วันเสาร์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Cybersecurity

              ความมั่นคงไซเบอร์ หมายถึงการใช้ประโยชน์จาเทคดนโลยี เพื่อปกป้องระบบเครือข่าวคอมพิวเตอร์รวมถึงข้อมูลในโลกออนไลน์จากการถูกดจมตี ดจรกรรม หรือการเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต ในโลกยุคปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศไ้กลายเป็นองค์ประกอบสำคัญของวิธีชวิตแทบทุกด้านของมนุษย์ โลกไซเปบร์ได้กลายเปรดาบองคม เพราะนอกจากจะมีประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตทางเศราฐกิจและยกระดับคุณภาถชีวิตของประชาช ยังกลายเปฯนพื้นที่สุ่มเสียงต่อการถ๔ูกคุกคาม อันทำให้รัฐต่างๆ ต้องหันกลับมาทบทวนถึงความจำเป็นในการรับมือกับภัยคุกคามความมั่นคงที่ติดตามมาพร้อมกับความเจริฐก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
            สำหรับอาเซียน ความมั่นคงไซเบอร์เป็นสวนหนึ่งของความร่วมมือภายใต้เสาหลักประชาคมการเมือง - ความมั่นคง โดยกลไกหลักที่เป็นเวทีหารือและทบทวนความร่วมมือด้านความมั่นคงไซเบอร์ คือการประบุมระดับรัฐมนตรีอาเวียนว่าด้วยอาชญากรรมข้ามชาติ และการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนว่าด้วยอาชญากรรมข้ามชาติ เป็นตครี้งแรก สะท้อนภึงการตระหนักว่าอาชญากรรมข้ามชาติมิได้จำอยู่เพียงอาชญากรรมที่พบเห็นได้เฉพาะหน้า เช่น การก่อการร้าย การต้ามนุษย์ หรือการต้าอาวุะสงครามเท่านั้น
              แผนปฏิบัติการดังกล่าวได้ับการรับรองโดยที่ประชุม SOMTC ครั้งที่ 2 ที่ประเทศมาเลเซียนอกีหนึ่งปีให้หลัง ในหวยเอว่าด้วยคึวามมั่คงไซเบอร์ แผนปฏิบัติการฉยับนไดำแนกความร่วมมือขอประทเสสมชิกออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ความร่วมมือด้านของกฎหมาย ความรวมมือด้านการบังคับใช้กฎหมายความร่วมมือด้านการฝึกอบรมและการพัฒนาขีดความสสามารถ และความร่วมมือนอกภูมิภาค
             ในเวลาต่อมา ความร่วมมือด้านความมั่นคงไซเยอร์ของอาเซียนได้ขยายสู่การับรองกรอบการทำงานร่วในการพัฒนาขีดความสามารถเื่อต่อต้านอาชญากรรมไซเบอร์ โดยมีเป้าหมายเพื่อสนับสนุนการต้อสู่กับอาญากรรมไซเบอร์รูปแบบต่างในระดับโลก ควมถึงการคณะทำงานด้านอาชญากรรมไซเบอร์ขึ้นตามมติขจองที่ประชุม SOMTC ครั้งที่ 13 ณ กรุงเวียงจันทน์ สปป.ลาว เมื่อปี 2556
               คณะทำงานดังกล่าวมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการหาข้อสรุปให้กับโร็ดแมปว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมไซเบอร์ในอาเซียน ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมความร่วมมือระดบภูมิภาคในการับมือภัยคุกคามไซเอร์ตามแยวทางทั้ง 5 ประการของแผนปฏิบัติการอาเซียนเพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ ความรวมมือด้านความมั่นงคงไซเบอร์ยังปรากฎอยุ่ในการประชุมอาเวียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความรุนแรงในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ดดยที่ประชุมได้ออกแถลงการณืหลายฉบัยเพื่อเน้นย้ำถึงความสำคัญของการออกแบกรอบความร่วมมือด้านความมั่นคงไซเบอร์ระหว่างประเทศสมาชิก นอกจากนี้ ในปี 2555 ที่ประชุม ARF ยังได้ออกแถลงการณ์ที่ะบุอย่างชัดแจนถึงเป้ากมายภายในของอาเวียนในการับมือกับปัญหาภัยคุกคามทางไซเบอร์ อันรวมถึงการสร้างมาตรการส่งเสริมควาามไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกันอย่างเป็นรูปธรรม
               ความจริงจังของภัยคุกคามทางไซเบอร์ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา กอปรกับการตระหนักรู้ในความเชื่อโยงระหว่างความมั่นคงไซเบอร์กับความร่วมมือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ือสาร ทำให้ที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านโทรคนและเทคโนโลยสารสนเทศ  ครั้งที่ 14 เมื่อปี 2558 ได้บรรจุประเด็นความั่นคงไวเบรอ์ลงในแปนแม่บทเทคโนโลนีสารสนเทศและการสื่อสารของอาเซียนฉยัยที่ 2 ระหว่างปี 2559-2563 แผนแม่บทดังกล่าวไดกำหนดกลุยุทธ์หลักเพิ่มเติมจากแปผนแม่บทฉบับเดิม 3 แระการ โดยหนึ่งในนั้น คือกลยุทธ์ด้านความปลอภัยและหลักประกันด้านข้อมูลข่าวสาร ซึ่งประกอบด้วยการพัฒนาหลักการด้านความปลอดภัยของข้อมูลระดับภุมิภาค และส่งเสริมความเข้ฒแข็งและประสิทะิภาพของความร่วมมือเพื่อตอบสนองต่อสภานการณ์ฉุกเฉินด้านไซเบอร์อย่างทันท่วงที่ โดยมีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่นให้กับเศราฐกิจดิจิทัลของอาเวียนและปรับปรุงความร่วมมือในการับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินด้านไซเบรอ์ของภูมิภาคให้มีประสทิะิภาพยิ่งขึน
                 นอกจากความร่วมือภายในภูมิภาค อเาียนยังขยายความร่วมือด้านความมั่นคงไซเบอร์กับประเทศคู่เจรจา เช่น ญี่ป่นุทั้งสอปงประเทศได้ร่วมกันออกแถลงการณ์ร่วมเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการต่อต้านการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ พร้อมทั้งยืนยันว่าจะส่งเสริมความมั่นคงปลอดภัยของการใช้เทคดนโบีสานรสนเทศและการสื่อสารและต่อต้านอาชญากรรมไซเบอร์ในรูปแบบต่างๆ ร่วมั้วยังร่วมกันจัดการประชุมหารืออาเวียน- ญี่ปุ่น ว่าด้วยอาชญากรรมไซเบอร์ เพื่อเป็นเวทีหรารือกรอบความร่วมมือและส่งเสริมศักยภาพการรับมือภัยคุกคามไซเบอร์ระหว่างกัน
                 ปัจจุบันสถานการณ์ด้านความมั่นคงไซเบอร์ของขาตคิอาเวียนที่ค่อนข้างล่อแหลม ส่งผลให้ความมั่นคงไซเบอร์กลายเป็นาระเชิงนโยบายที่สำคัญของหลายประเทศ อาทิ มาเลิเซีย ซึ่งได้รับการจัดอันดับให้มีความเสี่ยงต่อการก่ออาชญากรรมทางอินเตอร์เน็ตสูงเป็ฯอันดับ 6 ของโลก ได้เร่ิมบังคับใช้มาตรการต่างๆ ตามนดยบบลายคความมั่นคงไซเบอร์แห่งชาติ อย่างจริงจังตั้งแต่ พ.ศ. 25449
                 
ก่อหน้านี้  รัฐบาลมาเลเซียไดตั้ง คณะกรรมการด้านการสื่อสารและมัลติมีเดียงแห่งมาเลเซีย เพื่อสอด่องการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ภายใต้กฎหมายกานสื่อสารและมัลติมีเดีย พ.ศ. 2541 รวมถึงมีกากรก้ไขพระราชยัญญัติว่าด้วยการยุยงปลุกปั่น เพื่อควบคุมสื่ออนำลน์ให้เข้มงวดย่ิงขึ้น ดดยให้อำนาจเจ้าหน้าที่รัีฐในการปิดกันการเข้าถึงเว็บไซด์ที่มีเนือหายุยงปลุกป่น เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ พร้อมเพ่ิมโทษผุ้กระทำผิดเป็น 3-7 ปี
                ขณะที่สิงคโปร์ ซึ่งมุ่งมั่นพัฒนาประเทศตามดครงการ "ชาติอัจฉริยะ" โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อใช้เทคโนโลยียกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและสงเสริมผลิตภายของประเทศ ได้ลงนามในบันทึกคยวามเข้าใจเพื่อส่งเสริมความมั่นคงไซเอยร์กับอังกฤษพร้อมทั้งร่วมมือกับบริษัทไมโครซอฟท์เพื่อจักตั้งศูนย์อาชญากรรมไซเบอร์แห่งแรกของอาเซียนเมื่อปี 2558
               ด้านฟิลิปปินส์ได้ออกกำหมายป้องปรมอาชญากรรมไซเบอร์ โดยมีจุดประสงค์เพื่อป้องกันการโจรกรรมหรือล้วงข้อมุลทางอินเทอร์เน็ต รวมถึงป้องกันไม่ให้มีการเผยแพร่อนาจารของเด็กและเยาวชน แม้หลายฝ่ายมองว่า กฎหมายฉบับดังกล่าวมีเนื่อหาลดทอนเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เนื่องจากรัฐบาลสามารถสั่งปิดเว็บไซด์ และสอดส่องกิจกรรมออนไลน์ของประชาชนได้โดยไม่ต้องของหมายอนุญาตจากตุลาการก่อน
               ถึงแม้ชาติอาเซียนจะตระหนักถึงปัญหาความมั่นคงไซเบอร์มากขึ้นในช่วงหลัง แต่น่าังเกตุว่าการับมือกับภัยคุกคามไซเบอร์ในระดับประเทศยังเนห้นหนักไปที่การปราบปรามผุ้กระทำผิดที่ส่งผลต่อสถานะของรัฐบาลเป็นสำคัญ ดังเห็นได้จากการบังคับกฎมหายของประเทศต่างๆ ที่มุ่งเป้าเพื่อการปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นและวิพากวิจารณ์รัฐบาล ทำให้ประเด็นความขัดแย้งระหว่งการบังคับใช้กฎหมายด้านความมั่นคงกับสิทธิเสรีภาพของประชาชนได้รับการหยิบยกขึ้นมาถกเถียงอยู่เสมอ และบดบังประเด็นเกี่ยวกับความมั่นคงไซเบอร์ในลักษณะอื่นๆ  ซึ่งยังคงไม่ีค่อยคืบหน้านัก
                ปัญหาหลักๆ เกิดจากการที่ชาติอาเซียนหลายประเทศยังคงขาดแคบนบุคลากรที่มีความรุ้ความสามารถเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและมีควมเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของภัยคุกคามความมั่นคงไซเบอร์จริงๆ แม้สมาชิกบางประเทศ เช่น สิงคโปร์และมาเลเซีย จะมีความเข้ามแข็งด้านความมั่นคงไซเบอร์เป็นลำดับต้นๆ ของโลก แต่ประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะดกลุ่มประเทศ CLMV  ยังคงมีมาตรฐานด้านความมั่นคงไซเยอร์ที่ต่างกันอยุ่มาก
                 สิงนี้ส่งผลให้หลายประเทศยังขาดนโยบายด้านความมั่นคงไซเบอร์ที่มีประสิทะิภาพ ประเมินว่า ปี 2557 ชาติสมาชิกอาเซียนจำต้องสูญเสียเงินรวมกันกว่า 7.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในการสอดส่องและติดตามผุ้กระทำความผิดเกี่ยวกับความพิวเตอร์และอาชญากรรมไซเบอร์
                   นอกจากนี้ หลายประเทศยังคงเปราะบางต่อการโจมตีทางไซเยอร์ ทัเ้งการเข้าถึงโดยไม่ได้รบอนุญาต การรบกวนการทำงานของคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการหลอกลวงและทำลายขอมูล รวมถึงการอดแนมข้อมูลทางการเมือง และการทหารดดยหน่วยงานที่คาดว่าได้รับการสนับสนนุจากชาติมหาอำนาจบางประเทศ
                ข้อจำกัดและความท้าทายเหล่านี้อาจเริ่มแก้ไขได้ด้วยการ่วมแลกเปลี่ยนข้อมุล ความรุ้ และเทคดนดลยีที่จำเป็นทังภายในภูมิภาคและร่วมกับประเทศคู่เจรจาแก้ไขได้ด้วยการร่วมแลกเปลี่ยนข้อมุล ความรุ้ และเทคโนโลยีที่จำเป็ฯทั้งภายในภูมิภาคและร่วมกับประเ สอฃคู่เจรจานอกภูมิภาค การวางกรอบความร่วมมือระดับภูมิภาคร่วมกันอย่างจริงจัง การพัฒนาบุคลการด้านความั่นคงไซเบอร์ตั้งแต่วัยเยา การสนับสนุนการเคลื่อนย้รายโดยเสรีของบุคลากรด้านเทคโนดลยีสารสนเทศและผุที่มีความรู้ความสามารถด้านความมั่นคงไซเบอร์ รวมถึงกาจสนับยสนุนการฝึกอบรมด้านความมั่นคงปลอดภัยของข้อมุลส่วนบุคคลและความมั่นคงไซเบอร์ให้กับนักเรียนนักศึกษาและประชาชนทั่วไป...aseanwatch/..current-issue)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...