าที่โดดเดี่ยว"ที่เป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงของมาเลเซีย ด้วยเหตุนี้เจาหน้าที่รัฐบาลมาเลิเซียจึงขอความรต่วมมือจากหน่ยสืบราชการลับกับประเทศในภูมิภาครวมทั้งฟิลิปปินส์เพราะได้ตระหนักแล้วว่าหลังจากนี้ มาเลเซียอาจจะเป็นฐานหรือแหล่งชุมนุนและรวมพลของรรดากลุ่มก่อการร้ายไอซิสในภูมิภาค
อย่างไรก็ตา บรรดานักวิเคราะห์ระดับภุมิภาคบางคนแนะว่า รัฐบาลมาเลเซีย ก่อนที่จะจัดการกับพวกหัวรุนแรงและผุ้ก่อการร้ายในประเทศ ลำดับแรกและขั้นตอนแรกที่ต้องเผชิญหน้าและกำจัดคือ ขุดรากเหง้าอุดมการณ์แห่งความคลั่งไคล้และการก่อการร้ายนั้นคือลัะิวะฮาบีเสียก่อน เพื่อที่มาเลเซียจะต้องไม่กลายเป็นรังของกลุ่มก่อการร้ายไอซิส...(www.abnewstoday.com/... มาเลเซียจะเป็น "ฐานแห่งใหม่ของไปซิสในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้" หลังบุคคลอันตราย 30 คนสวมรอยเป็นนักท่องเที่ยวเข้าประเทศ..!)
22 พฤษภาคม 2560 ระเบิด รพ. พระมงกุฎฯ ผุ้บัญชากากรทหารบกระบุเหตุวางระเบิดที่ดรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าเป็นระเบิดไปป์บอมบ์เช่นเดียวกับเหตุระเบิดที่หน้ากองสลากเมื่อเดือนที่แล้ว และหน้าโรงละคร แห่งชาติเมื่อกลางเดือนที่ผ่านมา พร้อมทั้งประณามว่าเป็น "สิ่งเลวร้ายไ หวังปลถึงขั้นให้มีผุ้เสียชีวิต และต้องการปั่นป่วนการบริหารงานของรัฐบาลชุดปัจจุบัน
เมื่อเวลา 16.00 น. วันที่ 22 พฤษภาคม ที่กองบัญชาการกองทัพบก พล.อ.เฉลิมชัย สิทธิสาท ผุ้บัญชากการทหารบก ในฐานะเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) แถลงภายหลังการประชุมหน่วยความมั่นคงเกี่ยวกับเหตุระเบิดโรงพยาบาลพระมงกุฎเหล้า ว่า เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นเรื่องเลวร้ายที่สุด เพราะผุ้ได้รับบาดเจ็บเป็นผุู้งอายุ และระเบิดครั้งนี้หวังผลถึงชีวิต เนื่องจากมีตะปูจำนวนมากขณะนี้ตำรวจกำลังติดตามข้อมูล และดำเนินการตามข้อมูลที่ได้รับ
พล.อ.เฉลิมชัย กล่าวว่าเมื่อมีเหตุการณืลักษณะนี้เกิดขึ้นมาแล้ว 2 ครั้ง จึงเรียกหน่วยงานความมั่นคงทั้งหมดมาประชุมปรับแผนการรักษาความปลอดภัยในภาพรวมของประเทศ ซึ่งทั้ง 3 คดี คือ ระเบิดหน้ากองสลากเก่า (วันที่ 5 เมษายน) ระเบิดหน้าโรงละครแห่งชาติ (15 พฤษภาคม) และระเบิดครั้งล่าสุด ทางตำรวจที่รับผิดชอบต้องดำเนินการจับกุม ผุ้ก่อเหตุมาดำเนินคดีให้ได้ เหตุระเบิดครั้งนี้มีผุ้บาดเจ็บกว่า 20 คน... (www.bbc.com/.. ระเบิด รพ. พระมงกุฎฯ : รู้อะไรแล้วบ้าง?)
23 พฤษภาคม 2560 กองทัพฟิลิปปินส์ปะทะเดือดกองกำลังติดอาวุธ ที่เชื่อมดยงกับกลุ่มรัฐอิสลาม หรือไอเอส หลังฝ่ายหลังบุกถล่มเมืองมาราวี ทางตอนใต้ของประเทศ ล่าสุดประธานธิบดีดูเตอร์เต้ประกาศใช้กฎอัยการศึกแล้ว..
เว็บไซต์อินดิเพนเดนท์ รายงานว่า กลุ่มคนพร้อมอาวุธครบมืออย่างน้อย 15 คน จากกลุ่มแบ่งปยกดินแดนมุสลิม "เมาท์" ที่มีสายสัมพันะ์กับไอเอส ได้บุกเข้าไปในเมืองมาราวี ทางตอนใต้ของฟิลิปปินส์ กราดยิงไปตามถนนายต่างๆ ก่อนที่จะเดิกการปะทะกับกองทัพฟิลิปปินส์ และกองกำลังตำรวจฟิลิปปินส์ ที่เดินทางเข้ามายังเมืองนี้ หลังขาวบ้านในหมุ่บ้านใกล้เคียงแจ้งเหตุเข้าไป ละร้องของความช่วยเหลือ
นายมามินทัล อาเดียง จูเนียร์ ผุ้ว่าราชการจังหวัดลาเนาเดลซูร์ ได้เรียกร้องให้ประชาชนในเมือง หลบอยู่ภายในที่พัก ล็อกประตู และหน้าต่าง และให้หมอบลงกับพื้น หากได้ยินเสียปืน ขณะรายงานจากสื่อท้องถ่ิน ระบุว่า กลุ่มติดอาวุธ ได้บุกเข้าไปในโรงพยาบาลท้องถ่ิน พร้อมชักธงไอเอสสีดำขึค้นเหนืออาคาร และยังมีารายงานว่า มีการยิงปืนเข้าใส่บ้านเรือนประชาชน และอาคารที่ทำการรัฐบาลด้วย ล่าสุด ประธานาธิบดีโรดริโก ดูเตอร์เต้ ได้ประกาศกฎอัยการศึกในภุมิภาคมินดาเนาทางตอนใต้ของประเทศแล้ว..( www.bangkokbiznews.com/..กลุ่มก่อการร้ายบุกยึดเมืองฟิลิปปินส์)
24 พฤษภาคม 2560 คือวันที่ 24 กรุงจากการ์ตา เมืองหลวงของอินโดนีเซีย เผชิญกับเหตุก่อการร้าย โดยมีมือระเิบดฆ่าตัวตาย 2 คน เมื่อคืนนี้ ทำให้ตำรวจเสียชีวิต 3 นายและมีผุ้ได้รับบาดเจ็บอีก 10 นาย ส่วนกลุ่มไอเอสออกมาอ้างว่าอยุ่เบื้องหลังเหตุระเบิด เหตุเกิดที่ลานจอดรถติดกับสถานีขนส่ง "ทรานส์จากการ์ต้า" ในเขต "กัมปุง เมลายู" ทางตะวันออกของกรุงจาการ์ต้า เมื่อเวลา 21 นาฬิกาเมื่อคือวันที่ 24 โดยเกิดระเบิด 2 ครั้ง ในเวลาห่างกันเพียง 5 นาที สร้างความแตกตื่นให้กับประชุาชนดดยรอบบริเวณนั้น เนื่องจากเป็นเขตชุมชนที่มผุ้คนอาศัยอยุ่อย่างหนาแน่น
ตำรวจอินโดนีเซียพบว่ เป้นฝีมือของมือระเบิดฆ่าตัวตาย 2 คน และขณะนี้กำลังออกไล่ล่าผุ้ร่วมขบวนการ ขณะที่กลุ่มไอเส หรือรัฐอิสลาม ออกมาอ้างว่า อยู่เบื้องหลังการโจมตีในคร้้งนี้ ซึ่งนอกจากมือระเบิดฆ่าตัวตายแล้ว ยังมีผุ้เสียชีวิตเป็นตำรวจ 3 นายและในจำนวนผุ้บาดเจ็บ 10 ตน มีตำรวจบาดเจ็บ 5 นาย และพลเรือนอีก 5คน
นับเป็นครั้งที่สองในรอบ 3 วัน ที่กลุ่มไอเอสอ้างว่าเป็ฯผุ้ลงมือก่อเหตุระเบิดฆ่าตัวตาย หลังจากเมื่อคืนวันจันทร์ที่ผ่านมา พวกเขาอ้างว่าหนึ่งในสมาชิกของพวกเขาลงมือก่อเหตุระเบิดฆ่าตัวตายที่สนามกีฬา "แมนเชสเตอร์ อารีน่า" ในเมืองแมนเชสเตรอ์ ประเทศสหราชอาณาจักร
เหตุรุนแรงครั้งนี้เกิดขึ้นในช่วงใกล้จะถึงเือนรอมฎอน หรือเดือนแก่งกการถือศีลอดของชาวมุสบลิม ที่จะเริ่มขึ้นในวันเสาร์นี้ ขณะที่รัฐบาลอินโดนีเียกำลังเครียมเป็นเจ้าภาพจัดประชุมต่อต้านการก่อการร้ายในระดับภูมิภาคในเดือนสิงหาคมนี้ ดดยจะมีออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ และมาเลเซีย เข้าร่วมประชุม...( true4u.com/.."ไอเอส" ระเบิดฆ่าตัวตายกลาง "กรุงจาการ์ต้า")
ช่วงเวลา 3 วันที่ผ่านมานี้เหตุการณ์ความไม่สงบใน 3 ประเทศของกลุ่มอาเซียน จะเป็นเหตุการที่เชื่อมโยงกันหรือเปล่านั้นยัวไม่ไมีพยานยืนยันในข้อนี้ รัฐบาลไทยพุ่งเป้าว่าเหตุการณืทีเกิดขึ้นเป็นเรื่องการเมืองในประเทศมากกว่าที่จะกอ่ให้เกิดการก่อการร้าย นักวิจัยชาวไทยให้ความสนใจในเรื่องนี้และให้ความเห็นว่า ขณะนี้จำเป็นต้องมีการประสานข้อมูลเพื่อรับมือกับการก่อการร้ายใหม่ๆ ที่เป็นภัยคุกคาม ประเทศในภุมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้..
จากการที่กลุ่ม "ไอเอส"ได้รับความเสียหายในภุมิภาคตะวันออกกลาง ภูมิภาคเอเชียตะวันออกฉียงใต้เป็นสภานที่ดึงดูดความสนใจของกลุ่มนักรบหัวรุนแรง ดดยมีผุ้นับถือศาสนาอิสลามคิดเป็นร้อยละ 15 ของจำนวนชาวมุสลิม 1.57 พันล้านคนในโลก โดยเฉพาะมาเลเซีย ฟิลิปปินส์และอินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีชามุสลิมอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก มีความเป็นไปได้ที่จะม่การขยายอิทธิพลของกลุ่มไอเอสในบางประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เนื่องจากมีนักรบหัวรุนแรงนับพันคนได้สาบานว่า จะจงรักภักดีต่อกลุ่มไอเอส
เมื่อไม่นานมานี้ ได้มีกากรแพร่คลิปวีดีโอของกลุ่ม "ไอเอส"เป็นภาษา บาฮาซา มาเล ตากาล็อก และภาษาอังกฤษ ที่เรียกร้องให้ผุ้ที่ให้การสนับสนุนร่วมมือกับนักรบของกลุ่มนี้ในจุดร้อนต่างๆ ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะ ในภาคใต้ของประเทศฟิลิปปินส์ คาดว่า ปัจจุบัน มีชาวอินโดนีเซีย 700 คนและชาวมาเลเซีย 100 คนเข้าร่วมกลุ่มไอเอสในภูมิภาคตะวันออกกลาง ส่วนบรรดาเจ้าหน้าที่ความมั่นคงก็ได้ตรวจบพหลักฐานที่แสดงถึงความเกี่ยวข้องของกลุ่มไอเอสกับเหตุก่อการร้ายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อเร็วๆ นี้
ถึงขณะนี้ การต่อต้านการก่อการร้ายของพันธมิตรระหว่างประเทศที่สหรัฐเป็นผุ้นำมีขึ้นในภูมิภาคตะวันออกกลางเป็นหลักแต่กิจกรรมการก่อการร้ายไม่ได้ถูกจำกัดพื้นที่และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉีนงใต้ได้กลายเป็นจุดร้อนในการรับสมัครนักรบของกลุ่มไอเอส สถานการณ์ความไร้เสถียรภาพในฟิลิปปินส์เป็นสิ่งที่น่ากังวบเป็ฯอย่างมาก การที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กลายเป็นเป้าหมายของกลุ่มไอเอสได้สร้างความท้าทายใหม่ต่อประเทศในภูมิภาค ซึ่งประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต้องผลักดันความร่วมมือเพื่แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวกรองอย่างจริงจังเพื่อรับมือกับภัยคุกคามนี้.... (vovworld.vn/..ประเทศฟิลิปปินส์)
New Straits Times รายงานว่า บางประเทศที่คอยให้การสนับสนนุบุคคลอันตราย ซึ่งพวกเขาไม่ประสงค์จะใช้ชีวิตในประเทศของตน จึงได้จัดเตรียมเอกสารให้กับพวกเขาและจากนั้นใช้เอกสารดังกล่าวเดินทางไปประเทศมาเลเซียในฐานะนักท่องเที่ยว
ด้วยเหตุนี้มาเลเซียจึงกลายเป็นประเทศที่คอยให้การต้อนรับแขกผุ้ก่อการร้ายต่างประทเศโยที่ไม่รู้ตัว หลังจากที่พวกเขาถูกขวางไม่ให้เข้าไปในซีเรียเพื่อร่วมต่อสุเคียงข้างกลุ่มก่อการร้ายไอซิส รายงานยังเสริมว่า บุคคลเหล่านี้ส่วนมากจะเป็นบุคคลที่อันตรายมาก เพราะก่อนหน้านี้ที่สนามบินหลายประเทศได้ทำการจับกุมตัวประเภทบุคคลที่เป็นอันตรายต่อความมั่นคงของชาติมาแล้ง ถึงตอนนี เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยของมาเลเซีย ได้มีการเผ้าระวังบุคคลอันตรายเหล่านี้มีแล้วจำนวนส 28 คน ซึ่งส่วนใหญ่มาจากดูไบ สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ที่จะเดินทางต่อไปยังตุรกีและก็ถูกจับกุมดำเนินการ แม้ว่าไม่มีการระบุสัญชาติบุคคลอันตรายทั้ง 30 คน ที่สวมรอยเป็นนักท่องเที่ยวในประเทศมาเลเซียก็ตาม แต่เนื่องจากการเคลื่อนไหวที่มากขึ้นของลัทธิวะฮาบีย์ในมาเลเซีย ทำไใ้แวดวงการเมืองและหน่วยงานรักษาความปลอดภัยได้แจ้งเตือนถึงอิทธิพลและการแทรกซึมของบุคคลดังกล่าวในประเทศนี้เชื่อว่า รัฐบาลกัวลาลัมเปอร์ได้เปิดเวทีและสนามให้กับลัทธิวะฮาบีย์ดักฟีรีย์ และเอื้อสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ สำหรับกิจการและการเคลื่อนไหวของพวกเขาในประเทศมาเลเซียมากเกินไป ทำให้เป็นการเปิดโอกาสให้กลายเป็นแหล่งชุมนุมของผุ้ก่อการร้ายในประเทศ นั่นคือเหตุผลที่หน่วยงานระดับความมั่นคงในภูมิภาค ได้ออกตามเตือน กรณีความเป็ฯไปได้สูงที่จะมีการก่อตัวและจัดตั้งรัฐปกครองที่ถูกรู้จักในนาม รัฐอิสลาม กำมะลอ โดยผู้ก่อการร้ายไอซิสในจุดหนึ่งจุดใดของมาเลเซียหรือฟิลิปปินส์ นั่นเป็นเหตุผลทีเจ้าหน้าที่มาเลเซียจึงมีการเชื่อมโยงกรณีการปรากฎตัวที่มีตัวเลขน่าเป็นห่วงของกลุ่มก่อการร้ายเหล่านี้ในประเทศที่พวกเขาได้เบนเข็มขยายฐานใหม่ในภูมิภาคนี้หลังจากที่พ่ายแพ้และถูกโจมตีอย่างหนักในอิรักและซีเรีย
ฮชาม มุดดีน ฮุเซ้น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมมาเลเซีย ประกาศเมื่อเร็วๆ นี้ว่า สมาชิกชาติอาเซียน ได้ประกาศจุดยืนที่แข็งกร้าวในการดำเนินการกับไอซิส แต่ทว่าการปฏิบัติการทางทหารในอิรักและซีเรียทำให้สะท้อนเหตุการณ์เช่นนี้ในภุมิภาคนี้ดังนั้นผุ้ก่อการร้ายเหล่านี้จึงเดินทางมายังมาเลเซียเพื่อจัดตั้งสาขา เครือข่ายกลุ่มก่อการร้ายไอซิส
จเรตำรวจมาเลเซีย กล่าวว่า บรรดาผุ้ให้การสนับสนุนไอซิสในประเทศนี้ ถูกขนามนามว่า "หมาป่าที่โดดเดี่ยว"ที่เป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงของมาเลเซีย ด้วยเหตุนี้เจาหน้าที่รัฐบาลมาเลิเซียจึงขอความรต่วมมือจากหน่ยสืบราชการลับกับประเทศในภูมิภาครวมทั้งฟิลิปปินส์เพราะได้ตระหนักแล้วว่าหลังจากนี้ มาเลเซียอาจจะเป็นฐานหรือแหล่งชุมนุนและรวมพลของรรดากลุ่มก่อการร้ายไอซิสในภูมิภาค
อย่างไรก็ตา บรรดานักวิเคราะห์ระดับภุมิภาคบางคนแนะว่า รัฐบาลมาเลเซีย ก่อนที่จะจัดการกับพวกหัวรุนแรงและผุ้ก่อการร้ายในประเทศ ลำดับแรกและขั้นตอนแรกที่ต้องเผชิญหน้าและกำจัดคือ ขุดรากเหง้าอุดมการณ์แห่งความคลั่งไคล้และการก่อการร้ายนั้นคือลัะิวะฮาบีเสียก่อน เพื่อที่มาเลเซียจะต้องไม่กลายเป็นรังของกลุ่มก่อการร้ายไอซิส...(www.abnewstoday.com/... มาเลเซียจะเป็น "ฐานแห่งใหม่ของไปซิสในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้" หลังบุคคลอันตราย 30 คนสวมรอยเป็นนักท่องเที่ยวเข้าประเทศ..!)
22 พฤษภาคม 2560 ระเบิด รพ. พระมงกุฎฯ ผุ้บัญชากากรทหารบกระบุเหตุวางระเบิดที่ดรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าเป็นระเบิดไปป์บอมบ์เช่นเดียวกับเหตุระเบิดที่หน้ากองสลากเมื่อเดือนที่แล้ว และหน้าโรงละคร แห่งชาติเมื่อกลางเดือนที่ผ่านมา พร้อมทั้งประณามว่าเป็น "สิ่งเลวร้ายไ หวังปลถึงขั้นให้มีผุ้เสียชีวิต และต้องการปั่นป่วนการบริหารงานของรัฐบาลชุดปัจจุบัน
เมื่อเวลา 16.00 น. วันที่ 22 พฤษภาคม ที่กองบัญชาการกองทัพบก พล.อ.เฉลิมชัย สิทธิสาท ผุ้บัญชากการทหารบก ในฐานะเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) แถลงภายหลังการประชุมหน่วยความมั่นคงเกี่ยวกับเหตุระเบิดโรงพยาบาลพระมงกุฎเหล้า ว่า เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นเรื่องเลวร้ายที่สุด เพราะผุ้ได้รับบาดเจ็บเป็นผุู้งอายุ และระเบิดครั้งนี้หวังผลถึงชีวิต เนื่องจากมีตะปูจำนวนมากขณะนี้ตำรวจกำลังติดตามข้อมูล และดำเนินการตามข้อมูลที่ได้รับ
พล.อ.เฉลิมชัย กล่าวว่าเมื่อมีเหตุการณืลักษณะนี้เกิดขึ้นมาแล้ว 2 ครั้ง จึงเรียกหน่วยงานความมั่นคงทั้งหมดมาประชุมปรับแผนการรักษาความปลอดภัยในภาพรวมของประเทศ ซึ่งทั้ง 3 คดี คือ ระเบิดหน้ากองสลากเก่า (วันที่ 5 เมษายน) ระเบิดหน้าโรงละครแห่งชาติ (15 พฤษภาคม) และระเบิดครั้งล่าสุด ทางตำรวจที่รับผิดชอบต้องดำเนินการจับกุม ผุ้ก่อเหตุมาดำเนินคดีให้ได้ เหตุระเบิดครั้งนี้มีผุ้บาดเจ็บกว่า 20 คน... (www.bbc.com/.. ระเบิด รพ. พระมงกุฎฯ : รู้อะไรแล้วบ้าง?)
23 พฤษภาคม 2560 กองทัพฟิลิปปินส์ปะทะเดือดกองกำลังติดอาวุธ ที่เชื่อมดยงกับกลุ่มรัฐอิสลาม หรือไอเอส หลังฝ่ายหลังบุกถล่มเมืองมาราวี ทางตอนใต้ของประเทศ ล่าสุดประธานธิบดีดูเตอร์เต้ประกาศใช้กฎอัยการศึกแล้ว..
เว็บไซต์อินดิเพนเดนท์ รายงานว่า กลุ่มคนพร้อมอาวุธครบมืออย่างน้อย 15 คน จากกลุ่มแบ่งปยกดินแดนมุสลิม "เมาท์" ที่มีสายสัมพันะ์กับไอเอส ได้บุกเข้าไปในเมืองมาราวี ทางตอนใต้ของฟิลิปปินส์ กราดยิงไปตามถนนายต่างๆ ก่อนที่จะเดิกการปะทะกับกองทัพฟิลิปปินส์ และกองกำลังตำรวจฟิลิปปินส์ ที่เดินทางเข้ามายังเมืองนี้ หลังขาวบ้านในหมุ่บ้านใกล้เคียงแจ้งเหตุเข้าไป ละร้องของความช่วยเหลือ
นายมามินทัล อาเดียง จูเนียร์ ผุ้ว่าราชการจังหวัดลาเนาเดลซูร์ ได้เรียกร้องให้ประชาชนในเมือง หลบอยู่ภายในที่พัก ล็อกประตู และหน้าต่าง และให้หมอบลงกับพื้น หากได้ยินเสียปืน ขณะรายงานจากสื่อท้องถ่ิน ระบุว่า กลุ่มติดอาวุธ ได้บุกเข้าไปในโรงพยาบาลท้องถ่ิน พร้อมชักธงไอเอสสีดำขึค้นเหนืออาคาร และยังมีารายงานว่า มีการยิงปืนเข้าใส่บ้านเรือนประชาชน และอาคารที่ทำการรัฐบาลด้วย ล่าสุด ประธานาธิบดีโรดริโก ดูเตอร์เต้ ได้ประกาศกฎอัยการศึกในภุมิภาคมินดาเนาทางตอนใต้ของประเทศแล้ว..( www.bangkokbiznews.com/..กลุ่มก่อการร้ายบุกยึดเมืองฟิลิปปินส์)
24 พฤษภาคม 2560 คือวันที่ 24 กรุงจากการ์ตา เมืองหลวงของอินโดนีเซีย เผชิญกับเหตุก่อการร้าย โดยมีมือระเิบดฆ่าตัวตาย 2 คน เมื่อคืนนี้ ทำให้ตำรวจเสียชีวิต 3 นายและมีผุ้ได้รับบาดเจ็บอีก 10 นาย ส่วนกลุ่มไอเอสออกมาอ้างว่าอยุ่เบื้องหลังเหตุระเบิด เหตุเกิดที่ลานจอดรถติดกับสถานีขนส่ง "ทรานส์จากการ์ต้า" ในเขต "กัมปุง เมลายู" ทางตะวันออกของกรุงจาการ์ต้า เมื่อเวลา 21 นาฬิกาเมื่อคือวันที่ 24 โดยเกิดระเบิด 2 ครั้ง ในเวลาห่างกันเพียง 5 นาที สร้างความแตกตื่นให้กับประชุาชนดดยรอบบริเวณนั้น เนื่องจากเป็นเขตชุมชนที่มผุ้คนอาศัยอยุ่อย่างหนาแน่น
ตำรวจอินโดนีเซียพบว่ เป้นฝีมือของมือระเบิดฆ่าตัวตาย 2 คน และขณะนี้กำลังออกไล่ล่าผุ้ร่วมขบวนการ ขณะที่กลุ่มไอเส หรือรัฐอิสลาม ออกมาอ้างว่า อยู่เบื้องหลังการโจมตีในคร้้งนี้ ซึ่งนอกจากมือระเบิดฆ่าตัวตายแล้ว ยังมีผุ้เสียชีวิตเป็นตำรวจ 3 นายและในจำนวนผุ้บาดเจ็บ 10 ตน มีตำรวจบาดเจ็บ 5 นาย และพลเรือนอีก 5คน
นับเป็นครั้งที่สองในรอบ 3 วัน ที่กลุ่มไอเอสอ้างว่าเป็ฯผุ้ลงมือก่อเหตุระเบิดฆ่าตัวตาย หลังจากเมื่อคืนวันจันทร์ที่ผ่านมา พวกเขาอ้างว่าหนึ่งในสมาชิกของพวกเขาลงมือก่อเหตุระเบิดฆ่าตัวตายที่สนามกีฬา "แมนเชสเตอร์ อารีน่า" ในเมืองแมนเชสเตรอ์ ประเทศสหราชอาณาจักร
เหตุรุนแรงครั้งนี้เกิดขึ้นในช่วงใกล้จะถึงเือนรอมฎอน หรือเดือนแก่งกการถือศีลอดของชาวมุสบลิม ที่จะเริ่มขึ้นในวันเสาร์นี้ ขณะที่รัฐบาลอินโดนีเียกำลังเครียมเป็นเจ้าภาพจัดประชุมต่อต้านการก่อการร้ายในระดับภูมิภาคในเดือนสิงหาคมนี้ ดดยจะมีออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ และมาเลเซีย เข้าร่วมประชุม...( true4u.com/.."ไอเอส" ระเบิดฆ่าตัวตายกลาง "กรุงจาการ์ต้า")
ช่วงเวลา 3 วันที่ผ่านมานี้เหตุการณ์ความไม่สงบใน 3 ประเทศของกลุ่มอาเซียน จะเป็นเหตุการที่เชื่อมโยงกันหรือเปล่านั้นยัวไม่ไมีพยานยืนยันในข้อนี้ รัฐบาลไทยพุ่งเป้าว่าเหตุการณืทีเกิดขึ้นเป็นเรื่องการเมืองในประเทศมากกว่าที่จะกอ่ให้เกิดการก่อการร้าย นักวิจัยชาวไทยให้ความสนใจในเรื่องนี้และให้ความเห็นว่า ขณะนี้จำเป็นต้องมีการประสานข้อมูลเพื่อรับมือกับการก่อการร้ายใหม่ๆ ที่เป็นภัยคุกคาม ประเทศในภุมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้..
จากการที่กลุ่ม "ไอเอส"ได้รับความเสียหายในภุมิภาคตะวันออกกลาง ภูมิภาคเอเชียตะวันออกฉียงใต้เป็นสภานที่ดึงดูดความสนใจของกลุ่มนักรบหัวรุนแรง ดดยมีผุ้นับถือศาสนาอิสลามคิดเป็นร้อยละ 15 ของจำนวนชาวมุสลิม 1.57 พันล้านคนในโลก โดยเฉพาะมาเลเซีย ฟิลิปปินส์และอินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีชามุสลิมอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก มีความเป็นไปได้ที่จะม่การขยายอิทธิพลของกลุ่มไอเอสในบางประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เนื่องจากมีนักรบหัวรุนแรงนับพันคนได้สาบานว่า จะจงรักภักดีต่อกลุ่มไอเอส
เมื่อไม่นานมานี้ ได้มีกากรแพร่คลิปวีดีโอของกลุ่ม "ไอเอส"เป็นภาษา บาฮาซา มาเล ตากาล็อก และภาษาอังกฤษ ที่เรียกร้องให้ผุ้ที่ให้การสนับสนุนร่วมมือกับนักรบของกลุ่มนี้ในจุดร้อนต่างๆ ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะ ในภาคใต้ของประเทศฟิลิปปินส์ คาดว่า ปัจจุบัน มีชาวอินโดนีเซีย 700 คนและชาวมาเลเซีย 100 คนเข้าร่วมกลุ่มไอเอสในภูมิภาคตะวันออกกลาง ส่วนบรรดาเจ้าหน้าที่ความมั่นคงก็ได้ตรวจบพหลักฐานที่แสดงถึงความเกี่ยวข้องของกลุ่มไอเอสกับเหตุก่อการร้ายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อเร็วๆ นี้
ถึงขณะนี้ การต่อต้านการก่อการร้ายของพันธมิตรระหว่างประเทศที่สหรัฐเป็นผุ้นำมีขึ้นในภูมิภาคตะวันออกกลางเป็นหลักแต่กิจกรรมการก่อการร้ายไม่ได้ถูกจำกัดพื้นที่และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉีนงใต้ได้กลายเป็นจุดร้อนในการรับสมัครนักรบของกลุ่มไอเอส สถานการณ์ความไร้เสถียรภาพในฟิลิปปินส์เป็นสิ่งที่น่ากังวบเป็ฯอย่างมาก การที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กลายเป็นเป้าหมายของกลุ่มไอเอสได้สร้างความท้าทายใหม่ต่อประเทศในภูมิภาค ซึ่งประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต้องผลักดันความร่วมมือเพื่แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวกรองอย่างจริงจังเพื่อรับมือกับภัยคุกคามนี้.... (vovworld.vn/..ประเทศฟิลิปปินส์)
วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
ASEAN Under The Attack
ในปี พ.ศ. 2558 สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ าเซียนะได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการรวมตัวจากสมาคม เป้ฯประชาคมอาเซยน หรือ ASEAN Community โดยแบ่งการการทำงานออกเป็น 3 เสาหลักสำคัญ คือ
- เสาที่ 1 ด้านประชาคมความมั่นคง
- เสาที่ 2 ด้านประชาคมเศราฐกิจ
- เสาที่ 3ด้านประชาสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในประเทศไทยให้ความสำคัญ ในการเตรียมพร้อมของประชาชนในภคต่างๆ เพื่อการเข้าสุ่ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน หรือ AECV ส่วนอีก 2 เสานั้น คือ ASC และ ASCC ยังไม่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐเพื่อสร้างควมเข้าใจและสร้างความพร้อมให้ กับ
ประชาชนมากนัก เสาที่ดุจะเป้นปัญหาในาทงปฏิบัติมากที่สุด คือ เสาประชาคมความมั่นคง เนื่องจากว่าประเทศสมาชิกอเาซียนเองนั้น ได้มีการทำข้อตกลงไว้นเรื่องการ เพมืองและความมั่นคงอยุ่หลายข้อและข้อที่สำคัญประการหนึ่ง คือ กาไม่ยุ่งเกี่ยวการเมืองภายในของประเทศสมาชิกด้วยกัน ดังนั้น เสาประชาคมความมั่นงคงจึงอาจำไม่สามาตถพัฒนาได้มากนักหลังจากการเข้า สุ่ประชาคมอาเซียน
อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่าจะมีอุปสรรคในการจัดตั้งเสาประชาคมความมั่นคง แต่ผู้เชี่ยวชาญด้านอาเซียนรวมถึงผู้เกี่ยวข้องด้านความมั่นคง ในอาเซียนได้แสวงหาปัจจัยที่จะสามารถดึงเอาประเทศสมาชิกต่งๆ ของอาเซียนยอมเข้ามาร่วมมือกัเพื่อก่อให้เกิดประชาคมในเสาดังกล่าว ดดยหลายท่านได้ชี้ไปที่การต่อต้านภัยคุกคามต่อความมั่นคงร่วมกัน ดดยเฉพาะภัยด้านความมั่คงนอกรูปแบบ ซึ่งถือเป็ฯอาชญากรรมรูปแบบใหม่ท่เกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียนปัจจุบัย เช่น การก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาติ ดรคระบาดและภัยธรรมชาติที่รุนแรง เป็นต้น ดดยหวังว่าประเทศสมาชิกจะสามารถแสงหาจุดยืนร่วมกันในการแก้ปัญหาภัยด้าน ความมั่นคงนอการูปแบบนี้ได้อย่างทันท่วงที่ก็จะสามารถชข่วยให้ภัยคุกคามดังกล่าวไม่แผ่ขยายจนส่งผล กระทบที่รุนแรงต่อประเทศในภูมิภาค และนำมาสู่การสร้างความมั่นคงของเสาความมั่นคงใประชาคมอาเซียนต่อไป
ภัยด้านความมั่นคงนอกรูปแบบ ประเภทหนึ่งที่ได้ับความสนใจอย่างกว้างขสงในกลุ่มปู้บังคับใช้กฎหมาย คือ ภัยจากอาชญากรรมข้ามชาติ ในปัจจุบันอาชญากรรมข้ามชติส่งผลร้ายแรงและมีความซับซ้อนมากว่าอดีต สำหรับในพิมพ์ฺเขียวของเสาประชาคมความมั่นคงนั้น ได้กล่าวถึงอาชญากรรมข้ามขชาติที่สำคัญ 6 ประเภท คือ การก่อการร้าย กาลักพาตัวและค้ามนุษย์ การต้ายาเสพติด การประมงผิดกฎหมาย กาต้าอาวุธเถือนขนาดเล็ก อาชญากรรมทางไซเบอร์และโจรสลัด และสำหรับอาชญากรรมที่ต้องมีการจัดการอย่างเร่ิงด่วนในภูมิภาค คือ กาต้ามนุษย การต้ายาเสพติด และปัญหาโจรสลัด
ในการแก้ปัญหาจากอาชญากรรมข้ามชตินัน มีความจำเป็ฯอย่งย่ิงที่ประเทศในภูมิภาครองรวมมือกัน ไม่ใช่ปล่อยให้เป็นความรับผิดชอบของประเทศใดประเทศหนึ่งเท่านั้น สำหรับการขยายตัวของอาชญากรรมข้ามชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียนนั้นไม่แตกต่างจากภูมิภาคอื ่่นๆ กล่าวคือเกิดจากความเหลือมล้ำด้านคุณภาพของกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายของ ประเทศสมาชิก รวมทัี้งความ่อนแอของรัฐบาลกลางที่จะเข้าไปแก้ปัญหาอาชญากรรมองค์กรข้ามขชาติ อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้เมื่อเกิดการคุกคามจากปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติดังกล่าวประเทศสมาชิก อาเว๊ยนไม่ได้แก้ปัญหาร่วมกันอย่างบูรณาการ แต่กลับมองว่าปัญหาการคุกคามดังกล่าวเกิดขึ้นใประเทศใดก็เป็นความรับผิดชอบของประเทศนั้นนการจัดการ ดังนี้นการแก้ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติจึบไม่อาจเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมได้ ระหว่างประเทศสมาชิก
ความจริงแล้วกลุ่มประเทศอาเวียนนั้นมความตื้นตัวในการต่อต้านอาชญากรรม ข้ามชาติมาเป็นเวลานานแล้ว ดั่งแต่ปี ค.ศ. 1976 แต่ส่วนใหญ่เนนรเื่องการปราบปรามยาเสพติดทั่วไป จนกระท่งอาเซียนเร่ิมจัดตั้งการประชุมรัฐมนตรีอาเซียน และเริ่มมีการกล่าวถึงอาชญากรรมข้ามชาติมากขึ้น รวมทั้งกระตุ้นให้ประทเศสมาชิกตระหนักถึงผลกระทบและการแก้ปัญการอาชญากรรม ข้ามชาติ
ในการประชุม ASEAN Conference on Transnational Crime ในปี 1977 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ได้มีการประกาศร่วมกันของประเทศสมาชิกใน คำประกาศว่าด้วยเรื่องอาชญากรรมข้ามขาติ ซึ่งถือเป็นความร่วมมือที่เป็นรูปธรรมครั้งแรกระหว่างประเทศสมาชิกในภูมิภาค ในการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ ในคำประกาศดังกล่าวยังได้มีการประกาศใช้กลไกต่างๆ เช่น กำหนดการประชุมระหว่างรัฐมนตรีในการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติทุกๆ 2 ปี นอกจกนี้ยังจัดให้มีการประชุมอื่นๆ ด้วย และที่สำคัญที่สุดคือการผลักดันให้ประชาคมความมั่นคงอาเซียนหรือ ASC เกิดขึ้นและมีกลไกที่มีประสิทธิภาพในการแก้ปขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติอย่างแท้จริง
สำหรับการกำหนดความร่่วมือในการต่อต้ารอาชญากรรมข้ามชาติภายใต้กรอบของประชาคมความมั่นคง หรือ ASC คือ
- เพิ่มความร่วมมือในการรับมือกับภัยความมั่นคงนอกรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการต่อสู้กับอาชญากรรมข้ามชาติและปัญหาข้ามพรมแดนอื่นๆ
- เพิ่มความร่วมมือในการรับมือกับภัยความมั่นคงนอกรูแปบบต่างๆ ดดยเฉพาเยอ่างยิ่งการต่องสู้กับอาชญากรรมข้ามขติและปัญหาข้ามพรมแดนอื่นๆ
- เพ่ิมความพยายรามในการต่อต้านการก่อการร้ายดดยการลงนามรับรองในอนุสัญญา อาเวียนว่าด้วยการต่อต้านการก่อการร้ายและนำข้อตกลงจากอนุสัญญาไปปฏิบัติจริง
นอกจากเครื่องมือและกลไกต่างๆ ภายในอาเซียนเองแล้ว การสร้างความร่วมมือจากประเทศนอกกลุ่มดดยเฉพาะประเทศในภุมิภาคเอเชียน อเงนั้นก็ยังเป็นปัจจัยสำคัญในการแก้ปัญหาแาชญากรรมความมั่นคงนอกรูปแบบ ร่วมทั้งอาชญากรรมข้ามชาติด้วยเช่นกัน ความช่ีวยเหลือจากประเทศนอกกลุ่มสมชิก เช่น ญี่ป่นุ จีน และเกาหลีนั้น จะช่วยผลักดันนโยบายต่างๆ ให้สำเร็จมากขึ้น
เช่น ปัญหาดจรสลัด ประเทศญี่ป่นุซึ่งต้องส่งสินคึ้าผ่านน่นนำทะเลจีนใต้ได้รับความเดือดร้อน จาการแผ่ขยายอิทธิพลของโจรสลัด จึงได้เสนอให้แก้ปขปัญหาโตจรสลัดในน่านน้ำบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่าง จริงจัง ประเทศญี่ปุ่นได้ผลักดันให้เกิดการประชุมเรื่องภัยจากโจรสลัดในปี ค.ศ. 2000 กับประเทศสมาชิกอาเว๊ยน และยังได้เชิญตัวแทนจากประเทศอื่นๆ เช่น จีน ฮ่องกง อินเดีย และศรีลงการ เข้าร่วมด้วย
นอกจากนี้ญี่ปุ่นยังได้ผลักดันดครงการ "ASIA Anti-Piracy Challenges 2000" และร่วมลงนามในข้อตกลง ซึ่งนำมาสู่การบังคัยใช้นปี ค.ศ. 2006 โดยมีข้อตกลงโดยรัฐบาบลญี่ป่นุได้ช่วยสนยสนุนเงินทุนและการฝึกซ้อมต่อหน่วยงานในประเทศสมาชิกอาเวียนเพื่อต่อต้านอาชญากรรมทางทะเลจากโจรสลัด การเข้ามมาร่วมมือของประทเศญี่ป่นุในการต่อต้านอาชญากรรมจากโจรสลัดดังกล่าว ช่วยให้รัฐบาลของอาเซียนสามารถร่วมมือกันอย่างเป็นรูปธรรมมากขึนเพื่อต่อต้านและการปราบปรามโจรสลัดในน่าน้ำของอาเซียนเอง...(http://www.matichon.co.th/news_detail... /มติชนออนไลน์/28 มีนาคม 2556)
6 พ.ค. 2560 เกิดเหตุระเบิดกรุงมะนิลา 2 ครั้งซ้อน ดับ 2 เจ็บอีก 5 ซ้ำรอยที่เดิมตอนประชุมผู้นำอาเซียน. สำนักข่าวเอเอฟพีรายงานว่า เกิดเหตุระเบิด 2 ครั้งซ็อนในกรุงมะนิลา เมืองหลวงของฟิลลิปปินส์เมื่อคืนวันที่ 6 พฤษภาคม ส่งผลให้มีผุ้เสียชีวิตอย่างน้อย 2 ราย และบาดเจ็บอีก 5 คร ตำรวจเปิดเผยว่า เหตุระเบิดครั้งแรกเกิดขึ้นทีใกล้กับมัสยิดในย่านกิอาโป หนึ่งในย่านเก่าแก่ที่สุดในกรุงมะนิลาที่เป็นพ้นที่สลัมเป็นส่วนใหย่ เมื่อเวลาราว 18.00 น. ตามเวลาท้องถ่ิน โดยมีผุ้เสียชีวิต 2 รายและบาดเจ็บ 4 คน จากเหตุระเบิดครั้งนี้
ขณะที่ระเบิดครั้งที่ 2 เกิดขึ้นบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงกับจุดเดิมเมื่อเวลาราว 8.30 น. โดยระเบิดครั้งนี้ไม่ได้ก่อให้เกิดความเสียหายรุนแรงต่ออาคารสภานที่ดดยรอบ แต่สงผลให้เจ้าหน้าที่ตำรวจที่าำลังตครวจสอบสถานที่เกิดเหตุได้รับบาดเจ็บ 1 นาย
โดยก่อนหน้านี้เกิดเหตุระเบิดในย่านกิอาโปเมื่อวันที่ 29 เมษายน ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ฟิลิปปินส์เป็นเจ้าภาพจัดการปรุชมสุดยอดผุ้นำอาเซียน ส่งผลให้มีผุ้ได้รับบาดเจบ 14 คน ดดยกลุ่มกองกำลังรัฐอิสลาม (ไอเอส) ในฟิลิปปินส์อ้างว่าเป็นผุ้ลงมือก่อเหจุ ทว่าตำรวจฟิลิปปินส์ปฏิเสธว่าไม่ได้เป็นการก่อการร้าย และไม่เกี่ยวกับการประชุมผุ้นำอาเซียนแต่อย่างได แต่ระบุว่าเป็นการล้างแค้นกับแก๊งวัยรุ่นที่มีปัญหากันในพื้นที่ ขณะที่เหตุระเบิดครั้งล่าสุด เจ้าหน้าที่ยังไม่ได้ระบุถึงสาเหตุที่เป็นไปได้แต่อย่างใด..(matichon.co.th/new/552613
22 พฤษภาคม 2560 สำนักข่าวแห่งประเทศจีนรายงานว่า เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคมนี้ การทหารฟิลิปปินส์แถลงวา กองทัพของประเทศอาเซียนต่างๆ จะกระชับความร่วมมือเพื่อดจมตีการก่อการร้ายที่เป็นภัยต่อสันตุภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค วันเดียวกัน นายเอดัวร์โด อาเรวาโล ผู้อำนวยการสำนักงานกิจการสาะารณะกองทัพฟิลิปปินส์เผยว่า เมื่อเร็วๆ นี้ผู้นำระดับสุงของกองทัพประเทศอาเซียนลงนามในแถลงการณ์ร่วมดดยระบุจะกระชับการซ้อมรบร่วม การช่วยเหลือทางสทิะิมนุษยะรรมและความสามารถการบรรเทาภัย ฝ่ายต่างๆ ยังพยายามที่จะส่งเสริมให้การประชุมเสนาธิการใหญ่ของกองทัพประเทศอาเซียนให้เป็นกลไกแบบทางการ เพื่อโจมตีการก่อการร้ายและประสานงานการับมือกับภัยพิบัติต่างๆ ..(thai.cri.cn/247/2017/05/22/...)
23 พฤษภาคม 2560 ดูแตร์เต ประกาศกฎอัยการศึก จังหวัด มินดาเนา หลังผู้ก่อการร้ายเอี่ยว "ไอเอส"ป่วนเมือง, ประธานาธิบดีโรตริโก ดุแตร์เต้ ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ ประกาศกฎอับยการศึก ในช่วงดึกของวันที่ 23 พฤษภาคมที่ผ่านมา ในจังหวัดมินดาเนา ตอนใต้ของประเทศฟิลิปปิน์ หลังทหารกองทัพฟิลิปปินส์ยิงปะทะกับกลุ่มติดอาวุธที่มส่วนเกี่ยวข้องกับกาองกำลังรัฐอิสลาม หรือไอเอส อยางหนัก ขณะที่คนร้ายเผาบ้านเรื่อน ยึดโรงพยาบาลและประกาศศักดาชักธงไอเอสขึ้น
นายเออร์เนสโต อเบลเลล่า โฆษกประธานาธิบดี แถลงเกี่ยวกับการประากศกฎอัยการศึกที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซียน ซึ่งนายดูแตร์เตอยู่ระหว่างเดินทางเยือนอย่างเป็นทางการ สำนักข่าวรอบเตอร์รายงานว่า ในช่วงค่ำที่ผ่านมาเกิดเหตุปะทะกันระหว่างทหารของกองทัพฟิลิปปินส์ กับกลุ่มติดอาวุธที่ม
ด้านสำนักข่าวเอเอฟพีรายงานอ้างนายเอดูอาร์โต อาร์โน ผุ้บัญชาการทหารสูงสุดฟิลิปปินส์ ว่าเหตุปะทะดังกล่าวส่งผลให้มีทหารเสียชีวิตอย่างน้อย 1 นาย และมีทหารได้รับบาดเจ็บจำนวนหนึ่ง ในปฏิบัติการตามล่าตัวนายอิสนิลฃอน ฮาปิลอน หัวหน้ากลุ่มอาบุไซยาฟ และหวหน้ากลุ่มไอเอส สาขาประเทศฟิลิปปินส์
นายอาร์โน ระบุ่ามีนักรบของกลุ่มติดอาวุธราว 20 นายใช้โรงพยาบาลแห่งหนึ่งเป็นฐานที่มั่นและชักธงของกลุ่ม ไอเอส ขึ้นที่ประตูของโรพยาบาล ขณะทีมีนักรบอีกราว 10 นายที่บุกไปยังเรือนจำในพื้นที่และปะทะกับเจ้าหน้าที่ความมั่นคง นอกจากนี้รายงานระบุด้วยว่ากลุ่มก่อการร้ายได้เผาทำลายอาคารบ้านเรือนเพื่อสร้างความสับสนให้กับเจ้าหน้าที่ด้วย
ทั้งนี้ผุ้บัญชาการทหารสุงสุดฟิลิปปินส์ ยืนยันว่าเหตุการณ์ดังกล่าวที่ดุเหมือนจะเป็นเหตุรุนแรงนั้นเป็นฝีมือของคนร้ายกลุ่มเล็กๆ ที่ต้องรับมือกับกำลังของเจ้าหน้าที่จำนวนมาก
24 พฤษภาคม 2560 ศาสนจักรคาทอลิก ฟิลิปปินส์ เปิดเผยว่า กลุ่มกองกำลังอิสลามที่สุ้รบกับกองทัพฟิลิปปินส์ บนเกาะมินดาเนา ตอนใต้ของประเทศ ได้บุกยึดโบสถ์คริสต์และจับบาทหลวงเป็นตัวประกัน หลังการสุ้รบยังยืดเยื้อตลอดช่วงคืนที่ผ่านมา ขณะที่นายดรดริโก ดูแตร์เต ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ ระบุว่าอาจขยายเวลากฎอัยการศึกในพื้นที่ไปนานถึง 1 ปี คริสตจักรคาทอลิก ฟิลิปปินส์ แถลงระบุว่า มีบาทหลวงหลายคนอยุ่ในโบสถ์ "อาวเลดี้เฮลป์ออฟคริสเตีนส์" ขณะทีกลุ่มกองกำลังมาอูเต บุกเข้าไปในโบสถ์ และกลุ่มมือปืนได้ใช้บาทหลวงเหล่านั้นเป็นตัวประกัน พร้อมทั้งขู่จะฆ่าตัวประกันหากรัฐบาลไม่ยกเลิกไล่ล่าพวกตน
รายงานข่าวดังกล่าวมีขึ้นหลังประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ประกาศกฎอัยการศึกเมื่อช่วงดึกของคืนวันที่ 23 พฤษภาคร ในพื้นที่เกาะมินดาเนา หลังกลุ่มกองกำลังอิสลาม ก่อหตุป่วนในพื้นที่ตอนใต้ของเกาะมินดาเนา และปะทะกับเจ้าหน้าที่รัฐอย่างรุนแรง เหตุปะทะในเมืองมาราวี พื้นที่ซึ่งประชากรส่วนใหญ่จากทั้งหมด 200,000 คน เป็นชาวมุสลิมเกิดขึ้นในชี่วงบ่ายของวันที่ 23 พฤษภาคม หลังเจ้าหน้าที่ความมั่นคงของฟิลิปปินส์ บุกบ้านที่เชื่อว่านายอิสนิลอนฮาพิลิน หัวหน้ากลุ่มอาบูไซยาฟ และหัวหน้ากลุ่มไอเอสสาขาฟิลิปปินส์จะกบดานอยุ่ โดยนายฮาปิลอน นั้น เป็นหนึ่งในผุ้ก่อการร้ายที่สหรัฐอเมริกาต้องการตัวมากที่สุดและตั้งค่าหัวไว้ที่ 5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ รายงานระบุว่าหลังการบุกจับมีมือปืนกว่า 100 คนเข้าต่อสู้กับเจ้าหน้าที่ด้วยการเผาอาคารบ้านเรือนและทำการอำพรางตัวสุ้รบแบบกองโจร
ด้านนักวิเคราะห์ด้านความมั่นคงระบุว่า ฮาพิลอน พยายามที่จะสร้างเอกภาพให้กับกลุ่มกองกำลังติดอาวุธในฟิลิปปินส์ที่ประกาศสวามิภักดิ์กับกลุ่ม ไอเอส ในจำนนนี้รวมไปถึงกลุ่มมาอูเต ที่มีฐานที่มั่นอยุ่ในเมืองมาราวีด้วย ทั้งนี้โฆษกของเจ้าหน้าที่ตำรวจและกองทัีพฟิลิปปินส์ยังไม่ได้ออกมายืนยันรายงานข่าวการจับกุมตัวประกันดังกล่าวแต่อย่างใด..(www.matichon.co.th/news/566363, 565893)
25 พฤษภาคม 2560 รองนายกรัฐมนตรีมาเลเซียเตือนประชาชนให้เฝ้าระวังภัยจากการก่อการร้าย พร้อมระบุว่าเหตุการร์ที่เกิดขึ้นในต่างประเทศก็อาจเกิดขึ้นในภุมิภาคได้เช่นกัน
ดาโต๊ะ สรี ฮามิดี รองนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ประกาศเตือนประชาชนให้เผ้าระวังภัยก่อการร้ายในภุมิภาค หลังเกิดเหตุระเบิดที่เกี่ยวพันกับกลุ่มติดอาวุธซึ่งเรียกตัวเองว่า รัฐอิสลาม หรือ ไอเอส ในหลายพื้นที่ติดต่อกัน ดดยนายฮามิดีเตือนว่ามาเลเซียไม่ควรเพิดเฉพยต่อเหตุการณ์ร้ายแรงที่เกิดข้นในต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป้นเหตุระเบิดที่นครแมนเชสตอร์ของอังกฤษหรือกรุงจากร์ตาของอินโดนีเซียน ก็อาจเกิดขึ้นในภูมิภาคนี้ได้เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะพื้นที่ที่ไม่เข้มวงดเรื่องมาตรการป้องกันการก่อการร้ายรัฐบาลมาเลเซียจึงขอความร่วมมือประชาชน ให้ช่วยกันจับตาบุคคลหรือวัตถุต้องสงสัยในชุมชน และแจ้งเบาะแสต่อเจ้าหน้าที่ด้วย
นายฮามิดีระบุอีกว่า กลุ่มติดอาวุธ คาติบะห์ นูซันตารา ซึ่งเคลื่อนไหวอยุ่ในมาเลเซีย มีความเชื่อมโยงกับกลุ่มไอเอส และอาจเคลื่อนไหวก่อเหตุต่อเนื่องในละแวกใกล้เคียง ขณะที่ตำรวจและหน่วยปราบปรามการก่อการร้ายของมาเลเซียกำลังเครียมความพร้อมขึ้นสูงสุด เพื่อรับมือและป้องกันเหตุก่อการร้ายต่างๆ โดยมีการร่วมมือระหว่างรัฐบาลในกลุ่มประทเศอาเวียนและตำรวจสากลอินเตอร์โพล เพื่อแบ่งปันข้อมูลบต่อต้านการก่อการร้ายระหว่างประเทศสมาชิกด้วย
นอกจากนี้ หลายประเทศทั่วโลกยังได้ประกาศเตือนประชาชนให้เผ้าระหวังภัยจากการก่อการร้าย หลังเกิดเหตุระเบิดที่นครแมนเชสเตอร์ของอังกฤษ กรุงจาการ์ตาของอินโดนีเซียน และเหตุปะทะนองเลือดระหว่างกลุ่มติดอาวุธชาวมุสลิมกับกองทัพฟิลปปินส์ในช่วงหลายวันที่ผ่านมาระเบิดที่นครแมนเชสเตอร์ของอังกฤษเมื่อช่วงค่ำวันที 22 พฤษภาคม บริเวณจุดขายตั๋วของแมนเชสเตอร์อารีนา สถานที่จัดคอนเสิร์ตนักร้องหญิงชื่อดังขชาวอเมริกัน อาริอานนา กรานเด ทไใ้มีผุ้เสียชีวิต 22 ราย และบาดเจ็บ 64 ราย ถือเป็นเหตุก่อการร้ายครั้งรุนแรงที่สุดในรอบ 12 ปีของอังกฤษ โดยตำรวจอังกฤษจับกุมผุ้ต้องสงสัยได้แล้ว 8 คน ส่วนใหญ่เป็นญาติของนายซัลมาน อะเบดี มือระเบิดชาวอังกฤษเชื่อสายลิเบีย วัย 22 ปี ที่เสียชีวิตในที่เกิดเหตุ ส่วนผู้ต้องสงสัยอีก 2 คนเป็นชาวลิเบีย ซึ่งทางการอังกฤษได้ประสานกับทางการลิเบียให้ช่วยจับกุมเอาไว้ได้
ด้านนางเทเรซา เมย์ นายกรัญมนตรีอังกฤษ ปรกาศยกระดับการเตือนภัยก่อการร้ายเป็นระดับสูงสุด ซึ่ง หมายความว่า อาจจะมีการก่อเหตุรอบใหม่เกิดขึ้นได้ ขณะที่หลายประเทศทั่วโลก ทั้งสหรัฐฯ สิงคโปร์สมาชิกสหภาพยุโรป รวมถึงไทย ประกาศเตือนประชาชนขอตนที่พำนักอาศัยหรือผุ้ที่จะเดินทางไปยังอังกฤษให้ ติดตามประกาศและคำเตือนของรัฐบาลอังกฤษอย่างใหล้ชิด และสหรัฐฯ ยังได้เตือนสภานทูตสหรัฐฯ ในอียิปต์ให้เผ้าระวังภัยการก่อการร้ายด้วย เนื่องจากได้รับเบาะแสจกแหล่งข่าวที่เป้ฯพันธมิตรเมื่อไม่นานมานี้
หลังจากเกิดเหตุระเบิดที่นครแมนเชสเตอร์เพียง 1 วัน กลุ่มติดอาวุธมาอุเตซึ่งมีแนวคิดแบ่งแยกดินแดนในฟิลิปปินส์ก็ได้เปิดฉาก ต่อสู่กับกองทัพของรัฐบาลฟิลิปปินส์ที่เมืองมาราวี ซึ่งเป็นเมืองเล็กๆ ในจังหวัดลาเนา เดล ซูร์ บนเกาะมินดาเนา เขตปกครองทางใต้ของฟิลิปปินส์ และเป็นฐานที่มั่นของกลุ่มติดอาวุธหลายหลุ่ม โดยกลุ่มมาอูเตเป็นพันธมิตรกับกลุ่มอาบูไซยัฟ ซึ่งทั้งคู่ประกาศตัวสวามิภักดิ์ต่อกลุ่มติดอาวุธที่เรียกตัวเองว่ารัฐอิสลาม หรือ ไอเอส ส่วนเหตุปะทะทีเทมืองมาราวี ทำให้เจ้าหน้าท่รัฐเสียชีวิตดอย่างน้อย 3 นาย และนายโรดริโก ดูแตร์เต ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ ได้ประกาศกฎอัยการศึกทั่วเกาะมินดาเนา พร้อมสั่งตรึงกำลังเจาหน้าที่หน่วยความมั่นคงรอบเมือง รวมถึงอพยพประชาชนบางส่วนที่ต้องการออกจากพึ้นที่สู้รบ
ขณะที่ช่วงค่ำวานนี้ เกิดเหตุระเบิดสถานีรถประจุทางทางตะวันออกของกรุงจาการ์ตา เมืองหลวงของอินโดนีเซีย ทำให้มีผุ้เสียชีวิต 5 คน แบ่งเป็นตำรวจ 3 นาย ผุ้ก่อเหตุ 2 คน และผุ้บาดเจ็บอีก 10 คนเหตุระเบิดครั้งนี้เป็นการโจมตีกรุงจาการ์ตาครั้งที่ 2 โดยเมื่อเดือนมกราคมที่ผ่านมา เคยเกิดเหตุมือปืนซึ่งเป็นเครื่อข่ายกลุ่มไอเอสบุกกราดยิงและระเบิดย่านใจ กลางกรุงจาการ์ตามาแล้วครั้งหนึ่ง ทำให้มีผุ้เสียชีวิต 4 คน ถือเป็นการก่อเหตุของเครือข่ายไอเอสครั้งรแกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเหตุการณืครั้งใหม่ก็พบเบาแสเกี่ยวขช้องกับกลุ่มไอเอสอีกเช่นกัน...newa.voicetv.co.th
- เสาที่ 1 ด้านประชาคมความมั่นคง
- เสาที่ 2 ด้านประชาคมเศราฐกิจ
- เสาที่ 3ด้านประชาสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในประเทศไทยให้ความสำคัญ ในการเตรียมพร้อมของประชาชนในภคต่างๆ เพื่อการเข้าสุ่ประชาคมเศราฐกิจอาเซียน หรือ AECV ส่วนอีก 2 เสานั้น คือ ASC และ ASCC ยังไม่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐเพื่อสร้างควมเข้าใจและสร้างความพร้อมให้ กับ
ประชาชนมากนัก เสาที่ดุจะเป้นปัญหาในาทงปฏิบัติมากที่สุด คือ เสาประชาคมความมั่นคง เนื่องจากว่าประเทศสมาชิกอเาซียนเองนั้น ได้มีการทำข้อตกลงไว้นเรื่องการ เพมืองและความมั่นคงอยุ่หลายข้อและข้อที่สำคัญประการหนึ่ง คือ กาไม่ยุ่งเกี่ยวการเมืองภายในของประเทศสมาชิกด้วยกัน ดังนั้น เสาประชาคมความมั่นงคงจึงอาจำไม่สามาตถพัฒนาได้มากนักหลังจากการเข้า สุ่ประชาคมอาเซียน
อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่าจะมีอุปสรรคในการจัดตั้งเสาประชาคมความมั่นคง แต่ผู้เชี่ยวชาญด้านอาเซียนรวมถึงผู้เกี่ยวข้องด้านความมั่นคง ในอาเซียนได้แสวงหาปัจจัยที่จะสามารถดึงเอาประเทศสมาชิกต่งๆ ของอาเซียนยอมเข้ามาร่วมมือกัเพื่อก่อให้เกิดประชาคมในเสาดังกล่าว ดดยหลายท่านได้ชี้ไปที่การต่อต้านภัยคุกคามต่อความมั่นคงร่วมกัน ดดยเฉพาะภัยด้านความมั่คงนอกรูปแบบ ซึ่งถือเป็ฯอาชญากรรมรูปแบบใหม่ท่เกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียนปัจจุบัย เช่น การก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาติ ดรคระบาดและภัยธรรมชาติที่รุนแรง เป็นต้น ดดยหวังว่าประเทศสมาชิกจะสามารถแสงหาจุดยืนร่วมกันในการแก้ปัญหาภัยด้าน ความมั่นคงนอการูปแบบนี้ได้อย่างทันท่วงที่ก็จะสามารถชข่วยให้ภัยคุกคามดังกล่าวไม่แผ่ขยายจนส่งผล กระทบที่รุนแรงต่อประเทศในภูมิภาค และนำมาสู่การสร้างความมั่นคงของเสาความมั่นคงใประชาคมอาเซียนต่อไป
ภัยด้านความมั่นคงนอกรูปแบบ ประเภทหนึ่งที่ได้ับความสนใจอย่างกว้างขสงในกลุ่มปู้บังคับใช้กฎหมาย คือ ภัยจากอาชญากรรมข้ามชาติ ในปัจจุบันอาชญากรรมข้ามชติส่งผลร้ายแรงและมีความซับซ้อนมากว่าอดีต สำหรับในพิมพ์ฺเขียวของเสาประชาคมความมั่นคงนั้น ได้กล่าวถึงอาชญากรรมข้ามขชาติที่สำคัญ 6 ประเภท คือ การก่อการร้าย กาลักพาตัวและค้ามนุษย์ การต้ายาเสพติด การประมงผิดกฎหมาย กาต้าอาวุธเถือนขนาดเล็ก อาชญากรรมทางไซเบอร์และโจรสลัด และสำหรับอาชญากรรมที่ต้องมีการจัดการอย่างเร่ิงด่วนในภูมิภาค คือ กาต้ามนุษย การต้ายาเสพติด และปัญหาโจรสลัด
ในการแก้ปัญหาจากอาชญากรรมข้ามชตินัน มีความจำเป็ฯอย่งย่ิงที่ประเทศในภูมิภาครองรวมมือกัน ไม่ใช่ปล่อยให้เป็นความรับผิดชอบของประเทศใดประเทศหนึ่งเท่านั้น สำหรับการขยายตัวของอาชญากรรมข้ามชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียนนั้นไม่แตกต่างจากภูมิภาคอื ่่นๆ กล่าวคือเกิดจากความเหลือมล้ำด้านคุณภาพของกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายของ ประเทศสมาชิก รวมทัี้งความ่อนแอของรัฐบาลกลางที่จะเข้าไปแก้ปัญหาอาชญากรรมองค์กรข้ามขชาติ อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้เมื่อเกิดการคุกคามจากปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติดังกล่าวประเทศสมาชิก อาเว๊ยนไม่ได้แก้ปัญหาร่วมกันอย่างบูรณาการ แต่กลับมองว่าปัญหาการคุกคามดังกล่าวเกิดขึ้นใประเทศใดก็เป็นความรับผิดชอบของประเทศนั้นนการจัดการ ดังนี้นการแก้ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติจึบไม่อาจเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมได้ ระหว่างประเทศสมาชิก
ความจริงแล้วกลุ่มประเทศอาเวียนนั้นมความตื้นตัวในการต่อต้านอาชญากรรม ข้ามชาติมาเป็นเวลานานแล้ว ดั่งแต่ปี ค.ศ. 1976 แต่ส่วนใหญ่เนนรเื่องการปราบปรามยาเสพติดทั่วไป จนกระท่งอาเซียนเร่ิมจัดตั้งการประชุมรัฐมนตรีอาเซียน และเริ่มมีการกล่าวถึงอาชญากรรมข้ามชาติมากขึ้น รวมทั้งกระตุ้นให้ประทเศสมาชิกตระหนักถึงผลกระทบและการแก้ปัญการอาชญากรรม ข้ามชาติ
ในการประชุม ASEAN Conference on Transnational Crime ในปี 1977 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ได้มีการประกาศร่วมกันของประเทศสมาชิกใน คำประกาศว่าด้วยเรื่องอาชญากรรมข้ามขาติ ซึ่งถือเป็นความร่วมมือที่เป็นรูปธรรมครั้งแรกระหว่างประเทศสมาชิกในภูมิภาค ในการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ ในคำประกาศดังกล่าวยังได้มีการประกาศใช้กลไกต่างๆ เช่น กำหนดการประชุมระหว่างรัฐมนตรีในการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติทุกๆ 2 ปี นอกจกนี้ยังจัดให้มีการประชุมอื่นๆ ด้วย และที่สำคัญที่สุดคือการผลักดันให้ประชาคมความมั่นคงอาเซียนหรือ ASC เกิดขึ้นและมีกลไกที่มีประสิทธิภาพในการแก้ปขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติอย่างแท้จริง
สำหรับการกำหนดความร่่วมือในการต่อต้ารอาชญากรรมข้ามชาติภายใต้กรอบของประชาคมความมั่นคง หรือ ASC คือ
- เพิ่มความร่วมมือในการรับมือกับภัยความมั่นคงนอกรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการต่อสู้กับอาชญากรรมข้ามชาติและปัญหาข้ามพรมแดนอื่นๆ
- เพิ่มความร่วมมือในการรับมือกับภัยความมั่นคงนอกรูแปบบต่างๆ ดดยเฉพาเยอ่างยิ่งการต่องสู้กับอาชญากรรมข้ามขติและปัญหาข้ามพรมแดนอื่นๆ
- เพ่ิมความพยายรามในการต่อต้านการก่อการร้ายดดยการลงนามรับรองในอนุสัญญา อาเวียนว่าด้วยการต่อต้านการก่อการร้ายและนำข้อตกลงจากอนุสัญญาไปปฏิบัติจริง
นอกจากเครื่องมือและกลไกต่างๆ ภายในอาเซียนเองแล้ว การสร้างความร่วมมือจากประเทศนอกกลุ่มดดยเฉพาะประเทศในภุมิภาคเอเชียน อเงนั้นก็ยังเป็นปัจจัยสำคัญในการแก้ปัญหาแาชญากรรมความมั่นคงนอกรูปแบบ ร่วมทั้งอาชญากรรมข้ามชาติด้วยเช่นกัน ความช่ีวยเหลือจากประเทศนอกกลุ่มสมชิก เช่น ญี่ป่นุ จีน และเกาหลีนั้น จะช่วยผลักดันนโยบายต่างๆ ให้สำเร็จมากขึ้น
เช่น ปัญหาดจรสลัด ประเทศญี่ป่นุซึ่งต้องส่งสินคึ้าผ่านน่นนำทะเลจีนใต้ได้รับความเดือดร้อน จาการแผ่ขยายอิทธิพลของโจรสลัด จึงได้เสนอให้แก้ปขปัญหาโตจรสลัดในน่านน้ำบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่าง จริงจัง ประเทศญี่ปุ่นได้ผลักดันให้เกิดการประชุมเรื่องภัยจากโจรสลัดในปี ค.ศ. 2000 กับประเทศสมาชิกอาเว๊ยน และยังได้เชิญตัวแทนจากประเทศอื่นๆ เช่น จีน ฮ่องกง อินเดีย และศรีลงการ เข้าร่วมด้วย
นอกจากนี้ญี่ปุ่นยังได้ผลักดันดครงการ "ASIA Anti-Piracy Challenges 2000" และร่วมลงนามในข้อตกลง ซึ่งนำมาสู่การบังคัยใช้นปี ค.ศ. 2006 โดยมีข้อตกลงโดยรัฐบาบลญี่ป่นุได้ช่วยสนยสนุนเงินทุนและการฝึกซ้อมต่อหน่วยงานในประเทศสมาชิกอาเวียนเพื่อต่อต้านอาชญากรรมทางทะเลจากโจรสลัด การเข้ามมาร่วมมือของประทเศญี่ป่นุในการต่อต้านอาชญากรรมจากโจรสลัดดังกล่าว ช่วยให้รัฐบาลของอาเซียนสามารถร่วมมือกันอย่างเป็นรูปธรรมมากขึนเพื่อต่อต้านและการปราบปรามโจรสลัดในน่าน้ำของอาเซียนเอง...(http://www.matichon.co.th/news_detail... /มติชนออนไลน์/28 มีนาคม 2556)
6 พ.ค. 2560 เกิดเหตุระเบิดกรุงมะนิลา 2 ครั้งซ้อน ดับ 2 เจ็บอีก 5 ซ้ำรอยที่เดิมตอนประชุมผู้นำอาเซียน. สำนักข่าวเอเอฟพีรายงานว่า เกิดเหตุระเบิด 2 ครั้งซ็อนในกรุงมะนิลา เมืองหลวงของฟิลลิปปินส์เมื่อคืนวันที่ 6 พฤษภาคม ส่งผลให้มีผุ้เสียชีวิตอย่างน้อย 2 ราย และบาดเจ็บอีก 5 คร ตำรวจเปิดเผยว่า เหตุระเบิดครั้งแรกเกิดขึ้นทีใกล้กับมัสยิดในย่านกิอาโป หนึ่งในย่านเก่าแก่ที่สุดในกรุงมะนิลาที่เป็นพ้นที่สลัมเป็นส่วนใหย่ เมื่อเวลาราว 18.00 น. ตามเวลาท้องถ่ิน โดยมีผุ้เสียชีวิต 2 รายและบาดเจ็บ 4 คน จากเหตุระเบิดครั้งนี้
ขณะที่ระเบิดครั้งที่ 2 เกิดขึ้นบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงกับจุดเดิมเมื่อเวลาราว 8.30 น. โดยระเบิดครั้งนี้ไม่ได้ก่อให้เกิดความเสียหายรุนแรงต่ออาคารสภานที่ดดยรอบ แต่สงผลให้เจ้าหน้าที่ตำรวจที่าำลังตครวจสอบสถานที่เกิดเหตุได้รับบาดเจ็บ 1 นาย
โดยก่อนหน้านี้เกิดเหตุระเบิดในย่านกิอาโปเมื่อวันที่ 29 เมษายน ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ฟิลิปปินส์เป็นเจ้าภาพจัดการปรุชมสุดยอดผุ้นำอาเซียน ส่งผลให้มีผุ้ได้รับบาดเจบ 14 คน ดดยกลุ่มกองกำลังรัฐอิสลาม (ไอเอส) ในฟิลิปปินส์อ้างว่าเป็นผุ้ลงมือก่อเหจุ ทว่าตำรวจฟิลิปปินส์ปฏิเสธว่าไม่ได้เป็นการก่อการร้าย และไม่เกี่ยวกับการประชุมผุ้นำอาเซียนแต่อย่างได แต่ระบุว่าเป็นการล้างแค้นกับแก๊งวัยรุ่นที่มีปัญหากันในพื้นที่ ขณะที่เหตุระเบิดครั้งล่าสุด เจ้าหน้าที่ยังไม่ได้ระบุถึงสาเหตุที่เป็นไปได้แต่อย่างใด..(matichon.co.th/new/552613
22 พฤษภาคม 2560 สำนักข่าวแห่งประเทศจีนรายงานว่า เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคมนี้ การทหารฟิลิปปินส์แถลงวา กองทัพของประเทศอาเซียนต่างๆ จะกระชับความร่วมมือเพื่อดจมตีการก่อการร้ายที่เป็นภัยต่อสันตุภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค วันเดียวกัน นายเอดัวร์โด อาเรวาโล ผู้อำนวยการสำนักงานกิจการสาะารณะกองทัพฟิลิปปินส์เผยว่า เมื่อเร็วๆ นี้ผู้นำระดับสุงของกองทัพประเทศอาเซียนลงนามในแถลงการณ์ร่วมดดยระบุจะกระชับการซ้อมรบร่วม การช่วยเหลือทางสทิะิมนุษยะรรมและความสามารถการบรรเทาภัย ฝ่ายต่างๆ ยังพยายามที่จะส่งเสริมให้การประชุมเสนาธิการใหญ่ของกองทัพประเทศอาเซียนให้เป็นกลไกแบบทางการ เพื่อโจมตีการก่อการร้ายและประสานงานการับมือกับภัยพิบัติต่างๆ ..(thai.cri.cn/247/2017/05/22/...)
23 พฤษภาคม 2560 ดูแตร์เต ประกาศกฎอัยการศึก จังหวัด มินดาเนา หลังผู้ก่อการร้ายเอี่ยว "ไอเอส"ป่วนเมือง, ประธานาธิบดีโรตริโก ดุแตร์เต้ ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ ประกาศกฎอับยการศึก ในช่วงดึกของวันที่ 23 พฤษภาคมที่ผ่านมา ในจังหวัดมินดาเนา ตอนใต้ของประเทศฟิลิปปิน์ หลังทหารกองทัพฟิลิปปินส์ยิงปะทะกับกลุ่มติดอาวุธที่มส่วนเกี่ยวข้องกับกาองกำลังรัฐอิสลาม หรือไอเอส อยางหนัก ขณะที่คนร้ายเผาบ้านเรื่อน ยึดโรงพยาบาลและประกาศศักดาชักธงไอเอสขึ้น
ด้านสำนักข่าวเอเอฟพีรายงานอ้างนายเอดูอาร์โต อาร์โน ผุ้บัญชาการทหารสูงสุดฟิลิปปินส์ ว่าเหตุปะทะดังกล่าวส่งผลให้มีทหารเสียชีวิตอย่างน้อย 1 นาย และมีทหารได้รับบาดเจ็บจำนวนหนึ่ง ในปฏิบัติการตามล่าตัวนายอิสนิลฃอน ฮาปิลอน หัวหน้ากลุ่มอาบุไซยาฟ และหวหน้ากลุ่มไอเอส สาขาประเทศฟิลิปปินส์
นายอาร์โน ระบุ่ามีนักรบของกลุ่มติดอาวุธราว 20 นายใช้โรงพยาบาลแห่งหนึ่งเป็นฐานที่มั่นและชักธงของกลุ่ม ไอเอส ขึ้นที่ประตูของโรพยาบาล ขณะทีมีนักรบอีกราว 10 นายที่บุกไปยังเรือนจำในพื้นที่และปะทะกับเจ้าหน้าที่ความมั่นคง นอกจากนี้รายงานระบุด้วยว่ากลุ่มก่อการร้ายได้เผาทำลายอาคารบ้านเรือนเพื่อสร้างความสับสนให้กับเจ้าหน้าที่ด้วย
24 พฤษภาคม 2560 ศาสนจักรคาทอลิก ฟิลิปปินส์ เปิดเผยว่า กลุ่มกองกำลังอิสลามที่สุ้รบกับกองทัพฟิลิปปินส์ บนเกาะมินดาเนา ตอนใต้ของประเทศ ได้บุกยึดโบสถ์คริสต์และจับบาทหลวงเป็นตัวประกัน หลังการสุ้รบยังยืดเยื้อตลอดช่วงคืนที่ผ่านมา ขณะที่นายดรดริโก ดูแตร์เต ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ ระบุว่าอาจขยายเวลากฎอัยการศึกในพื้นที่ไปนานถึง 1 ปี คริสตจักรคาทอลิก ฟิลิปปินส์ แถลงระบุว่า มีบาทหลวงหลายคนอยุ่ในโบสถ์ "อาวเลดี้เฮลป์ออฟคริสเตีนส์" ขณะทีกลุ่มกองกำลังมาอูเต บุกเข้าไปในโบสถ์ และกลุ่มมือปืนได้ใช้บาทหลวงเหล่านั้นเป็นตัวประกัน พร้อมทั้งขู่จะฆ่าตัวประกันหากรัฐบาลไม่ยกเลิกไล่ล่าพวกตน
รายงานข่าวดังกล่าวมีขึ้นหลังประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ประกาศกฎอัยการศึกเมื่อช่วงดึกของคืนวันที่ 23 พฤษภาคร ในพื้นที่เกาะมินดาเนา หลังกลุ่มกองกำลังอิสลาม ก่อหตุป่วนในพื้นที่ตอนใต้ของเกาะมินดาเนา และปะทะกับเจ้าหน้าที่รัฐอย่างรุนแรง เหตุปะทะในเมืองมาราวี พื้นที่ซึ่งประชากรส่วนใหญ่จากทั้งหมด 200,000 คน เป็นชาวมุสลิมเกิดขึ้นในชี่วงบ่ายของวันที่ 23 พฤษภาคม หลังเจ้าหน้าที่ความมั่นคงของฟิลิปปินส์ บุกบ้านที่เชื่อว่านายอิสนิลอนฮาพิลิน หัวหน้ากลุ่มอาบูไซยาฟ และหัวหน้ากลุ่มไอเอสสาขาฟิลิปปินส์จะกบดานอยุ่ โดยนายฮาปิลอน นั้น เป็นหนึ่งในผุ้ก่อการร้ายที่สหรัฐอเมริกาต้องการตัวมากที่สุดและตั้งค่าหัวไว้ที่ 5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ รายงานระบุว่าหลังการบุกจับมีมือปืนกว่า 100 คนเข้าต่อสู้กับเจ้าหน้าที่ด้วยการเผาอาคารบ้านเรือนและทำการอำพรางตัวสุ้รบแบบกองโจร
ด้านนักวิเคราะห์ด้านความมั่นคงระบุว่า ฮาพิลอน พยายามที่จะสร้างเอกภาพให้กับกลุ่มกองกำลังติดอาวุธในฟิลิปปินส์ที่ประกาศสวามิภักดิ์กับกลุ่ม ไอเอส ในจำนนนี้รวมไปถึงกลุ่มมาอูเต ที่มีฐานที่มั่นอยุ่ในเมืองมาราวีด้วย ทั้งนี้โฆษกของเจ้าหน้าที่ตำรวจและกองทัีพฟิลิปปินส์ยังไม่ได้ออกมายืนยันรายงานข่าวการจับกุมตัวประกันดังกล่าวแต่อย่างใด..(www.matichon.co.th/news/566363, 565893)
25 พฤษภาคม 2560 รองนายกรัฐมนตรีมาเลเซียเตือนประชาชนให้เฝ้าระวังภัยจากการก่อการร้าย พร้อมระบุว่าเหตุการร์ที่เกิดขึ้นในต่างประเทศก็อาจเกิดขึ้นในภุมิภาคได้เช่นกัน
ดาโต๊ะ สรี ฮามิดี รองนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ประกาศเตือนประชาชนให้เผ้าระวังภัยก่อการร้ายในภุมิภาค หลังเกิดเหตุระเบิดที่เกี่ยวพันกับกลุ่มติดอาวุธซึ่งเรียกตัวเองว่า รัฐอิสลาม หรือ ไอเอส ในหลายพื้นที่ติดต่อกัน ดดยนายฮามิดีเตือนว่ามาเลเซียไม่ควรเพิดเฉพยต่อเหตุการณ์ร้ายแรงที่เกิดข้นในต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป้นเหตุระเบิดที่นครแมนเชสตอร์ของอังกฤษหรือกรุงจากร์ตาของอินโดนีเซียน ก็อาจเกิดขึ้นในภูมิภาคนี้ได้เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะพื้นที่ที่ไม่เข้มวงดเรื่องมาตรการป้องกันการก่อการร้ายรัฐบาลมาเลเซียจึงขอความร่วมมือประชาชน ให้ช่วยกันจับตาบุคคลหรือวัตถุต้องสงสัยในชุมชน และแจ้งเบาะแสต่อเจ้าหน้าที่ด้วย
นายฮามิดีระบุอีกว่า กลุ่มติดอาวุธ คาติบะห์ นูซันตารา ซึ่งเคลื่อนไหวอยุ่ในมาเลเซีย มีความเชื่อมโยงกับกลุ่มไอเอส และอาจเคลื่อนไหวก่อเหตุต่อเนื่องในละแวกใกล้เคียง ขณะที่ตำรวจและหน่วยปราบปรามการก่อการร้ายของมาเลเซียกำลังเครียมความพร้อมขึ้นสูงสุด เพื่อรับมือและป้องกันเหตุก่อการร้ายต่างๆ โดยมีการร่วมมือระหว่างรัฐบาลในกลุ่มประทเศอาเวียนและตำรวจสากลอินเตอร์โพล เพื่อแบ่งปันข้อมูลบต่อต้านการก่อการร้ายระหว่างประเทศสมาชิกด้วย
นอกจากนี้ หลายประเทศทั่วโลกยังได้ประกาศเตือนประชาชนให้เผ้าระหวังภัยจากการก่อการร้าย หลังเกิดเหตุระเบิดที่นครแมนเชสเตอร์ของอังกฤษ กรุงจาการ์ตาของอินโดนีเซียน และเหตุปะทะนองเลือดระหว่างกลุ่มติดอาวุธชาวมุสลิมกับกองทัพฟิลปปินส์ในช่วงหลายวันที่ผ่านมาระเบิดที่นครแมนเชสเตอร์ของอังกฤษเมื่อช่วงค่ำวันที 22 พฤษภาคม บริเวณจุดขายตั๋วของแมนเชสเตอร์อารีนา สถานที่จัดคอนเสิร์ตนักร้องหญิงชื่อดังขชาวอเมริกัน อาริอานนา กรานเด ทไใ้มีผุ้เสียชีวิต 22 ราย และบาดเจ็บ 64 ราย ถือเป็นเหตุก่อการร้ายครั้งรุนแรงที่สุดในรอบ 12 ปีของอังกฤษ โดยตำรวจอังกฤษจับกุมผุ้ต้องสงสัยได้แล้ว 8 คน ส่วนใหญ่เป็นญาติของนายซัลมาน อะเบดี มือระเบิดชาวอังกฤษเชื่อสายลิเบีย วัย 22 ปี ที่เสียชีวิตในที่เกิดเหตุ ส่วนผู้ต้องสงสัยอีก 2 คนเป็นชาวลิเบีย ซึ่งทางการอังกฤษได้ประสานกับทางการลิเบียให้ช่วยจับกุมเอาไว้ได้
ด้านนางเทเรซา เมย์ นายกรัญมนตรีอังกฤษ ปรกาศยกระดับการเตือนภัยก่อการร้ายเป็นระดับสูงสุด ซึ่ง หมายความว่า อาจจะมีการก่อเหตุรอบใหม่เกิดขึ้นได้ ขณะที่หลายประเทศทั่วโลก ทั้งสหรัฐฯ สิงคโปร์สมาชิกสหภาพยุโรป รวมถึงไทย ประกาศเตือนประชาชนขอตนที่พำนักอาศัยหรือผุ้ที่จะเดินทางไปยังอังกฤษให้ ติดตามประกาศและคำเตือนของรัฐบาลอังกฤษอย่างใหล้ชิด และสหรัฐฯ ยังได้เตือนสภานทูตสหรัฐฯ ในอียิปต์ให้เผ้าระวังภัยการก่อการร้ายด้วย เนื่องจากได้รับเบาะแสจกแหล่งข่าวที่เป้ฯพันธมิตรเมื่อไม่นานมานี้
หลังจากเกิดเหตุระเบิดที่นครแมนเชสเตอร์เพียง 1 วัน กลุ่มติดอาวุธมาอุเตซึ่งมีแนวคิดแบ่งแยกดินแดนในฟิลิปปินส์ก็ได้เปิดฉาก ต่อสู่กับกองทัพของรัฐบาลฟิลิปปินส์ที่เมืองมาราวี ซึ่งเป็นเมืองเล็กๆ ในจังหวัดลาเนา เดล ซูร์ บนเกาะมินดาเนา เขตปกครองทางใต้ของฟิลิปปินส์ และเป็นฐานที่มั่นของกลุ่มติดอาวุธหลายหลุ่ม โดยกลุ่มมาอูเตเป็นพันธมิตรกับกลุ่มอาบูไซยัฟ ซึ่งทั้งคู่ประกาศตัวสวามิภักดิ์ต่อกลุ่มติดอาวุธที่เรียกตัวเองว่ารัฐอิสลาม หรือ ไอเอส ส่วนเหตุปะทะทีเทมืองมาราวี ทำให้เจ้าหน้าท่รัฐเสียชีวิตดอย่างน้อย 3 นาย และนายโรดริโก ดูแตร์เต ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ ได้ประกาศกฎอัยการศึกทั่วเกาะมินดาเนา พร้อมสั่งตรึงกำลังเจาหน้าที่หน่วยความมั่นคงรอบเมือง รวมถึงอพยพประชาชนบางส่วนที่ต้องการออกจากพึ้นที่สู้รบ
ขณะที่ช่วงค่ำวานนี้ เกิดเหตุระเบิดสถานีรถประจุทางทางตะวันออกของกรุงจาการ์ตา เมืองหลวงของอินโดนีเซีย ทำให้มีผุ้เสียชีวิต 5 คน แบ่งเป็นตำรวจ 3 นาย ผุ้ก่อเหตุ 2 คน และผุ้บาดเจ็บอีก 10 คนเหตุระเบิดครั้งนี้เป็นการโจมตีกรุงจาการ์ตาครั้งที่ 2 โดยเมื่อเดือนมกราคมที่ผ่านมา เคยเกิดเหตุมือปืนซึ่งเป็นเครื่อข่ายกลุ่มไอเอสบุกกราดยิงและระเบิดย่านใจ กลางกรุงจาการ์ตามาแล้วครั้งหนึ่ง ทำให้มีผุ้เสียชีวิต 4 คน ถือเป็นการก่อเหตุของเครือข่ายไอเอสครั้งรแกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเหตุการณืครั้งใหม่ก็พบเบาแสเกี่ยวขช้องกับกลุ่มไอเอสอีกเช่นกัน...newa.voicetv.co.th
วันพุธที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
30th ASEAN Summit & 50th Aniversary of ASEAN
ระหว่างวันที่ 28-29 เมษายน พ.ศ. 2560 นายกรัฐมนตรีและคณะได้เดินทางไปประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 30 และได้เข้าร่วมการประชุมระดับผุ้นำแผนงานการพัฒนาเขตเศราฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย ครั้งที่ 10 เพื่อสนับสนุนการเชื่อมโยงของโครงสร้างพื้นฐาน
สำหรับการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งนี้ มีประเทศมีฟิลิปปินส์เป็นประธาน โดนจัดขึ้นในปีที่อาเซียนก่อตั้งครบรอบ 50 ปี ซึ่งถือเป็นความร่วมมือที่ยาวนานและแน่แฟ้นย่ิงกว่าความร่วมมือในภูมิภาคใดๆ ในโลกใบนี้
ในปีนี้ ผุ้นำอาเซียนได้ร่วมกันย้ำถึงความสำคัญในการที่จะทบทวนและพิจารณราเพิ่มศักยภาพการดำเนินการของประชาคม โดยเน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยจะไม่ทอดท้ิงใครไว้ข้างหลัง ถึงปม้ความร่วมมือในอาเซียนจะประสบความสำเร็จมาระดับหนึ่งแล้ว แต่เราต้องยอมรัีบว่า ยังต้องส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในภูมิภาค และสร้างความตะกนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนให้มากขึ้นควบคู่ไปด้วย
นอกจากนี้ ที่ประชุมยังเห้นตรงกันว่า การเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนด้านความมั่นคงในภุมิภาคนี้ ทำให้อาเซียนต้องรักษาความเป็นแกนกลางในด้านความมั่นคงของภุมิภาคและบริหารความสัมพันะ์ธ์ที่มีกับประเทศมหาอำนาจให้เป็นประโยชน์ เพื่อให้ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกเป็นภูมิภาคที่มีเสถียรภาพ มั่นคง และยั่งยืน ขณะดี่ยวกัน อาเซียนต้องสร้างความแข้งแกร่งภายใน เพื่อรับมือกับความท้าทายต่างๆ เช่น การส่งเสริมความร่วมมือด้านการบริหารจัการชายแดน การจัดตั้งศูน์ยไซเบอร์อาเซียน และ ASEAN Centre for Active and Innovation เพื่อดูแลการเข้าสู่สังคมสุงวัยที่กำลังจะมาถึง รวมทั้งจะต้องยืนหยัดในการส่งเสริมการต้าเสรีระหว่างกัน และเร่งเจรจาความตกลงหุ้นสวนทางเศราฐกิจระดับภูมิภาคหรือ RCEP ให้สำเร็จโดยเร็ว และยังต้องมุ่งที่จะเพ่ิมการต้าภายในระหว่างกันให้มากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาประเทศอื่นๆ ลงด้วย
อีกประเด็นหนึ่งที่หลายฝ่ายให้ความสนใจ คือเรื่องของความมั่นคงในคาบสมุทรกาหลี โดยที่ประชุมได้แสดงความกังวลต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้น และห็นพ้องในการให้ความสำคัญกับการปฏิบัติตามข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติอย่างเคร่งครัด และเน้นให้เกิดการแก้ไขปญัญหาโดยสันติวิธี ไม่ให้เกิดความรุนแรงและสร้างความขัดแย้งเพิ่มเติม.. (www.aseanthai.net/.../ "อาเซียน 50 ปี : ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ไม่ทอดทิ้งใตรไว้ข้างหลัง)
สำหรับการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งนี้ มีประเทศมีฟิลิปปินส์เป็นประธาน โดนจัดขึ้นในปีที่อาเซียนก่อตั้งครบรอบ 50 ปี ซึ่งถือเป็นความร่วมมือที่ยาวนานและแน่แฟ้นย่ิงกว่าความร่วมมือในภูมิภาคใดๆ ในโลกใบนี้
ในปีนี้ ผุ้นำอาเซียนได้ร่วมกันย้ำถึงความสำคัญในการที่จะทบทวนและพิจารณราเพิ่มศักยภาพการดำเนินการของประชาคม โดยเน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยจะไม่ทอดท้ิงใครไว้ข้างหลัง ถึงปม้ความร่วมมือในอาเซียนจะประสบความสำเร็จมาระดับหนึ่งแล้ว แต่เราต้องยอมรัีบว่า ยังต้องส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในภูมิภาค และสร้างความตะกนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนให้มากขึ้นควบคู่ไปด้วย
นอกจากนี้ ที่ประชุมยังเห้นตรงกันว่า การเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนด้านความมั่นคงในภุมิภาคนี้ ทำให้อาเซียนต้องรักษาความเป็นแกนกลางในด้านความมั่นคงของภุมิภาคและบริหารความสัมพันะ์ธ์ที่มีกับประเทศมหาอำนาจให้เป็นประโยชน์ เพื่อให้ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกเป็นภูมิภาคที่มีเสถียรภาพ มั่นคง และยั่งยืน ขณะดี่ยวกัน อาเซียนต้องสร้างความแข้งแกร่งภายใน เพื่อรับมือกับความท้าทายต่างๆ เช่น การส่งเสริมความร่วมมือด้านการบริหารจัการชายแดน การจัดตั้งศูน์ยไซเบอร์อาเซียน และ ASEAN Centre for Active and Innovation เพื่อดูแลการเข้าสู่สังคมสุงวัยที่กำลังจะมาถึง รวมทั้งจะต้องยืนหยัดในการส่งเสริมการต้าเสรีระหว่างกัน และเร่งเจรจาความตกลงหุ้นสวนทางเศราฐกิจระดับภูมิภาคหรือ RCEP ให้สำเร็จโดยเร็ว และยังต้องมุ่งที่จะเพ่ิมการต้าภายในระหว่างกันให้มากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาประเทศอื่นๆ ลงด้วย
อีกประเด็นหนึ่งที่หลายฝ่ายให้ความสนใจ คือเรื่องของความมั่นคงในคาบสมุทรกาหลี โดยที่ประชุมได้แสดงความกังวลต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้น และห็นพ้องในการให้ความสำคัญกับการปฏิบัติตามข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติอย่างเคร่งครัด และเน้นให้เกิดการแก้ไขปญัญหาโดยสันติวิธี ไม่ให้เกิดความรุนแรงและสร้างความขัดแย้งเพิ่มเติม.. (www.aseanthai.net/.../ "อาเซียน 50 ปี : ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ไม่ทอดทิ้งใตรไว้ข้างหลัง)
วันอังคารที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
Aok Hug Jak ASEAN (อกหักจากอาเซียน)
"อกหักจากอาเซียน" โดย ปศ.ดร. กิตติ ประเสริฐสุข ผู้ประสานงานโครงการ "จับตามอาเซียน"
ประชาคมอาเซียมี่ว่ากันวา จเปิดขึ้นในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ก่อให้เกิดความตื่อนเต้นในสังคมไทยในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา ดดยเฉพาะความคาดหวังจากความเสรีในการนำเข้าส่งออกสินค้า การลงทุนและการเคลื่อนย้ายแรงงาน ดังนัน หลายภาคส่วนจึงประโคมข่าว จัดกิจกรรมทที่คิดว่าเป็นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน อาทิ จัดสัมมนาที่ใช้ช่อเกี่ยวกับอาเซียนบ่อยครั้ง (แม้เนื้อหาอาจไม่เกี่ยวนัก) มีการประดับธงชาติอาเวียนตามสถานศึกษาและหน่วยราชาการต่างๆ มีการปรับหลักสูตรไส่เนื้อหาอาเซียนในการศึกษาแทบทุกระดับ มีการฝึกพูดคำทักทายในภาษาชาติอาเซียน ท่องจำดอกไม้ประจำชาติ เรียกว่า "กระแสอาเซียน" มาแรงมาก
การที่สังคมไทน "ออกตัวแรง" กับประชาคมอาเซียนนนี้ น่าจะสร้างความผิดหวัง(อกหัก) ในหมู่คนไทยบที่มีความคาดหวังต่ออาเซียนมากเพราะเอาเข้าจริง เมื่อเปิดอาเซยนจะม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงมากอย่างที่คาดหวัง ทั้งนี้เป็นเพราะสังคมไทยมีสมมุติฐานความเข้าใจต่อประชาคมอาเซียนคลาดเคลื่่นจากความเป็นจริงไปหลายประการ
- ประการแรก ชาวไทยจำนวนมากเข้าใจว่า เมื่อเปิดประชาคมอาเซียนจะมีการเปิดชายแดนให้มีการเดินทางไปมาหาสู่กันโดยเสรี ประหนึ่งเหมือนสหภพยุโรป ที่เดินทางข้ามประเทศกันได้ โดยไม่ต้องผ่านด่านตรวจพาสปอร์ตและวีซ่าหรือหากไม่ถึงขนาดนั้น ก็เชื่อว่าจะมีความเสรีมากในการเดินทางข้ามประเทศในอาเซียน ดังนั้นจึงมักพูดกันเสมอว่า เมื่อเปิดประชาคมอาเซ๊ยนแล้ว แรงงานจากชาติเพื่อนบ้าน อย่างพม่า ลาว กัมพูชา จะทะลักเข้ามาทำงานเป็นจำนวนมาก
แต่ในความเป็นจริง หาได้เป็นเชนนันไม่ แรงงานเพื่อนบ้านอาเซียนได้เข้ามาทำงานในไทยราว 30 ปีมาแล้ว ตั้เงแต่ประเทศเหล่านี้ยังไม่ได้เป็นสมาชิกอาเว๊ยน้วยซ้ ทั้งนี้ก็เพราะการขาดแคลนแรงงานที่คนไทยไม่ประสงค์ทำ เช่น ประมง ก่อสร้าง แม่บ้าน และบางอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานหนาแน่น ในขณะที่แรงงานเพื่อบ้านก็ประสงค์มาทำงานที่รายได้าูงหว่าที่ประเทศของเขา อันเป็ฯไปตามหลักอุปสงค์-อุปทานของกลไกตลาด แม้ว่า แรงงานส่วนใหญ่จะเข้ามาอย่างผิดกฎหมายก็ตาม กล่วให้ถึงที่สุด ไม่ว่าจะมีประชาคมอเวียนหรือไม่ แรงงานเพื่อนบ้านก็มาทำงานในไทยอยุ่ดี
ทั้งนี้ อาเซียนไม่เคยตกลงกันว่าจะให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงานทักษะต่ำโดยเสรีแต่อย่างใด อักทั้งในปัจจุบัน ไทยมีแรงงานต่างชาติหล่านี้ที่จดทะเบียนราว 2.5 ล้านคน รวมกับที่ไม่ได้จดทะเบียน น่่จะรวมแล้วเกิน 3 ล้านคน ซึ่งเป็ฯจำนวนที่มากอยู่แล้ว จึงยังไม่มีแนวโน้มว่าจะมีแรงงานเข้ามาเพิ่มเติมมากนัก เนื่องจากเศราฐกิจไทยยังมีอัตราการเจริญเติบโตไม่สูงด้วย
ประการที่สอง ชาวไทยจำนวนมากเข้าใจว่า ประชาคมอาเซียนจะมีความเสรีมากในลักษณะใกล้เคียงกับ EU แต่ในความเป็นจริง อาเซียนยังมีข้อจำกัดมากมายเร่ิมจากด้านสินค้ายังมีสินคั้าอ่อนไหวหลายรายการที่ภาษียังไม่เป็นศูนย์ และมีมาตรการกีดกันอื่นๆ เช่นมาตรฐานสินค้าและสุขอนามัย ที่สำคัญ AFTA หรือเขตกรต้าเสรีอาเซียนได้เสร็จอาเซียนได้เสร็จสมบูรณ์แล้ว ตั้งแต่ต้นปี 2553 ในหมู่ 6 ชาติสมาชิกอาเซียนเดิม คือ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และบรูไน กซึ่งก็ยังไม่ปรากฎว่ามสินค้าจากชาติอาเซียนทะลักเข้าไทยมากนัก กลับเป็นสินค้าจีนเสียอีกที่เข้ามามากก
ด้านแรงงาน อาเซียนได้ตกลงกันเพียงให้มี "การอำนวยความสะดวำ" ในการเคลื่อนย้ายแรงงานทักษะสูง 8 อาชีพ คือ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล วิสซกร สถาปนิก ช่าวสำรวจ นักบัญชี และอาชีพที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว ซึ่งยังไม่ใช่การเปิดเสร เพราะยังต้องไปสอบไบอนุญาตประกอบวิชาชีพที่ประเทศที่ประสงค์จะไปทำงานทั้งขอเขียนและสัมภาษณ์ในภาษาของเข ทำให้เป็นไปได้ยากที่จะมีการเคลื่อนย้าย นอกจากนั้น ยัะงจะมีอุปสรรคโดยธรรมชาติในเรื่องของภาษาในการสื่อสาร เช่น ระหว่างแพทย์กับคนไข้ ซึ่งก็จะทำให้นักวิชาชีพจากชาติอาเวยนอื่นเข้ามาทำงานในไทยได้ยากเช่นกัน
การเคลื่อยยย้านแรงงานทักษะสูงที่จะเป้ฯไปได้ จะเป้ฯการเคลื่อยย้ายที่ไปพร้อมกับการลงทุนของธรกิจไทยมากกว่า เช่น ในกิจการก่อสร้าง โรงแรม ดรงพยาบาลหรือคลินิคในประเทศอาเซียน ที่มักจะนำนักวิชาชีพไทยไปทำงานด้วย
ด้านการลงทุน อาเซียนตกลงกันให้ะูรกิจจาชาติอาเซียนสามารถลงทุนในชาติอาเซียนอื่นได้ แม้แต่ในภาคลริการ ดดยสามารถือหุ้นได้สุง 70% ซึ่งยังไม่ถึง 100% อีกทั้งบางชาติสมาชิกยังไม่ได้แก้กฎหมายภายในที่จะอนุญาตดังกล่าว เท่าที่ผ่านมา จึงมักมีการใช้นอมินีคนชาติที่จะไปลงุทนเป็นผุ้ถือหุ้นแทน ซึ่งเป็นเจ้าของทุนแต่เพียงในนาม
ทั้งนี้ ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน เกิดจากความสับนระหว่างอาเซียน "ตามข้อตกลงของรัฐ" กับอาเซียน "ตามกลไกตลาด" โดยมักจะเข้าใจกันว่า เมื่อเปิดประชาคมอารเซียนตามข้อตกลงของชาติอาเซียนใปลายปี 2558 แล้ว ความเสรีและธุรกรรมทางเศราฐกิจจะเพ่ิมขึ้นอย่างอัตโนมัติ ซึ่งที่จริง เป็นเพียงเดดไลน์ที่กำหนดให้รัฐสมาชิกปรับแก้กฎข้อบังคับต่างๆ ให้เสร็จสิ้น และให้มีมาตรการอำนวยความสะดวกต่างๆ ซึ่งเป็นไปได้ว่า บางชาติอาจไม่สามารถดำไเนินการบางอย่างได้ทัน หรือไมสมบูรณ์ เช่น การแก้กฎหมายภายในเพื่อนุญาติการลงทุน การอำนวยความสะดวกแบบ ซิงเกิล วินโดว์ และก้ไม่ได้กมายความว่า แม้ดำเนินการได้แล้ว จะเกิดความเสรีหรือการเคลื่อนย้ายขึ้นมากจริง ทั้งนี้ เพราะจะขึนอยู่กับกลไกตลาดเป็นสำคัญ โดยข้อตกลงอาเซียนอาจช่วยอำนวยความสะดวกได้บ้างเท่านั้น...
"บทความชิ้นนี้เผยแพร่ครั้งแรกใน กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 23 ธันวาคม 2558"
- aseanwatch/../อกหักจากอาเซียน/...
ประชาคมอาเซียมี่ว่ากันวา จเปิดขึ้นในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ก่อให้เกิดความตื่อนเต้นในสังคมไทยในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา ดดยเฉพาะความคาดหวังจากความเสรีในการนำเข้าส่งออกสินค้า การลงทุนและการเคลื่อนย้ายแรงงาน ดังนัน หลายภาคส่วนจึงประโคมข่าว จัดกิจกรรมทที่คิดว่าเป็นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน อาทิ จัดสัมมนาที่ใช้ช่อเกี่ยวกับอาเซียนบ่อยครั้ง (แม้เนื้อหาอาจไม่เกี่ยวนัก) มีการประดับธงชาติอาเวียนตามสถานศึกษาและหน่วยราชาการต่างๆ มีการปรับหลักสูตรไส่เนื้อหาอาเซียนในการศึกษาแทบทุกระดับ มีการฝึกพูดคำทักทายในภาษาชาติอาเซียน ท่องจำดอกไม้ประจำชาติ เรียกว่า "กระแสอาเซียน" มาแรงมาก
การที่สังคมไทน "ออกตัวแรง" กับประชาคมอาเซียนนนี้ น่าจะสร้างความผิดหวัง(อกหัก) ในหมู่คนไทยบที่มีความคาดหวังต่ออาเซียนมากเพราะเอาเข้าจริง เมื่อเปิดอาเซยนจะม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงมากอย่างที่คาดหวัง ทั้งนี้เป็นเพราะสังคมไทยมีสมมุติฐานความเข้าใจต่อประชาคมอาเซียนคลาดเคลื่่นจากความเป็นจริงไปหลายประการ
- ประการแรก ชาวไทยจำนวนมากเข้าใจว่า เมื่อเปิดประชาคมอาเซียนจะมีการเปิดชายแดนให้มีการเดินทางไปมาหาสู่กันโดยเสรี ประหนึ่งเหมือนสหภพยุโรป ที่เดินทางข้ามประเทศกันได้ โดยไม่ต้องผ่านด่านตรวจพาสปอร์ตและวีซ่าหรือหากไม่ถึงขนาดนั้น ก็เชื่อว่าจะมีความเสรีมากในการเดินทางข้ามประเทศในอาเซียน ดังนั้นจึงมักพูดกันเสมอว่า เมื่อเปิดประชาคมอาเซ๊ยนแล้ว แรงงานจากชาติเพื่อนบ้าน อย่างพม่า ลาว กัมพูชา จะทะลักเข้ามาทำงานเป็นจำนวนมาก
แต่ในความเป็นจริง หาได้เป็นเชนนันไม่ แรงงานเพื่อนบ้านอาเซียนได้เข้ามาทำงานในไทยราว 30 ปีมาแล้ว ตั้เงแต่ประเทศเหล่านี้ยังไม่ได้เป็นสมาชิกอาเว๊ยน้วยซ้ ทั้งนี้ก็เพราะการขาดแคลนแรงงานที่คนไทยไม่ประสงค์ทำ เช่น ประมง ก่อสร้าง แม่บ้าน และบางอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานหนาแน่น ในขณะที่แรงงานเพื่อบ้านก็ประสงค์มาทำงานที่รายได้าูงหว่าที่ประเทศของเขา อันเป็ฯไปตามหลักอุปสงค์-อุปทานของกลไกตลาด แม้ว่า แรงงานส่วนใหญ่จะเข้ามาอย่างผิดกฎหมายก็ตาม กล่วให้ถึงที่สุด ไม่ว่าจะมีประชาคมอเวียนหรือไม่ แรงงานเพื่อนบ้านก็มาทำงานในไทยอยุ่ดี
ทั้งนี้ อาเซียนไม่เคยตกลงกันว่าจะให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงานทักษะต่ำโดยเสรีแต่อย่างใด อักทั้งในปัจจุบัน ไทยมีแรงงานต่างชาติหล่านี้ที่จดทะเบียนราว 2.5 ล้านคน รวมกับที่ไม่ได้จดทะเบียน น่่จะรวมแล้วเกิน 3 ล้านคน ซึ่งเป็ฯจำนวนที่มากอยู่แล้ว จึงยังไม่มีแนวโน้มว่าจะมีแรงงานเข้ามาเพิ่มเติมมากนัก เนื่องจากเศราฐกิจไทยยังมีอัตราการเจริญเติบโตไม่สูงด้วย
ประการที่สอง ชาวไทยจำนวนมากเข้าใจว่า ประชาคมอาเซียนจะมีความเสรีมากในลักษณะใกล้เคียงกับ EU แต่ในความเป็นจริง อาเซียนยังมีข้อจำกัดมากมายเร่ิมจากด้านสินค้ายังมีสินคั้าอ่อนไหวหลายรายการที่ภาษียังไม่เป็นศูนย์ และมีมาตรการกีดกันอื่นๆ เช่นมาตรฐานสินค้าและสุขอนามัย ที่สำคัญ AFTA หรือเขตกรต้าเสรีอาเซียนได้เสร็จอาเซียนได้เสร็จสมบูรณ์แล้ว ตั้งแต่ต้นปี 2553 ในหมู่ 6 ชาติสมาชิกอาเซียนเดิม คือ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และบรูไน กซึ่งก็ยังไม่ปรากฎว่ามสินค้าจากชาติอาเซียนทะลักเข้าไทยมากนัก กลับเป็นสินค้าจีนเสียอีกที่เข้ามามากก
ด้านแรงงาน อาเซียนได้ตกลงกันเพียงให้มี "การอำนวยความสะดวำ" ในการเคลื่อนย้ายแรงงานทักษะสูง 8 อาชีพ คือ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล วิสซกร สถาปนิก ช่าวสำรวจ นักบัญชี และอาชีพที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว ซึ่งยังไม่ใช่การเปิดเสร เพราะยังต้องไปสอบไบอนุญาตประกอบวิชาชีพที่ประเทศที่ประสงค์จะไปทำงานทั้งขอเขียนและสัมภาษณ์ในภาษาของเข ทำให้เป็นไปได้ยากที่จะมีการเคลื่อนย้าย นอกจากนั้น ยัะงจะมีอุปสรรคโดยธรรมชาติในเรื่องของภาษาในการสื่อสาร เช่น ระหว่างแพทย์กับคนไข้ ซึ่งก็จะทำให้นักวิชาชีพจากชาติอาเวยนอื่นเข้ามาทำงานในไทยได้ยากเช่นกัน
การเคลื่อยยย้านแรงงานทักษะสูงที่จะเป้ฯไปได้ จะเป้ฯการเคลื่อยย้ายที่ไปพร้อมกับการลงทุนของธรกิจไทยมากกว่า เช่น ในกิจการก่อสร้าง โรงแรม ดรงพยาบาลหรือคลินิคในประเทศอาเซียน ที่มักจะนำนักวิชาชีพไทยไปทำงานด้วย
ด้านการลงทุน อาเซียนตกลงกันให้ะูรกิจจาชาติอาเซียนสามารถลงทุนในชาติอาเซียนอื่นได้ แม้แต่ในภาคลริการ ดดยสามารถือหุ้นได้สุง 70% ซึ่งยังไม่ถึง 100% อีกทั้งบางชาติสมาชิกยังไม่ได้แก้กฎหมายภายในที่จะอนุญาตดังกล่าว เท่าที่ผ่านมา จึงมักมีการใช้นอมินีคนชาติที่จะไปลงุทนเป็นผุ้ถือหุ้นแทน ซึ่งเป็นเจ้าของทุนแต่เพียงในนาม
ทั้งนี้ ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน เกิดจากความสับนระหว่างอาเซียน "ตามข้อตกลงของรัฐ" กับอาเซียน "ตามกลไกตลาด" โดยมักจะเข้าใจกันว่า เมื่อเปิดประชาคมอารเซียนตามข้อตกลงของชาติอาเซียนใปลายปี 2558 แล้ว ความเสรีและธุรกรรมทางเศราฐกิจจะเพ่ิมขึ้นอย่างอัตโนมัติ ซึ่งที่จริง เป็นเพียงเดดไลน์ที่กำหนดให้รัฐสมาชิกปรับแก้กฎข้อบังคับต่างๆ ให้เสร็จสิ้น และให้มีมาตรการอำนวยความสะดวกต่างๆ ซึ่งเป็นไปได้ว่า บางชาติอาจไม่สามารถดำไเนินการบางอย่างได้ทัน หรือไมสมบูรณ์ เช่น การแก้กฎหมายภายในเพื่อนุญาติการลงทุน การอำนวยความสะดวกแบบ ซิงเกิล วินโดว์ และก้ไม่ได้กมายความว่า แม้ดำเนินการได้แล้ว จะเกิดความเสรีหรือการเคลื่อนย้ายขึ้นมากจริง ทั้งนี้ เพราะจะขึนอยู่กับกลไกตลาดเป็นสำคัญ โดยข้อตกลงอาเซียนอาจช่วยอำนวยความสะดวกได้บ้างเท่านั้น...
"บทความชิ้นนี้เผยแพร่ครั้งแรกใน กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 23 ธันวาคม 2558"
- aseanwatch/../อกหักจากอาเซียน/...
วันจันทร์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
East Asia 2016
วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559 สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ร่วมกับคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดสัมมนาประจำปี "เอเชียตะวันออกในปี 2016" ณ ห้องสัมนากลาง สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รังสิต
ปาฐกถาเกียรติยศจาก รศ.ดร. จุลชีพ ชินวรรโณ กีรติยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แล่าวถึงความสำคัญของภูมิภาคอเมิรกาที่ถอถอยอำนาจลงไป แม้ว่าสิ้นสุดสงครามเย็นสหรัฐอเมริกาได้เป็นอภิมหาอำนาจโลกอันสามารถกำหนดวาระความเป็นไปทางการเมืองโลกจนนำสู่เหตุการณ์ 911 ที่นำสหรัฐอเมริกาสู่สงครามต่อต้านการก่อการร้าย ส่งผลให้เกิดปัญหาเศราฐกิจตามมาเหนื่องจากรายจ่ายในการสงคราม และการให้ความสนใจภูมิภาคตะวันออกกลางในสงครามต่อต้านการก่อการร้ายทำให้อิทธิพลของสหรัฐอเมริกาในเอเชียตะวันออกถดถอยลงไป ทำให้จีนมามีอิทธิพล ดดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านเศราฐกิจที่จีนมีการพัฒนามาโดยตลอดทำให้การทหารของจีนมีการขยายตัวไปด้วยนับตั้งแต่ปี 1995 เป็นต้นมา
นอกจานี้ จีนยังได้ใช้อำนาจสังคมหรือ Soft Power ในการขยายอำนาจของตน อาทิ กาเปิดสถาบันขงจื้อ การสอนภาษาจนผ่านอาเสาสมัคร และการเดินทางท่องเที่ยวและลงทุนใไปทั่วดลกของชาวจีนแสดงถึงอำนาจของจีนที่ขยายตัวไปทั่วดลก ขณะเดียงกัน ในภูมิภาคก็มีการแข่งขันระหว่างจีนกับญี่ปุ่นที่ทั้งสองกลายเป็นมหาอำนาจพร้อมกนเป็นครั้งแรก
ในช่วงเสวนาและอภิปราย เอเชียตะวันออก 2016 มีวิทยากร คือ ศ.ดร. ไชยวัฒน์ ค้ำชู รศ. ดร. นภดล ชาติประเสริฐ ผศ. ดร. กิตติ ประเสิรฐสุข ดำเนินรายการดย ผศ.ดร. สนุตา อรุณพิพัฒน์
เริ่มที่ ศ.ดร. ไชยวัฒน์ ค้ำชู ได้ชี้ว่า การที่จีนและญี่ป่นุเป็นมหาอำนาจพร้อมกันในปัจจุบันส่งผลต่อสถาปัตยกรรมความมั่นคงเอเชียตะวันออกจุดเปลี่ยนที่สำคัญคือการที่จีนก้าวขึ้นเป็นอันดับที่ 2 ของเศราฐกิจโลกแทนญี่ปุ่นได้ในปี 2010 ทำให้นโยบายของนายกชิโซ อาเบะ มีความต้องการแก้ปขมาตรา 9 ของรัฐธรรมนูญ แม้จะแก้ไขไม่ได้แต่ตีความใหม่ได้สำเร็จ ในการป้องกับประเทศอื่น เมื่อพันธมิตรของวญี่ป่นุถูกโจมตีและมีผลต่อี่ป่นุส่งผลให้บทบาทความมั่นคงจะเพิ่มมากขึ้น
เป็นที่น่าสังเกตว่าพัฒนาการของญี่ปุ่นตั้งแต่นายกรัฐมนตรี บิโซ อาเบะ ที่มีท่าที่ความมั่นคงเปล่ยนแปลงไปจากเิดมคงกำลังพลส่วนใหฐญ่ของประเทศที่ภาคเหนือ แต่ในปี 2013 เป็นต้นมามีการขยายไปที่ภาคตะวันตกเฉียงใต้ใกล้กับโอกินาวา ซึ่งเป็นการให้ความสำคัญกับความมั่นใจต่อจีนมากขึ้นฃ
นอกจานี้แนวคิดทางด้านความมั่นคงของญ่ป่นุมีบทบาทอย่างยิ่งในการเสริมาน้างสันภาพตามขีนความสามารถของประเทศญี่ปุ่นสอิดรับกับนโยบายปักหมุดเอเชียของสหรัฐอเมริกา และมีความพายามดึงเกาหลีใต้ให้เข้าร่วมกับสหรัฐในการถ่วงดุลอำนาจกับจีนอีกแรงหนึ่ง
สำหรับปี 2016 นี้ ศ.ดร. ไชยวัตน์ ค้ำชู กว่างว่า ตัวแปรของเอเชียตะวันออกอยุ่ที่ 3 ประเทศมหาอำนาจ คือ จีน ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริการ ดดยชีให้เห็นในภาพรวมของความสัมพันะ์ระหว่างประเทศในศตวรรษที่ 21 ว่าเป้ฯสันติภาพภายใต้ระบบเศรษฐกิจ ๙ึ่งชาติมหาอำนาจต่างพึงพาแาศัยกันทางเศราฐกิจอย่างซับซ้อน มีความผูกพันทางด้านผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน ดังนั้นความขัดแย้งจะสงผลตอเศราฐกิจของชาติมหาอำนาจซึงจะไม่เป็นผลดี
ส่วนที่เกาหลีใต้ ชู รศ.ดร.นภดล ชาติประเสริฐ กล่าวถึงสภาพการณ์ของเกาหลีใต้ในบริบทโลกปี 2015ว่าแนวคิดความมั่นคงของญุ่่่ปนท่เปลี่ยนแปลงไป กับอิทธิพลของจีน เกาหลีใต้ภายใต้การนำของประธานาธิบิีปาร์ค กึน เฮ ยังคงมีแนวทางความมั่นคงหลักใกลชิดสหรัฐอเมริกา ความสัมพันธ์กับเกาหลีเหนือมีความเปลี่ยนแลปงจานโยบาย ซันชายด์ ที่ได้นำมาใช้ตั้งแต่สมัยปรธานาธิบดีคิม แต จุง สู่นโยบายที่มีความแข็งกร้าวมากขึ้น พร้อมกันี้ยังได้มีการเดินคามสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนในการกดดันเกาหลีเหนือ ดดยมีการพบกันระหว่างผู้นำทั้ง 2 ประเทศ 6 คั้งนับตั้งแต่นางปาร์คดำรงตำแหน่ง ต่างจากเกาหลีเหนือภายใต้ผุ้นำคนปัจจุบันที่ยังไม่มีการพบกับผุ้นำจีนนบตั้งแต่ขึ้นสู่อำนาจ
ส่วนปัญหาที่นากังวลของเกาหลีใต้ในปี 2015 ที่ผ่านมาคือปัญหาเศราฐกิจที่เป็นผลจากโครงสร้างเศราฐกิจโลก คู่ค้าหลักของเกาหลีใต้มีความถดถอยชะลอตัว และการแพร่ระบาดของไข้หวัดเมิอร์สก็มีผลต่อเศราฐกจของเกาหลีใต้อย่างไรก็ดี ได้มีการแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างด้วยการผลิตในภาคส่วนใหม่ๆ เช่น เทคโนโยโลยีะอาด พลังงานทงเลอกที่เป็ฯมติรต่อสิ่งแวดล้อมพร้อมกันยังได้มีการเร่งรัดส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม SME ทั่วประเทศ ตลอดจนการใช้การูตเพื่อการต้าเป็นจุดเด่นของนางปาร์คเพราะได้มีการเดินทางเือนต่างประเทศกว่า 30 ครั้งตลอดการดำรงตำแหน่ง 3 ปี ซึ่งเป้นประธานาะิบดีที่เดินทางมากที่สุดของเกาหลีใต้
ส่วนในปี 2016 แม้ในภาพใหญ่โลกจะมีการพึ่งพาอยางซับซ้อน แต่ใรระดับจุลภาคผลประโยชนของชาติมีความหลากหลายนำสู่ความขัดแย้งได้เช่นกัน ในกรณีเปิดเขตอุตสาหกรรมแคซองซึ่งถือว่าเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญเพราะเป็นการสิ้นสุดนโยบาย ซันชายด์ และการปิดดังกล่วหาได้เ็นแันทามติในสงคมเกาหลี แต่ได้มีการวิเคราะห์กันว่าได้รับความเห็นชอบและมีการปรึกษาหารือกับสหรัฐอเมริกา หลังจากเกาหลีเหนือได้ทดลองระเบิดนิวเคลียร์ซึ่งเป้นการทดลองครั้งที่ 4 อย่างไรก็ตามความตึงเครียดในคาบสมุทรเกาหลี ทีปะทุขึ้นด้วยความระแวงของกาหลีเหนือที่มองการซ้อมรบระหว่างหสรัฐอเมริกากับเกาหลีได้เป็นภัยคุกคามประเทศตน
การดึงประเด็นในคาบสมุทรเกาหลีให้เป็ฯประเด็นระดับโลกสวนหนึ่งเพื่อเป็นการผลักภาระให้จนเข้ามาจัดการกับปัญหานิวเคลียร์ของเกาลี่เหนือ พร้อมกันทางเกาหลีได้เดินการทูตที่แข็งกร้้าวด้วยพยยามขยายความร่วมมือด้านเทคโนดลยีป้องกันขีปนาวุธกับหรัฐอเมริกา ซึ่งเทคโนโลยีนี้หากนำเข้ามาสู่เกาหลีใต้จะลดทอนอำนาจการทหารของจีนในการป้องกันประเทศ
สำหรับอาเซียน ผศ.ดร. กิตติ ประเสริฐสุข ได้ชี้ว่าการเข้าุ่ประชาคมอาเซียนเม่อสิ้นปี 2015 ได้นำสู่ภาวะ "อกหักจากอาเซียน" ที่ความคาดหวังจากอาเวียนจะก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด แต่ความเป้ฯจริงไมได้เปลียแปลงอะไรมากนัก ความคาดหวังดังกล่วเป้นผลจากายาคติของสังคมไทยที่มีตค่ออาเซีนว่าเป้ฯดั่งสหภาพยุโรปที่จะมีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีทั้งในแรงงานต่างๆ ซึงความจริงยังม่อุปสรรคอยู่และการเะดินทางยังไม่เสรี ส่วนที่สังคมไทยตื่อนตัวกับ AEC เกรงว่าสินค้าของเพือย้านอาเซียนจะทะลักเข้าสู่ประเทศว่าความเป้ฯจริงสินค้าจีนต่างหากที่เข้ามามาก ส่วนความกังวลว่าแรงงานเข้าชาติจะเข้าพบว่าปัจจุบันมีจำนวนกว่า 2 ล้านคนที่ลงทะเบียนอยู่ในประเทศ
ความสำเร็จของอาเวียนมี่ประากฎให้เห็นคือประเทศ CLMV ลดภาษีร้อยละ 90 จนถึงปี 2018 จะปลดภาษี ซิงเก้อวินโดว์ ได้มีก้าวสุ่ระดับหนึ่งแล้ว ึค่งเป็นการเร่ิมตั้งแต่ปี 2008 ส่วนด้านการเดินทางภายในอาเซียนได้มีการยกเลิก VISA ผ่านแดนในเมียนมา กัมพูชา ได้ยกเลิกมา 4 ปีแล้วนอกจากนี้การตื่นตัวต่ออาเซียนทำให้คนไทยมีทัศนะคติทางบวกต่อชาติเพื่อนบ้านอาเซียน ตลอดทั้งการเตรียมความพร้อมของหน่วยงานราชาการ ท้องถ่ินต่างๆ ในการเข้าสุ่ประชาคมอาเซ๊ยนอีกด้วย
ขณะที่เครื่องมือติดตามวัดผลการดำเนินงานระดับภูมิภาค ชีัว่าได้ดำเนินการไปถึงร้อยละ 97 เป็นการประเมินที่วัดจากการมีมาตรการเท่านัน แต่ไม่ได้ดูผลลัพธ์
สวนในปี 2016 นี้ประเทศลาวที่เป็นประธานได้ภายใต้แนวคิด Turning vision to Reality Dynamic การบูรณาการในระดับสุง การขยายความร่วมมือหลายสาขาต่างๆ ะท้อนว่าอาเวียนยังคงเดินหน้าต่อไป ขณะที่ปี 2016 ชาติสมาชิกอาเซียน
ผศ.ดร.กิตติ ประเมินประเด็นที่ชาติสมาชิกอาเซียนต้องเผชิญร่วมกันคือ 1. พื้นที่ประชุาธิปไตยที่ขยายตัวและการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองอย่างเมียนมาบทบาทท่าที่ของพรรค NLD ต่ออาเซียนต้องปรับเปลี่ยนไปเพราะพรรค NLD ยังคงกังขาต่ออาเว๊ยนนช่วงที่รัฐบาลทหารเมียนมาปกคอง การเลือกตั้งในฟิลิปปินส์ที่จะมีขึ้นในปลายปีนี้ ส่วนเวียดนามและลาวล่าสุดมีการเปลี่ยนผุ้นำที่ยังคงมีความสัมพันธ์อันดีกับจีน สวนความหลากหลายทางเพศได้เป็นที่ตื่นตัวในชาติอาเซ๊ยนมากขึ้น 2. การ่ก่อการร้ายของกลุ่มรัฐอิสลาม IS เป็นประเด็นที่น่าจับตาในการเข้ามาปฏิบัติในภุมิภาค 3. ด้านแรงงานและการต้ามนุษย์ มีการเรียกร้องคุณภาพชีวิตแรงานลาสุดในกัมพูชา และเมียนมามีการขึ้นค่าแรงขึ้นต่ำ ส่วนการค้ามนุษย์ประเด็นโรฮีจายังคงเป็นปัญหาร่วมอาเว๊ยน 4 ด้านภัยพิบัติไฟป่าและหมอกควันข้ามชาติ การบังคับใช้กฎหมายของประเทศที่เกี่ยวข้องกับปัญหาหมากควันในการจัดการกับปัญหาดังกล่ว 5 . ทะเลจีนใต้ ประเ็นที่ชาติสมาชิกอาเซียนต้องจักการกับความสัมพันธ์กับชาติมหาอำนาจที่เข้ามามีอิทธิพลต่อภูมิภาค
- aseanwatch/..การสัมนา-เอชียตะวันออกในปี 2016
ปาฐกถาเกียรติยศจาก รศ.ดร. จุลชีพ ชินวรรโณ กีรติยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แล่าวถึงความสำคัญของภูมิภาคอเมิรกาที่ถอถอยอำนาจลงไป แม้ว่าสิ้นสุดสงครามเย็นสหรัฐอเมริกาได้เป็นอภิมหาอำนาจโลกอันสามารถกำหนดวาระความเป็นไปทางการเมืองโลกจนนำสู่เหตุการณ์ 911 ที่นำสหรัฐอเมริกาสู่สงครามต่อต้านการก่อการร้าย ส่งผลให้เกิดปัญหาเศราฐกิจตามมาเหนื่องจากรายจ่ายในการสงคราม และการให้ความสนใจภูมิภาคตะวันออกกลางในสงครามต่อต้านการก่อการร้ายทำให้อิทธิพลของสหรัฐอเมริกาในเอเชียตะวันออกถดถอยลงไป ทำให้จีนมามีอิทธิพล ดดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านเศราฐกิจที่จีนมีการพัฒนามาโดยตลอดทำให้การทหารของจีนมีการขยายตัวไปด้วยนับตั้งแต่ปี 1995 เป็นต้นมา
นอกจานี้ จีนยังได้ใช้อำนาจสังคมหรือ Soft Power ในการขยายอำนาจของตน อาทิ กาเปิดสถาบันขงจื้อ การสอนภาษาจนผ่านอาเสาสมัคร และการเดินทางท่องเที่ยวและลงทุนใไปทั่วดลกของชาวจีนแสดงถึงอำนาจของจีนที่ขยายตัวไปทั่วดลก ขณะเดียงกัน ในภูมิภาคก็มีการแข่งขันระหว่างจีนกับญี่ปุ่นที่ทั้งสองกลายเป็นมหาอำนาจพร้อมกนเป็นครั้งแรก
ในช่วงเสวนาและอภิปราย เอเชียตะวันออก 2016 มีวิทยากร คือ ศ.ดร. ไชยวัฒน์ ค้ำชู รศ. ดร. นภดล ชาติประเสริฐ ผศ. ดร. กิตติ ประเสิรฐสุข ดำเนินรายการดย ผศ.ดร. สนุตา อรุณพิพัฒน์
เริ่มที่ ศ.ดร. ไชยวัฒน์ ค้ำชู ได้ชี้ว่า การที่จีนและญี่ป่นุเป็นมหาอำนาจพร้อมกันในปัจจุบันส่งผลต่อสถาปัตยกรรมความมั่นคงเอเชียตะวันออกจุดเปลี่ยนที่สำคัญคือการที่จีนก้าวขึ้นเป็นอันดับที่ 2 ของเศราฐกิจโลกแทนญี่ปุ่นได้ในปี 2010 ทำให้นโยบายของนายกชิโซ อาเบะ มีความต้องการแก้ปขมาตรา 9 ของรัฐธรรมนูญ แม้จะแก้ไขไม่ได้แต่ตีความใหม่ได้สำเร็จ ในการป้องกับประเทศอื่น เมื่อพันธมิตรของวญี่ป่นุถูกโจมตีและมีผลต่อี่ป่นุส่งผลให้บทบาทความมั่นคงจะเพิ่มมากขึ้น
เป็นที่น่าสังเกตว่าพัฒนาการของญี่ปุ่นตั้งแต่นายกรัฐมนตรี บิโซ อาเบะ ที่มีท่าที่ความมั่นคงเปล่ยนแปลงไปจากเิดมคงกำลังพลส่วนใหฐญ่ของประเทศที่ภาคเหนือ แต่ในปี 2013 เป็นต้นมามีการขยายไปที่ภาคตะวันตกเฉียงใต้ใกล้กับโอกินาวา ซึ่งเป็นการให้ความสำคัญกับความมั่นใจต่อจีนมากขึ้นฃ
นอกจานี้แนวคิดทางด้านความมั่นคงของญ่ป่นุมีบทบาทอย่างยิ่งในการเสริมาน้างสันภาพตามขีนความสามารถของประเทศญี่ปุ่นสอิดรับกับนโยบายปักหมุดเอเชียของสหรัฐอเมริกา และมีความพายามดึงเกาหลีใต้ให้เข้าร่วมกับสหรัฐในการถ่วงดุลอำนาจกับจีนอีกแรงหนึ่ง
สำหรับปี 2016 นี้ ศ.ดร. ไชยวัตน์ ค้ำชู กว่างว่า ตัวแปรของเอเชียตะวันออกอยุ่ที่ 3 ประเทศมหาอำนาจ คือ จีน ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริการ ดดยชีให้เห็นในภาพรวมของความสัมพันะ์ระหว่างประเทศในศตวรรษที่ 21 ว่าเป้ฯสันติภาพภายใต้ระบบเศรษฐกิจ ๙ึ่งชาติมหาอำนาจต่างพึงพาแาศัยกันทางเศราฐกิจอย่างซับซ้อน มีความผูกพันทางด้านผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน ดังนั้นความขัดแย้งจะสงผลตอเศราฐกิจของชาติมหาอำนาจซึงจะไม่เป็นผลดี
ส่วนที่เกาหลีใต้ ชู รศ.ดร.นภดล ชาติประเสริฐ กล่าวถึงสภาพการณ์ของเกาหลีใต้ในบริบทโลกปี 2015ว่าแนวคิดความมั่นคงของญุ่่่ปนท่เปลี่ยนแปลงไป กับอิทธิพลของจีน เกาหลีใต้ภายใต้การนำของประธานาธิบิีปาร์ค กึน เฮ ยังคงมีแนวทางความมั่นคงหลักใกลชิดสหรัฐอเมริกา ความสัมพันธ์กับเกาหลีเหนือมีความเปลี่ยนแลปงจานโยบาย ซันชายด์ ที่ได้นำมาใช้ตั้งแต่สมัยปรธานาธิบดีคิม แต จุง สู่นโยบายที่มีความแข็งกร้าวมากขึ้น พร้อมกันี้ยังได้มีการเดินคามสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนในการกดดันเกาหลีเหนือ ดดยมีการพบกันระหว่างผู้นำทั้ง 2 ประเทศ 6 คั้งนับตั้งแต่นางปาร์คดำรงตำแหน่ง ต่างจากเกาหลีเหนือภายใต้ผุ้นำคนปัจจุบันที่ยังไม่มีการพบกับผุ้นำจีนนบตั้งแต่ขึ้นสู่อำนาจ
ส่วนปัญหาที่นากังวลของเกาหลีใต้ในปี 2015 ที่ผ่านมาคือปัญหาเศราฐกิจที่เป็นผลจากโครงสร้างเศราฐกิจโลก คู่ค้าหลักของเกาหลีใต้มีความถดถอยชะลอตัว และการแพร่ระบาดของไข้หวัดเมิอร์สก็มีผลต่อเศราฐกจของเกาหลีใต้อย่างไรก็ดี ได้มีการแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างด้วยการผลิตในภาคส่วนใหม่ๆ เช่น เทคโนโยโลยีะอาด พลังงานทงเลอกที่เป็ฯมติรต่อสิ่งแวดล้อมพร้อมกันยังได้มีการเร่งรัดส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม SME ทั่วประเทศ ตลอดจนการใช้การูตเพื่อการต้าเป็นจุดเด่นของนางปาร์คเพราะได้มีการเดินทางเือนต่างประเทศกว่า 30 ครั้งตลอดการดำรงตำแหน่ง 3 ปี ซึ่งเป้นประธานาะิบดีที่เดินทางมากที่สุดของเกาหลีใต้
ส่วนในปี 2016 แม้ในภาพใหญ่โลกจะมีการพึ่งพาอยางซับซ้อน แต่ใรระดับจุลภาคผลประโยชนของชาติมีความหลากหลายนำสู่ความขัดแย้งได้เช่นกัน ในกรณีเปิดเขตอุตสาหกรรมแคซองซึ่งถือว่าเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญเพราะเป็นการสิ้นสุดนโยบาย ซันชายด์ และการปิดดังกล่วหาได้เ็นแันทามติในสงคมเกาหลี แต่ได้มีการวิเคราะห์กันว่าได้รับความเห็นชอบและมีการปรึกษาหารือกับสหรัฐอเมริกา หลังจากเกาหลีเหนือได้ทดลองระเบิดนิวเคลียร์ซึ่งเป้นการทดลองครั้งที่ 4 อย่างไรก็ตามความตึงเครียดในคาบสมุทรเกาหลี ทีปะทุขึ้นด้วยความระแวงของกาหลีเหนือที่มองการซ้อมรบระหว่างหสรัฐอเมริกากับเกาหลีได้เป็นภัยคุกคามประเทศตน
การดึงประเด็นในคาบสมุทรเกาหลีให้เป็ฯประเด็นระดับโลกสวนหนึ่งเพื่อเป็นการผลักภาระให้จนเข้ามาจัดการกับปัญหานิวเคลียร์ของเกาลี่เหนือ พร้อมกันทางเกาหลีได้เดินการทูตที่แข็งกร้้าวด้วยพยยามขยายความร่วมมือด้านเทคโนดลยีป้องกันขีปนาวุธกับหรัฐอเมริกา ซึ่งเทคโนโลยีนี้หากนำเข้ามาสู่เกาหลีใต้จะลดทอนอำนาจการทหารของจีนในการป้องกันประเทศ
สำหรับอาเซียน ผศ.ดร. กิตติ ประเสริฐสุข ได้ชี้ว่าการเข้าุ่ประชาคมอาเซียนเม่อสิ้นปี 2015 ได้นำสู่ภาวะ "อกหักจากอาเซียน" ที่ความคาดหวังจากอาเวียนจะก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด แต่ความเป้ฯจริงไมได้เปลียแปลงอะไรมากนัก ความคาดหวังดังกล่วเป้นผลจากายาคติของสังคมไทยที่มีตค่ออาเซีนว่าเป้ฯดั่งสหภาพยุโรปที่จะมีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีทั้งในแรงงานต่างๆ ซึงความจริงยังม่อุปสรรคอยู่และการเะดินทางยังไม่เสรี ส่วนที่สังคมไทยตื่อนตัวกับ AEC เกรงว่าสินค้าของเพือย้านอาเซียนจะทะลักเข้าสู่ประเทศว่าความเป้ฯจริงสินค้าจีนต่างหากที่เข้ามามาก ส่วนความกังวลว่าแรงงานเข้าชาติจะเข้าพบว่าปัจจุบันมีจำนวนกว่า 2 ล้านคนที่ลงทะเบียนอยู่ในประเทศ
ความสำเร็จของอาเวียนมี่ประากฎให้เห็นคือประเทศ CLMV ลดภาษีร้อยละ 90 จนถึงปี 2018 จะปลดภาษี ซิงเก้อวินโดว์ ได้มีก้าวสุ่ระดับหนึ่งแล้ว ึค่งเป็นการเร่ิมตั้งแต่ปี 2008 ส่วนด้านการเดินทางภายในอาเซียนได้มีการยกเลิก VISA ผ่านแดนในเมียนมา กัมพูชา ได้ยกเลิกมา 4 ปีแล้วนอกจากนี้การตื่นตัวต่ออาเซียนทำให้คนไทยมีทัศนะคติทางบวกต่อชาติเพื่อนบ้านอาเซียน ตลอดทั้งการเตรียมความพร้อมของหน่วยงานราชาการ ท้องถ่ินต่างๆ ในการเข้าสุ่ประชาคมอาเซ๊ยนอีกด้วย
ขณะที่เครื่องมือติดตามวัดผลการดำเนินงานระดับภูมิภาค ชีัว่าได้ดำเนินการไปถึงร้อยละ 97 เป็นการประเมินที่วัดจากการมีมาตรการเท่านัน แต่ไม่ได้ดูผลลัพธ์
สวนในปี 2016 นี้ประเทศลาวที่เป็นประธานได้ภายใต้แนวคิด Turning vision to Reality Dynamic การบูรณาการในระดับสุง การขยายความร่วมมือหลายสาขาต่างๆ ะท้อนว่าอาเวียนยังคงเดินหน้าต่อไป ขณะที่ปี 2016 ชาติสมาชิกอาเซียน
ผศ.ดร.กิตติ ประเมินประเด็นที่ชาติสมาชิกอาเซียนต้องเผชิญร่วมกันคือ 1. พื้นที่ประชุาธิปไตยที่ขยายตัวและการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองอย่างเมียนมาบทบาทท่าที่ของพรรค NLD ต่ออาเซียนต้องปรับเปลี่ยนไปเพราะพรรค NLD ยังคงกังขาต่ออาเว๊ยนนช่วงที่รัฐบาลทหารเมียนมาปกคอง การเลือกตั้งในฟิลิปปินส์ที่จะมีขึ้นในปลายปีนี้ ส่วนเวียดนามและลาวล่าสุดมีการเปลี่ยนผุ้นำที่ยังคงมีความสัมพันธ์อันดีกับจีน สวนความหลากหลายทางเพศได้เป็นที่ตื่นตัวในชาติอาเซ๊ยนมากขึ้น 2. การ่ก่อการร้ายของกลุ่มรัฐอิสลาม IS เป็นประเด็นที่น่าจับตาในการเข้ามาปฏิบัติในภุมิภาค 3. ด้านแรงงานและการต้ามนุษย์ มีการเรียกร้องคุณภาพชีวิตแรงานลาสุดในกัมพูชา และเมียนมามีการขึ้นค่าแรงขึ้นต่ำ ส่วนการค้ามนุษย์ประเด็นโรฮีจายังคงเป็นปัญหาร่วมอาเว๊ยน 4 ด้านภัยพิบัติไฟป่าและหมอกควันข้ามชาติ การบังคับใช้กฎหมายของประเทศที่เกี่ยวข้องกับปัญหาหมากควันในการจัดการกับปัญหาดังกล่ว 5 . ทะเลจีนใต้ ประเ็นที่ชาติสมาชิกอาเซียนต้องจักการกับความสัมพันธ์กับชาติมหาอำนาจที่เข้ามามีอิทธิพลต่อภูมิภาค
- aseanwatch/..การสัมนา-เอชียตะวันออกในปี 2016
วันอาทิตย์ที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
Korean Peninsula
ความเคลื่อนไหวของสหรัฐอเมริกาและเกาหลีเหนือ ต่อสถานการณ์ในคารบสมุทรเกาหลีส่งผลให้ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่กรุงมะนิลา ฟิลิปปินส์ ต้องกมาหยััิบยกขึ้นมาหารือเป็นกรณ์พิเศษ โดยที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาซียน ได้ออกแถลงการณ์แยกต่อกรณีความตึงเครียดบนคาบสมุทรเกาหลี โดยแสดงความวิตกกังวลอย่างยิ่งต่อความตึงเครียดที่เพ่ิมสูงขึ้น รวมถึงการทดสอบนิวเคลียร์และการทดสอบขีปนาวุธของเกาหลี่เหนือ
อาเซียนเห็นว่าความไม่มั่นคงบนคาบสมุทรเกาหลีส่งผลกระทบอยางยิ่งต่อภูมิภาคและโลก และของเรียกร้องอย่างจริงจังให้เกาหลีเหนือ ปฎิบัติตามพัธกรณีที่มีต่อข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ และกฎหมายระหว่างประเทศเพื่อคงไว้ซึ่งสติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และาียกร้องให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องใช้ความอดทนอดกลั้น พร้อมสนับสนุนให้คาบสมทุรเกาหลัีเป็นเขตปลดออาวุธนิวเคลียร์และขอให้หันกลับไปสูการพูดคุยเพื่อลอความตึงเครียดบนคาบสมุทรเกาหลี
แต่ไม่ว่าความตึงเครียดจะรุนแรงแค่ไหน นักวิชากรด้านความมั่นคงก็มั่นใจว่า จะไม่บานปลายกลายเป็นสงครามขนาดใหญ่ หรือ สงครามโลกครั้งที่ 3 โดยให้เหตุผลว่า ปัจจัยที่จะทำให้เกิดสงครามขนาดใหญ่ คือ ประเทศมหาอำนาจต่อสู้กัน นที่นี้ คือ สหรัฐฯ กับ จีน แต่ปัญหาก็ยังไปไม่ถึงขขั้นนั้น เว้นแต่เกาหลีเหนือถูกบีบจนหลังชนฝา แล้วยิงจรวดใส่เกาหลีใต้ หรือ ญี่ปุ่น ที่อาจทำให้สหรัญฯ กับจีน ซึ่งหนุนหลังแต่ละฝ่าย ออกมาเผชิญหน้ากันได้ ถ้าเป็นเช่นนั้นจึงจะทำให้เกิดสงครามขนาดใหญ่...
เ่กาหลีเหนือภายใต้การนำของผุ้นำสูงสุ คิม จองอึ ได้แกสดงความแข็งกร้าวมากขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่ดำรงตำแหน่งแทนบิดาเมือปีกว่าที่ผ่านมา ตลอดเวลาประชุาคมโลกมีความหวังว่าผุ้นำหนุ่มที่สุด (อายุ 32 ปี) ในโลกคนนี้จะนำเกาหลีเหนือไปสู่มิติการเมือง เศราฐกิจสังคมใหม่ รวมทั้งเชื่อว่าผุ้นำรุ่นที่สามคนนี้ มีการศึกษาในต่างประเทศมาก่อน น่าจะมีความรู้แลความเข้าใจในสังคมทันสมัยและมีเศราฐกิจเจริญก้าวหน้า พัฒนาประเทศ ทำให้ประชุาชนมีชีวิตที่ดีขึ้น
ในปัจจุบัน นักวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ทั่วโลกปวดหัวมา ไม่สามารถเข้าใจถึงควมต้องการของ คิม จองอน ลึกๆ เขาต้องการอะไรกันแน่ ที่ผ่านมามีเหตุการ์ล่เเหลมเกิดขึ้นมาตลาด ล้วนชี้ไปทางเดียวว่า ผุ้นำคนี้ไม่มีความคิดต้องการเห็นสันติภาพในคาบสมุทรเกาหลีอย่างแน่นอน ทไใ้ผุ้นำเกาหลีใต้และชาติอื่นๆ เป็นห่วงมาก
เมื่อต้นเดือนเมษายน กองทัพของสองเกาหลีได้มีการยิงปะทะกันอ้วยปืนใหญ่ ถึงแม้ว่าจะไม่ได้ร้ายแรงอะไร แต่เหตุการณืครั้งนี้สร้างความตระหนกตกใจต่อหลายประเทศในภูมิภาคว่า ในขณะที่ประชุาคมโลกกำลังเผ้าดูสถานกาณ์ในไครเมีย และการใช้กองกำลังเช้ายึดครองพื้นที่ของยูเครน เกาหลีเหนืออาจจะทดสอบความพร้อมทางด้านกำลังรบของเกาหลีใต้อีกครั้ง
เมื่อเร็วๆ นี้ ปรธนาธิบดี ปักกัน เฮ ได้เสนอแยการจะรวมสองเกาหลีในอนาคตโดยใช้แนวทางสันติภาพ ปฏิญาณเดรสเดน บ่งชัดว่าการวมสองเกาหลี่นั้นจะค่อยๆ เป็นค่อยๆ ไป โดยเริ่มจากให้วามช่วยเหลือ ทางด้านมนุษยธรรม ซึ่ง ทางเกาหลีไใต้ได้ให้ความช่วยเหลือด้านนี้มาดดยตลอด ตามด้วยความร่วมมือทางด้านเศราฐกิจ การพัฒนาอุตสาหกรรมและการร่วมมือระหว่างสองระบบเศรษฐกิจเกาหลีทำให้สองเกาหลีเข้ารวมตัวกันง่ายขึ้น โดยเฉพาะการลดช่องวางเสษบกิจระหวางกัน ส่วนเสาหลักสุดท้ายอยู่ที่สัมพันธ์ประชุาชนต่อประชาชน คนเกาหลีเป็นจำนวนมากถูกแยกห่างออกจากัน เนื่องจากสงครามเกาหลีปละความแตกต่างทางด้านการเมือง
ฝ่ายเกาหลีเหนือไม่ได้แสดงความยิดีอะไรต่อข้อเสนแเกาหลใต้ ผู้นำเกาหลีเหนืออาจจะผิดหวังก็ได้ เพราะลึกๆ เกาหลีเหนือต้องการให้เกาหลีใต้ยกเลิกการห้ามทำธุรกิจท่องเที่ยวกับเกาหลีเหนือ ที่ผ่านมาผุ้นำเกาหลีเหนือมักใช้วิธีข่มขู่เกาหลีใต้และญี่ป่นุเพื่อเาอมาเป็นอำนาต่อรองในการขอเพิ่มคามช่วยเหลือทางมนุษยธร
พฤติกรรมของผุ้นำเากลีเหนือที่ในช่วงยี่สิบปีที่ผ่านมาจะพบว่ามีวิธีกาแบเดียวกันคือ หนึ่งเข้าร่วมการเจรจา 6 ฝ่าย หลังมีข้อตกลงกันแล้ว จะมีการละเมิดข้อตกลง ต่อด้วยการยั่วยุสหรัฐอเมริกา ญี่ป่น และเกาหลีใต้ เพื่อมความตึงเครียดหลังจากนั้นไม่นาน จมีท่าที่อ่อนลง เข้าสู่โต๊ะเจรจาอีก เหสร็จแล้วก็จะพบกับสถานการณ์เดิมซึ่งถือว่าเป็นยุทธศาสตร์ซื้อเวลาที่ได้ผลตอนนี้ คิม จองอึน ต้องนำเกาหลีให้รอด เพราะเศรษฐกิจภายในประเทศตกต่ำมาก
ปัจจุบันนี้มีความพยายามจะรื้อฟิ้นการเจรจา 6 ฝ่ายที่ได้หยุดชะงัไปแล้วตั้งแต่ปี 2009(2552) เกาหลีเหนือไม่ยอมเข้าร่วมการเจรจาเพราะถูกองค์การสหประชุาชาติโดดเดียวางด้านการต้าและการคลัง ช่วงหลัง อาเซียนเร่ิมให้ความสนใจ เนืองจากคู่กรณีในการเจรจาหกฝ่ายล้วนเป็นสมาชิกในเวที่การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นความมั่นคงในเอเซีย-แปซิฟิก หรือ เออาร์เอฟ นั่้นเอง ปรากฎว่า สมาชิกมนวงเจรจาหกฝ่ายยังไม่มีประชามติในเรื่องนี้ ฝ่ายอเาซียนเชื่อว่า องค์กรตัวเองมีศักยภาพในการชักจูงให้เกาหลีเหนือเข้าสู่โต็ะเจรจาได้
นอกจากนั้นมิตรภาพจีนและเกาหลีใต้ดีขึ้นมา การต้าการลงทุนในช่วงสาม-สีปีที่ผ่านมาเพ่ิมสูงขึ้น นักท่องเที่ยวจีนและเกาหลีไปมาหาสู่กันกว่าสามล้านคนต่อปี ทางอาเซียนเห็ว่า ถ้าจีนและเกาหลีได้สนับสนนุท่าที่อาเซียน การเจรจาหกฝ่ายอาจจะเพ่ิมขึ้นอีกหนึ่งเจ้าคือ อาเซียน นั่นเอง....
ที่ประชุมอาเซียน-สหรัฐฯ ตระหนักถึงความจำเป็นในการ่วมมือต่อต้านภัยก่อการร้าย ขณะทีอ่าเซียนใช้ เวทีแสดงจุดยือนเดิมต่อความขัดแย้งในคาบสมุทรทรเกาหลีโดยย้ำให้เกาหลีเหนือ ปฏิบัติตามกฎของสหประชาชาติ และร่วมกันแก้ปัญกาด้วยความสันติ..
ในการประชุมสุถยอดผุ้นำอาเซียนครั้งที่ 30 และการประชุมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นการบพกันครั้งแรกของผุ้นำอาเซียนในปีนี้ ซึ่งเป็นคร้้งแรกที่ิลิปปินส์ตามมาด้วยการประชุมผุ้นำอาเซียนกับประเทศคุ่เจรจากในปลายปีีซึ่งจะเป็นการประชุมผุ้นำที่เหใญ่กว่านี้มาก เนื่องจากผุ้นำของประเทศคู่เจรจาของอาเซียนจำนวนมากจะเดินทางมาเข้าร่วมประชุมกับผุ้นำอาเซียนถึงประะานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ของสหรัฐฯที่ประกาศชัดเจนแล้วว่าจะพบปะกับและเข้าร่วมหารือกับผุ้นำอาเวียนในปลายปีนี้ด้วย
ก่อนหน้าดูเหมือนสหรัฐภายใต้การนำของประธานาธิบดีทรัมป์จะไม่เเสดงท่าที่ชัดเจนว่าจะหใ้ความสำคัญกับภูมิภาคเอเชียในระดับใด หลังจากสิ้นสุดยุคของรัฐบาลสหรัฐภายใต้การนำของอดีตประธานาธิบดีบารัค ดอบามาที่ประกาศนโยบาย "ปักหมุดเอเชีย" หรือหันกลับมาให้ความสำคัญกับเอเชียอีกครั้งหนึ่งเพื่อลอทอนอิทะิพลของจีนในภุมิภาคนี้
อย่างไรก็ดีการประกาศว่าปรธานาะิบดีทรัมป์จะมาร่วมประชุมสุดยออาเซีย ครั้งที่ 31 และการประชุมสำคัญอื่นๆ ที่จะมีขึ้นในช่วงปลายปีในทางเหนึ่งก็สะท้อนไให้เก็นว่ารัฐบาลสหรัฐชุมปัจจุบันตระหนักแล้วว่าแม้จะยังงยคึดนโยบาย "อเมริกาต้องมก่อน" เป็นแก่นแกนในกาดำเนินงานทุกด้านแต่สหรัฐในฐานะที่เป็นมหาอำนาจของโลกก็ไม่อาจตคัดขาดนเองออกจากโลกได้ และสกรัฐยังคงต้องแสดงบทบาทนำหนหลารยๆ ด้าน ซึ่งแน่นอนว่าการดำเนินนโยบายต่างประเทศที่สมดุลก็เป็นส่ิงที่สกรัฐต้องยึดมั่นต่อไป
สิงที่สะท้อนให้เก็นว่าสรัฐกลับมาให้ความสำคัญกัอเชียและอาเซียอีกครั้งแม้จะยังต้องจับตาดูแลประเมินสถานการณืกันต่อไปก็คือการที่นายเร็กซ์ ทิลเลิร์สันรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัญ ได้เหชิญรัฐมนตรีต่างประเทศอาเวียน ให้ไปพบปะหารือสมัพิเศษทกันที่กรุงวองชิงตัน ดี.ซี. ในันที่ 4 พฤษาคมนี้ ซึ่งนายดอน ประมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าดารกระทรวงการต่างประเทศระบุว่า เ็นการไปหารือในประเด็นที่อยุ่ในความสนใจของทั้งสอง่ายไม่ว่าความมั่นคงในภูมิภาค สภานกาณ์ระหว่าประเทศ และความรวมมือด้สนอืนไ ซึงร่วมถึงเรืองการต้าการลงทุน
เชื่อได้เลยว่าเวทีการพบปะารือดังกล่าวในทางหนึ่งก็เป็นความพยายามของฝ่ายสหรัฐที่ประกาศว่าจะเร่ิงการดำเนินนโยบายทางการทูตเพื่อกาทางออกต่อกรณีเกาหลีเหนือ ซึ่งในช่วงที่ผ่านมาถูกมองว่าสถานการณ์บนคาบสมทุรกาหลีกำลังทวความตึงเครียดมากขึ้นเรื่อยๆ โดยฝ่ายเกาหลีเหนือพยายามจะบอกว่าการทีต้องพัฒนาขีปนาวุธหรือนิวเคลียร์ก็เพื่อป้องกันการรุกรานจาสหรัฐที่จัมือกับชาติพันธมิตรอย่างเกาหลีใต้เพื่อรุกรานเกาหลีเหนือ
ความพยายามของเกาหลีเหนือท่จะหาพวกยังปรกกฎให้เห็นในจดหมายที่รัฐมนตรีต่างประเทศเกาหลีเหนือส่งถุงเลขาธการอาเวียน ซึ่งเพิ่งถูกนำมาเผยแพร่ผ่านสำนักข่าวเอเอฟพีก่อนการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งนีจะเร่ิมขึ้น ทั้งที่จดหมายดังกล่างถูกส่งให้กับเลขาธิการอาเซียนตั้งแต่วันที่ 23 มีนาคม ที่ผ่านมา หรือกว่ากนึ่งเดือนก่อนหน้านี้
เกาหลีเหนือได้่งจดหมายเพื่อให้เลขาธิการอาเซียนได้เวียรให้ชาติสมาชิกอาเซียนรับทราบและให้การสนับสนุนเกาหลีเหนือกลายเป็นส่ิงที่ครอบงำความสนใจขอผู้ที่มาทำข่าวการประชุสุดยอดอาเซียนไปทันทีแม้วาก่อนหน้านี้ความสนใจต่อประเ็นความตึงเครยดบนคาบสมุทรเกาหลีจะมีอยุ่แต่ก็เพรียงในระดับหนึ่งเท่านัน เป็ฯการตัดสินใจเผยแพร่จดหมายให้กับสื่อหลังจากที่เลขาธิการอาเว๊ยนไดมได้เวียนหนึงสือให้สมาชิกอาเวียนอย่างี่เกาหลี่เหนือต้องการ
รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซึยนจึงได้ออกแถลงการณ์แยกต่อกรณีสถานการณ์บนคาบสมทุรเกาหลีซึ่งไม่เพียงแต่จะเป้ฯการแสดงท่าที่อาเซียนต่อกรณีดังกล่าว แต่ยังเป็นการแสดงใหเห็นว่าอาเซียนในฐานะประชาาคมยังมีจุดยืนร่วมกันในประเด็นที่อยู่ในควาสนของโกทั้งเป็นจุดยื่อนรัญมนตรีต่างประเทศอาเวียนสามารถนำไปพูดคุยกับรับมนตรีต่างประเทศสหรัฐในการประชุมที่กำลังจะมีขึ้น และตอบข้อเรียกร้องของเกาหลีเหนือย่างชัดเจนว่าเกาหลีเหนือจะต้องทำตามข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ ขณะที่ทุกฝ่ายต้องหันหน้ามาหาทางแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธีต่อกรณีนี้ต้องถือว่าอาเซียนรับมือกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างทีนที
สิงที่จะต้องจับตาดุหลังจากนี้ไปนอกจากพัฒนาการรายวันบนคาบสมุทรเกาหลีแล้วก็คือเวทีการพูดคุยกันของฝ่ายต่างๆ เพื่อหาทางลดอุณหภูมิความร้อนแรงของประเด็นคาบสมทุรเกาหลีไม่ได้บานปลายใหญ่โตออกไปมากกว่านี้จนถึงกับเป็นการปะทะกันด้วยอาวุทธยุทโธปกรณ์ ซึ่งหลายฝ่ายเชื่อว่ายังไม่น่าจะเกิขึ้น
ขณะที่เวทีการประชุมอเวียนว่าด้วยความรวมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภคเอเชีย-แปซิฟิก หรือเออาร์เอฟ ที่จะจัดขึ้นพร้อมกับภารประชุมสุดยอดอาเวียนในช่วปลายปี ซึ่งเป็นเพรียงเวที่การประชุมด้านความมั่นคงในภูมิภาคเวทีเดียวที่เกาหลีเหนือเป็นสมาชิกอยุ่ก็จะกลายเป็นเวทีร้อนตามา ซึ่งทั้งหมดทั้งปวงนั้นจะททำให้การประชุมสุดยอดอาเซียนในปลายปีนี้ ยิ่งน่าจะได้รับความสนใจมากย่ิงขึ้นไปอีกหลายเท่า
- http//www.matichon.co.th/..คอลัมน์ วิเทศวิถี: "คาบสมุทรเกหลี" ปัญหาป่วนอาเซียน
- www.komchadluek.net/...คาบสมุทรเกาหลีกับความมั่นคงเอเชีย
- www.krobkruakao.com/...อาเซียน-ถกวิกฤตคาบสมุรเกาหลี
อาเซียนเห็นว่าความไม่มั่นคงบนคาบสมุทรเกาหลีส่งผลกระทบอยางยิ่งต่อภูมิภาคและโลก และของเรียกร้องอย่างจริงจังให้เกาหลีเหนือ ปฎิบัติตามพัธกรณีที่มีต่อข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ และกฎหมายระหว่างประเทศเพื่อคงไว้ซึ่งสติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และาียกร้องให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องใช้ความอดทนอดกลั้น พร้อมสนับสนุนให้คาบสมทุรเกาหลัีเป็นเขตปลดออาวุธนิวเคลียร์และขอให้หันกลับไปสูการพูดคุยเพื่อลอความตึงเครียดบนคาบสมุทรเกาหลี
แต่ไม่ว่าความตึงเครียดจะรุนแรงแค่ไหน นักวิชากรด้านความมั่นคงก็มั่นใจว่า จะไม่บานปลายกลายเป็นสงครามขนาดใหญ่ หรือ สงครามโลกครั้งที่ 3 โดยให้เหตุผลว่า ปัจจัยที่จะทำให้เกิดสงครามขนาดใหญ่ คือ ประเทศมหาอำนาจต่อสู้กัน นที่นี้ คือ สหรัฐฯ กับ จีน แต่ปัญหาก็ยังไปไม่ถึงขขั้นนั้น เว้นแต่เกาหลีเหนือถูกบีบจนหลังชนฝา แล้วยิงจรวดใส่เกาหลีใต้ หรือ ญี่ปุ่น ที่อาจทำให้สหรัญฯ กับจีน ซึ่งหนุนหลังแต่ละฝ่าย ออกมาเผชิญหน้ากันได้ ถ้าเป็นเช่นนั้นจึงจะทำให้เกิดสงครามขนาดใหญ่...
เ่กาหลีเหนือภายใต้การนำของผุ้นำสูงสุ คิม จองอึ ได้แกสดงความแข็งกร้าวมากขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่ดำรงตำแหน่งแทนบิดาเมือปีกว่าที่ผ่านมา ตลอดเวลาประชุาคมโลกมีความหวังว่าผุ้นำหนุ่มที่สุด (อายุ 32 ปี) ในโลกคนนี้จะนำเกาหลีเหนือไปสู่มิติการเมือง เศราฐกิจสังคมใหม่ รวมทั้งเชื่อว่าผุ้นำรุ่นที่สามคนนี้ มีการศึกษาในต่างประเทศมาก่อน น่าจะมีความรู้แลความเข้าใจในสังคมทันสมัยและมีเศราฐกิจเจริญก้าวหน้า พัฒนาประเทศ ทำให้ประชุาชนมีชีวิตที่ดีขึ้น
ในปัจจุบัน นักวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ทั่วโลกปวดหัวมา ไม่สามารถเข้าใจถึงควมต้องการของ คิม จองอน ลึกๆ เขาต้องการอะไรกันแน่ ที่ผ่านมามีเหตุการ์ล่เเหลมเกิดขึ้นมาตลาด ล้วนชี้ไปทางเดียวว่า ผุ้นำคนี้ไม่มีความคิดต้องการเห็นสันติภาพในคาบสมุทรเกาหลีอย่างแน่นอน ทไใ้ผุ้นำเกาหลีใต้และชาติอื่นๆ เป็นห่วงมาก
เมื่อต้นเดือนเมษายน กองทัพของสองเกาหลีได้มีการยิงปะทะกันอ้วยปืนใหญ่ ถึงแม้ว่าจะไม่ได้ร้ายแรงอะไร แต่เหตุการณืครั้งนี้สร้างความตระหนกตกใจต่อหลายประเทศในภูมิภาคว่า ในขณะที่ประชุาคมโลกกำลังเผ้าดูสถานกาณ์ในไครเมีย และการใช้กองกำลังเช้ายึดครองพื้นที่ของยูเครน เกาหลีเหนืออาจจะทดสอบความพร้อมทางด้านกำลังรบของเกาหลีใต้อีกครั้ง
เมื่อเร็วๆ นี้ ปรธนาธิบดี ปักกัน เฮ ได้เสนอแยการจะรวมสองเกาหลีในอนาคตโดยใช้แนวทางสันติภาพ ปฏิญาณเดรสเดน บ่งชัดว่าการวมสองเกาหลี่นั้นจะค่อยๆ เป็นค่อยๆ ไป โดยเริ่มจากให้วามช่วยเหลือ ทางด้านมนุษยธรรม ซึ่ง ทางเกาหลีไใต้ได้ให้ความช่วยเหลือด้านนี้มาดดยตลอด ตามด้วยความร่วมมือทางด้านเศราฐกิจ การพัฒนาอุตสาหกรรมและการร่วมมือระหว่างสองระบบเศรษฐกิจเกาหลีทำให้สองเกาหลีเข้ารวมตัวกันง่ายขึ้น โดยเฉพาะการลดช่องวางเสษบกิจระหวางกัน ส่วนเสาหลักสุดท้ายอยู่ที่สัมพันธ์ประชุาชนต่อประชาชน คนเกาหลีเป็นจำนวนมากถูกแยกห่างออกจากัน เนื่องจากสงครามเกาหลีปละความแตกต่างทางด้านการเมือง
ฝ่ายเกาหลีเหนือไม่ได้แสดงความยิดีอะไรต่อข้อเสนแเกาหลใต้ ผู้นำเกาหลีเหนืออาจจะผิดหวังก็ได้ เพราะลึกๆ เกาหลีเหนือต้องการให้เกาหลีใต้ยกเลิกการห้ามทำธุรกิจท่องเที่ยวกับเกาหลีเหนือ ที่ผ่านมาผุ้นำเกาหลีเหนือมักใช้วิธีข่มขู่เกาหลีใต้และญี่ป่นุเพื่อเาอมาเป็นอำนาต่อรองในการขอเพิ่มคามช่วยเหลือทางมนุษยธร
พฤติกรรมของผุ้นำเากลีเหนือที่ในช่วงยี่สิบปีที่ผ่านมาจะพบว่ามีวิธีกาแบเดียวกันคือ หนึ่งเข้าร่วมการเจรจา 6 ฝ่าย หลังมีข้อตกลงกันแล้ว จะมีการละเมิดข้อตกลง ต่อด้วยการยั่วยุสหรัฐอเมริกา ญี่ป่น และเกาหลีใต้ เพื่อมความตึงเครียดหลังจากนั้นไม่นาน จมีท่าที่อ่อนลง เข้าสู่โต๊ะเจรจาอีก เหสร็จแล้วก็จะพบกับสถานการณ์เดิมซึ่งถือว่าเป็นยุทธศาสตร์ซื้อเวลาที่ได้ผลตอนนี้ คิม จองอึน ต้องนำเกาหลีให้รอด เพราะเศรษฐกิจภายในประเทศตกต่ำมาก
ปัจจุบันนี้มีความพยายามจะรื้อฟิ้นการเจรจา 6 ฝ่ายที่ได้หยุดชะงัไปแล้วตั้งแต่ปี 2009(2552) เกาหลีเหนือไม่ยอมเข้าร่วมการเจรจาเพราะถูกองค์การสหประชุาชาติโดดเดียวางด้านการต้าและการคลัง ช่วงหลัง อาเซียนเร่ิมให้ความสนใจ เนืองจากคู่กรณีในการเจรจาหกฝ่ายล้วนเป็นสมาชิกในเวที่การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นความมั่นคงในเอเซีย-แปซิฟิก หรือ เออาร์เอฟ นั่้นเอง ปรากฎว่า สมาชิกมนวงเจรจาหกฝ่ายยังไม่มีประชามติในเรื่องนี้ ฝ่ายอเาซียนเชื่อว่า องค์กรตัวเองมีศักยภาพในการชักจูงให้เกาหลีเหนือเข้าสู่โต็ะเจรจาได้
นอกจากนั้นมิตรภาพจีนและเกาหลีใต้ดีขึ้นมา การต้าการลงทุนในช่วงสาม-สีปีที่ผ่านมาเพ่ิมสูงขึ้น นักท่องเที่ยวจีนและเกาหลีไปมาหาสู่กันกว่าสามล้านคนต่อปี ทางอาเซียนเห็ว่า ถ้าจีนและเกาหลีได้สนับสนนุท่าที่อาเซียน การเจรจาหกฝ่ายอาจจะเพ่ิมขึ้นอีกหนึ่งเจ้าคือ อาเซียน นั่นเอง....
ที่ประชุมอาเซียน-สหรัฐฯ ตระหนักถึงความจำเป็นในการ่วมมือต่อต้านภัยก่อการร้าย ขณะทีอ่าเซียนใช้ เวทีแสดงจุดยือนเดิมต่อความขัดแย้งในคาบสมุทรทรเกาหลีโดยย้ำให้เกาหลีเหนือ ปฏิบัติตามกฎของสหประชาชาติ และร่วมกันแก้ปัญกาด้วยความสันติ..
ในการประชุมสุถยอดผุ้นำอาเซียนครั้งที่ 30 และการประชุมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นการบพกันครั้งแรกของผุ้นำอาเซียนในปีนี้ ซึ่งเป็นคร้้งแรกที่ิลิปปินส์ตามมาด้วยการประชุมผุ้นำอาเซียนกับประเทศคุ่เจรจากในปลายปีีซึ่งจะเป็นการประชุมผุ้นำที่เหใญ่กว่านี้มาก เนื่องจากผุ้นำของประเทศคู่เจรจาของอาเซียนจำนวนมากจะเดินทางมาเข้าร่วมประชุมกับผุ้นำอาเซียนถึงประะานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ของสหรัฐฯที่ประกาศชัดเจนแล้วว่าจะพบปะกับและเข้าร่วมหารือกับผุ้นำอาเวียนในปลายปีนี้ด้วย
ก่อนหน้าดูเหมือนสหรัฐภายใต้การนำของประธานาธิบดีทรัมป์จะไม่เเสดงท่าที่ชัดเจนว่าจะหใ้ความสำคัญกับภูมิภาคเอเชียในระดับใด หลังจากสิ้นสุดยุคของรัฐบาลสหรัฐภายใต้การนำของอดีตประธานาธิบดีบารัค ดอบามาที่ประกาศนโยบาย "ปักหมุดเอเชีย" หรือหันกลับมาให้ความสำคัญกับเอเชียอีกครั้งหนึ่งเพื่อลอทอนอิทะิพลของจีนในภุมิภาคนี้
อย่างไรก็ดีการประกาศว่าปรธานาะิบดีทรัมป์จะมาร่วมประชุมสุดยออาเซีย ครั้งที่ 31 และการประชุมสำคัญอื่นๆ ที่จะมีขึ้นในช่วงปลายปีในทางเหนึ่งก็สะท้อนไให้เก็นว่ารัฐบาลสหรัฐชุมปัจจุบันตระหนักแล้วว่าแม้จะยังงยคึดนโยบาย "อเมริกาต้องมก่อน" เป็นแก่นแกนในกาดำเนินงานทุกด้านแต่สหรัฐในฐานะที่เป็นมหาอำนาจของโลกก็ไม่อาจตคัดขาดนเองออกจากโลกได้ และสกรัฐยังคงต้องแสดงบทบาทนำหนหลารยๆ ด้าน ซึ่งแน่นอนว่าการดำเนินนโยบายต่างประเทศที่สมดุลก็เป็นส่ิงที่สกรัฐต้องยึดมั่นต่อไป
สิงที่สะท้อนให้เก็นว่าสรัฐกลับมาให้ความสำคัญกัอเชียและอาเซียอีกครั้งแม้จะยังต้องจับตาดูแลประเมินสถานการณืกันต่อไปก็คือการที่นายเร็กซ์ ทิลเลิร์สันรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัญ ได้เหชิญรัฐมนตรีต่างประเทศอาเวียน ให้ไปพบปะหารือสมัพิเศษทกันที่กรุงวองชิงตัน ดี.ซี. ในันที่ 4 พฤษาคมนี้ ซึ่งนายดอน ประมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าดารกระทรวงการต่างประเทศระบุว่า เ็นการไปหารือในประเด็นที่อยุ่ในความสนใจของทั้งสอง่ายไม่ว่าความมั่นคงในภูมิภาค สภานกาณ์ระหว่าประเทศ และความรวมมือด้สนอืนไ ซึงร่วมถึงเรืองการต้าการลงทุน
เชื่อได้เลยว่าเวทีการพบปะารือดังกล่าวในทางหนึ่งก็เป็นความพยายามของฝ่ายสหรัฐที่ประกาศว่าจะเร่ิงการดำเนินนโยบายทางการทูตเพื่อกาทางออกต่อกรณีเกาหลีเหนือ ซึ่งในช่วงที่ผ่านมาถูกมองว่าสถานการณ์บนคาบสมทุรกาหลีกำลังทวความตึงเครียดมากขึ้นเรื่อยๆ โดยฝ่ายเกาหลีเหนือพยายามจะบอกว่าการทีต้องพัฒนาขีปนาวุธหรือนิวเคลียร์ก็เพื่อป้องกันการรุกรานจาสหรัฐที่จัมือกับชาติพันธมิตรอย่างเกาหลีใต้เพื่อรุกรานเกาหลีเหนือ
ความพยายามของเกาหลีเหนือท่จะหาพวกยังปรกกฎให้เห็นในจดหมายที่รัฐมนตรีต่างประเทศเกาหลีเหนือส่งถุงเลขาธการอาเวียน ซึ่งเพิ่งถูกนำมาเผยแพร่ผ่านสำนักข่าวเอเอฟพีก่อนการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งนีจะเร่ิมขึ้น ทั้งที่จดหมายดังกล่างถูกส่งให้กับเลขาธิการอาเซียนตั้งแต่วันที่ 23 มีนาคม ที่ผ่านมา หรือกว่ากนึ่งเดือนก่อนหน้านี้
เกาหลีเหนือได้่งจดหมายเพื่อให้เลขาธิการอาเซียนได้เวียรให้ชาติสมาชิกอาเซียนรับทราบและให้การสนับสนุนเกาหลีเหนือกลายเป็นส่ิงที่ครอบงำความสนใจขอผู้ที่มาทำข่าวการประชุสุดยอดอาเซียนไปทันทีแม้วาก่อนหน้านี้ความสนใจต่อประเ็นความตึงเครยดบนคาบสมุทรเกาหลีจะมีอยุ่แต่ก็เพรียงในระดับหนึ่งเท่านัน เป็ฯการตัดสินใจเผยแพร่จดหมายให้กับสื่อหลังจากที่เลขาธิการอาเว๊ยนไดมได้เวียนหนึงสือให้สมาชิกอาเวียนอย่างี่เกาหลี่เหนือต้องการ
รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซึยนจึงได้ออกแถลงการณ์แยกต่อกรณีสถานการณ์บนคาบสมทุรเกาหลีซึ่งไม่เพียงแต่จะเป้ฯการแสดงท่าที่อาเซียนต่อกรณีดังกล่าว แต่ยังเป็นการแสดงใหเห็นว่าอาเซียนในฐานะประชาาคมยังมีจุดยืนร่วมกันในประเด็นที่อยู่ในควาสนของโกทั้งเป็นจุดยื่อนรัญมนตรีต่างประเทศอาเวียนสามารถนำไปพูดคุยกับรับมนตรีต่างประเทศสหรัฐในการประชุมที่กำลังจะมีขึ้น และตอบข้อเรียกร้องของเกาหลีเหนือย่างชัดเจนว่าเกาหลีเหนือจะต้องทำตามข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ ขณะที่ทุกฝ่ายต้องหันหน้ามาหาทางแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธีต่อกรณีนี้ต้องถือว่าอาเซียนรับมือกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างทีนที
สิงที่จะต้องจับตาดุหลังจากนี้ไปนอกจากพัฒนาการรายวันบนคาบสมุทรเกาหลีแล้วก็คือเวทีการพูดคุยกันของฝ่ายต่างๆ เพื่อหาทางลดอุณหภูมิความร้อนแรงของประเด็นคาบสมทุรเกาหลีไม่ได้บานปลายใหญ่โตออกไปมากกว่านี้จนถึงกับเป็นการปะทะกันด้วยอาวุทธยุทโธปกรณ์ ซึ่งหลายฝ่ายเชื่อว่ายังไม่น่าจะเกิขึ้น
ขณะที่เวทีการประชุมอเวียนว่าด้วยความรวมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภคเอเชีย-แปซิฟิก หรือเออาร์เอฟ ที่จะจัดขึ้นพร้อมกับภารประชุมสุดยอดอาเวียนในช่วปลายปี ซึ่งเป็นเพรียงเวที่การประชุมด้านความมั่นคงในภูมิภาคเวทีเดียวที่เกาหลีเหนือเป็นสมาชิกอยุ่ก็จะกลายเป็นเวทีร้อนตามา ซึ่งทั้งหมดทั้งปวงนั้นจะททำให้การประชุมสุดยอดอาเซียนในปลายปีนี้ ยิ่งน่าจะได้รับความสนใจมากย่ิงขึ้นไปอีกหลายเท่า
- http//www.matichon.co.th/..คอลัมน์ วิเทศวิถี: "คาบสมุทรเกหลี" ปัญหาป่วนอาเซียน
- www.komchadluek.net/...คาบสมุทรเกาหลีกับความมั่นคงเอเชีย
- www.krobkruakao.com/...อาเซียน-ถกวิกฤตคาบสมุรเกาหลี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Official vote counting...(3)
แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป รองป...
-
องค์ประกอบของโยนิโสมนสิการ ลักษณะการคิดแบบโยนิโสมนสิการมี 10 ประการ สรุปได้ดังนี้ครับ สืบสาวเหตุปัจจัย แยกแยะส่วนประกอบ สามัญลักษณ...
-
อาจกล่าวได้ว่า สงครามครูเสดเป็นความพยายามครั้งรแกๆ ของยุโรป และเป้นสำเร็จโดยรวมในความพยายามที่จะค้นหาตัวเองภายใต้วัฒนธรรมท่เป็...
-
วรรณกรรมในสมัยยุโรปกลาง จะแต่งเป็นภาษาละติน แบ่งเป็นวรรณกรรมทางศาสนา และ วรรณกรรมทางโลก วรรณกรรมทางศาสนา...