วันอาทิตย์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2560

Cross Cultural heritage II

              อียูเป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่าการสร้างเขตการค้าเสรีไม่เป็นเรื่องเศรษฐกิจเท่านั้น การบูรณาการที่เร่ิมจากทางเศาฐกิจนั้น ต่อมาพัฒนาการจะเกี่ยวพันกับภาคส่วนอื่นๆ ของสังคมอย่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นร้านสังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม ด้วยกระบวนการทีเรยกว่า spill - over และการเกิดเขตการค้าเสรีนี้เองจะทำให้เขตแดนและปัญหาทีเกี่ยวเนื่องกับเขตแดน รวมทั้งปัญหาเกี่ยวกับวัฒนธรรมด้วย
              สร้างองค์ความรู้ด้านต่างๆ ให้มีลักษระข้ามพรมแดน
              - มรดกโลกและมรวัฒนธรม คือ วิถะของกรสร้างความร่วมมือข้ามพรมแดนทุกระดับ
                นักวิชาการด้านมรกดวัฒนธรรมและมรดกโลกชี้ให้เห็นว่าการเสนอชื่อขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกของประเทศกำลังพัฒนา เป็นเพียงการทำเพื่อผลประโยชน์ภายในหรือของประเทสนั้นๆ แต่ กลุ่มประเทศอียูสามารถสร้างมรดกวัฒนธรมและสร้างอุตหกรรมมดกวัฒนธรรมเพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยและศรษฐกิจได้ โดยการท่อียูดำเนินนโยบยหลายอย่างที่กระตุ้มให้เกิดทิศทางดงกลาวด้วยกระบวนการที่เรียกว่า "Europeanization of Heritage" ที่ทำให้มรดกวัฒนธรรมที่ติดกับกรอบประวัติศาสตร์ชาติและความเป้นมรดกแห่งชาติ ให้มีความหมายและความสำคัญใฐนะมรดกยุโรป และมรดกโลก
              - เขตแดน พรมแดน โอกาสหรือความขัดแย้ง การก้าวไปสู่เขตเศราฐกิจเสรีอาเซียนต้องเกี่ยวพันกับเรื่องเขตแดนพรมแดน และการไร้พรมแดนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จกกรณีของอียูชี้ให้เห้นว่า
               1. การที่ประเทศสมาชิกมีเขตแดนที่ชัดเจนและมหลาหลยวิธีใการกำหนดเขตแดน และมีการัดการดูแลเกี่่ยวกับเขตแดนที่เป็นระบบด้วยการมีคณะกรรมการที่เกิดจากการร่วมมือกับประเทศเพื่อบ้านในการปักปันและดูแลเรื่องเขตแดน ที่มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในหลยด้านทำงนอย่างบูรณาการ โดยไม่ได้เน้นเรื่องความมันคงเหนือควมร่วมมือทางเศราฐกิจและการอยู่รวมกันอย่างสัติ และปราศจกอคติชาตินิยม ช่วยส่งเสริมการดำเนินงานเพื่อสร้างเขตการต้าเสรี และตลดร่วมยุโรปแบบไร้พรมแดน
               2. การส่งเสริมให้เห็นควมสำคัญของพรมแดนในฐานะที่เป้นที่มาแห่งโอกาสทั้งทางเศาฐกิจ และการศึกษา วัฒนธรมเหนือมของอียู ชี้ให้เห็นว่าองค์การที่เป้นการบูรณาการระดับภูมิภาคนั้นมีความสำคัญยอย่างย่ิงในการนำควมเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกมาสู่ภูมิภาค ดังนั้นอาเซียนซึ่งเป็นกระบวนการบูรณาการภูมิภาคเช่น กันคงต้องให้ความสำคัญกับประเด็นนี้
               3. ปัจจุบันในสหภาพยุโรปมีหน่วยงานสองหน่วยงานที่พยายามสร้างฐนข้อมูลอิเลดทรอนิกส์เกี่ยวกับเขตแดน พรมแดนในสหภาพยุโรปทั้งส่วนที่เกี่ยวกับความเป็นมาในประวัติศาตร์ กฎหมาย และอื่นๆ เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงหากเกิดความสับสนในกาบริหารงาของหน่วยงานรัฐบาลในประเทศต่างๆ และามบริเวณชาแดน รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับช่วยในกรวงแผนสร้างความร่วมมือข้ามพรมแดน ไม่ว่าจะเป็นด้าสาธารณสุขหรือการช่วยเหลือเกี่ยวกับสาธารณภัย
               การสร้างฐนข้อมูลที่มีความโปร่งใส รวมทั้งการทำให้ฐานข้อมูลด้านต่างๆ เกี่ยวกับเขตแดนและเนื้อที่เปิดเผยต่อสธารณชนอย่างกว้างขวงเป็นอีกหนทางหน่งที่ทำให้เขตแดนไม่ใช่เรื่องศักดิ์สิทธิ์และไม่ถูกนำไปใช้เพื่อผลประโยชน์ทางการเมืองของนักการเมือง
             
 - ภาษา ความทรงจำ ประวัติศาสตร์และการสร้างคนรุ่นใหม่สำหรับอาเซียน
                 คนรุ่นสงครามโลกครั้งี่ 2 ในยุโรปเป็นคนรุ่นที่ต้องการให้เกิดการบูรณาการทางการเมืองและเศรษฐกิจที่เกิดการข้ามพรมแดนใภาคส่วนต่างๆ ของสังคม เพื่อให้เกิดสันติภาพที่ถาวร ครุ่นต่อๆ มาได้รับการสร้างให้มความเป็นยุโรปด้วยการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมของเพือ้าน ด้วยการที่อียูสร้างโรงเรียนและสร้างโครงการแลกเปลี่ยน ที่ทำให้นักเรียนนกศึกษาทั่วยุโรปเดินทางไปศกึกษาและเรียนภาษาของประเทศเพื่อนบ้าน นอกจากนี้มีการสร้างสภาบันการศึกาาวิจัยะดับสูง ที่ฟลอเรซื อิตาลี สร้าง่มาตรฐานทางการศึกษาของสหภาพยุโรปที่ทำให้เกิดการสร้างการวิจัยแลการศึกษาที่เข้แข็ง นักเรียน นิสิตนักศึกษาสามารถย้ายไปเรียนตามสถานศึกษาในประเทศเพือบ้านในอียูได้ะดวกขึ้น
                  อียูจริงจังกับการสร้้างมาตรฐาความรู้ทางภาษาภายใอียูเอง ซึ่งสิ่งเหล่านี้ยังไม่เกิดใอาเซียน ส่วนประเทศไทยการสอนภาษาไทยเป็นภษาต่างประเทศ เกิดขึ้นอย่างไม่เป็นระบบนัก มีโรงเรียนเอกชนหน่วยงาสังกัดอฝค์กรคริสตจักรในประเทศไทย โรเรียนเอกชน ละคณะมุษยศาสร์ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ รวมทั้งที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ เร่ิมทำไปบ้างแล้ว รวมทั้งสร้งมาตรฐานการวัดความรู้ภาษาไทยของชาวต่างชาติ แต่โดยภาพรวมยังเป็นแขนงการเรียนภาที่ยังไม่เป็นระบบเนื่องจากขาดพจนานุกรมที่มีคุณภาพ ขาดการพัฒนาการเรียนการสอนท่เป้นระบบ และขาดตำราเรียน
                  บาดแผลที่ฝังในความทรงจำทางสังคมและทางประวัติศาสตร์เป็นสิ่งที่ประเทศสมาชิกอียูดูเหมือนจะก้าวข้าไปได้ แต่ใอาเวียนเองเรื่องนี้ยังเป็นเรื่งอที่ต้องสร้างองค์ความรู้ใหม่ โดยเฉพาะในประเทศไทยที่การสอประวัติศาต์ไทยยังคงมีลักษณะปิดตัวเอง ไม่มองพัฒนการสังคมว่าไทยเป็สวนหนึ่งของสังคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสังคมโลก การเปิดประเด็นการศึกษาประวัติศาตร์ไทยนอกเหนือประวัติศาสตร์ชาติและการักชาติยังอยู่นสภาวะที่ต้องบุกเิกต่อไป แลสภาพสงคมที่เสรีภาพทางวิชกรและเสรีภาพทางการแสดงความคิดเห็นไม่เปิดกว้างการสร้างความรู้ประวัติศสตร์อืนๆ นอกเหนือจกประวัติศาสตร์บาดแผนเป็นเรื่องที่ยังท้าทายประเทไทยและอาเซียนไปพร้อมๆ กัน
                การเตรียมความพร้อมในการสร้างความร่วมมือ
                - ด้านมรกดวัฒนธรมและความร่วมมือข้ามพรมแดนอื่นๆ
                   ประสบการณ์จากอียูชีว่าการสร้างความร่วมือด้านพรมแดนในเชิงปฏิบัตินั้นเกี่ยวพันกับสองเรื่องใหญ่ คือ การประสางาและทำงานร่วมกันของหย่วยงาของรฐบาลระหว่างประเทศและมใช้เวลานาน ประเทศในสหภาพยุโรปบางประเทศมีท้งที่เป็แบบกระจายอำนาจให้กับรัฐบาลท้องถ่ิน เช่น เยอรมนี และมีทั้งที่เป็นลักษณะแบบรวมศูนย์ เช่น โปแลนด์ การมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของหน่วยงานรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับความร่วมมือข้ามพรมแดนที่ต้องการทำั้นเป็นส่ิงสำคัญเนหื่องจกช่ยลดระยะยเวลในการดำเนินงาร และสามารถสร้างความเขาใจใการทำงานร่วมกันได้ดียิ่งขึน
                  อีกประการหนึ่งคือ การ่วมมือข้ามพรมแดนที่เกิดภายใต้กรอบโครงของการบูรณาการระดับภูมิภาอย่างอียูนั้น การปกครองที่มีลักษณะกระจาอำนาการตัดินใจเกี่ยวกับกิจการท้องถ่นให้กับรัฐบาลท้องถ่ินนัถือเป็นหัจจัยเชิงบวกที่ทำให้ควาทร่วมือเกิดขึ้นได้และมีความรวดเร้ซ รวมทั้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้คนในท้องถ่ินมากกว่าการปกครองที่มีการรวมศูนย์ แตประเทศที่มีการปกครองแบบรวมศูนย์นี้สามารถเป็นปัจจัยเชิงบวกได้เช่นกัน หากรัฐบาของประเทศนั้นมีวิสัยทัศน์และมีความจริงใจในการสร้างความรวมมือข้ามพมแดนเพื่อให้ประเทศของตนได้รับประโยชน์อย่งเต็มที่จากากรบูรณาการภุมิภาค
                   
                            มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน ข้อคิดจกสหภาพยุโรปถึงอาเซียน, มรกต เจวจินดา ไมยเออร์, คณะสังคมศาตร์ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ.
           

วันเสาร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2560

Cross Cultural heritage

            ผมแปลแบบกำปั่นทุบดินว่า มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน ผู้รู้ท่านใดมีความรู้ทางด้านภาษาช่วยท้วงติงมาด้วยครับ
              ปัจจุบันอาเซียนตั้งเป้าหมายว่าจะบรรลุการเป็นขตการต้าเสรีอาเซียนในปี ค.ศ. 2015 นอกจาปัญหาการขาดเสถียรภาพทางการเืองปละการขาดความเป็นประชาธิปไตยในประเทศสมาชิก และปัญหาเศรษฐกิจระดับโลกที่รุมเร้าแล้ว ปัญหาใหญ่ที่อาเซียนต้องกล่าวถึงและใส่ใอย่างจริงจังคือ เรื่องของพรมแดนและวัฒนธรรม
              การสร้างเขตการต้าเสรีไม่ได้เป็นเรื่องของเสราฐกิจเท่านั้น อียุเป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่าการบูรณาการที่เร่ิมจากทางเสาฐกิจนั้น ต่อมาพัฒนาไปเกี่ยวพันกับภาส่วนอื่นๆ ของสังคมอย่งหลักเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นต้านสังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ด้วยกระบวนการที่เรียกกันว่าspill-over ตามที่ซองค์ โมเน่ต์ และโรเบิร์ต ชูมาน นัการเมืองฝรั่งเศสที่กลายมาเป็นนัการเมืองของ "ยุโรปใหม่" เชื่อเช่นนั้น นอกจากนี้การเกิดและพัฒนาการของเขตการต้าเสรีนี้เองจะทำให้เขตแดนและปัญหาท่เกี่ยวเนื่องกับเขตแดน รวมทั้งปัญหาเกี่ยวกับวัฒนธรรมมีมากขึ้นในที่นี้ขอกล่าวถึงบางประเด็นที่อาเซียนน่าจะให้ความใส่ใจเบื้องต้น
            - สงครามวัฒนธรรมตามมายาคติของความรักชาติ(แบบไม่สร้างสรรค์) ปัญหารการขาดความชอบธรรมของการบูรณาการระดับภูมิภาคเป็นปัญหาที่ทั้งอียูและอาเซียนต้องเผชิญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ยิ่งกระบวนการบุรณาการพัฒนาในระดับลึกมากขึ้นเท่าใดปัญหาดังกล่าวย่ิงเพิ่มมากขึ้นเป็นเงาตามตัว อียูพยายามแก้ปัญหาดังกล่าวด้วยการทำให้ชาวยุโรปเห็นว่าการบูรณาการทางเศราฐกิจและการเมืองนั้นเป็ฯผลประโยชน์ของตนโดยตรงและเห็นได้ชัดเจนจากสิ่งต่างๆ ในการใช้ชีวิตประจำวัน นอกจากนี้อียูโชคดีทตงท่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ความคิดชาตินิยมและความรักชาติอย่า้องการสร้างความเป็นหนึ่งให้กับชาติของตนด้วยการทำสงครามและทำลยล้างได้แสดงพิษสงเอาไว้จนผุ้คนเอือมระอา
               กรณีของประเทศสมาชิกอาเวียนไมได้เป็นเช่นนั้น ความคิดชาตินิยมและความรักชาินั้นเป็นทั้งการต่อสู้กับประเทศเจ้าอาณานิคมตะวันตกที่ทำให้ประเทศเหล่านี้มีความเป้นตัวตนและเป็นประเทศชาติ และที่สำคัญคือเป็นแหล่งที่มาของอำนา ของกลุ่มทางเศาฐกิจการเมืองของแต่ละประเทศจนไม่สามารถสละเครื่องมือสำคัญนี้ไปได้ ย่ิงไปกว่านั้นความรักชาตินี้ได้รับการปลูกฝังด้วยการเกลียดชังประเทศเพื่อบ้านผ่านความทรงจำร่วใในสังคมและแบบเรียน สงครามเย็นที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1950 จนถึงปลายทศวรรษ 1980 ที่ทำให้ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งขั้วระหว่างคอมมิวนิสต์กับเสรีนิยมย่ิงทำให้บางประเทศ เช่น ไทย เชื่อเข้าไปใหญ่ว่าประเทศเพื่อบ้านล้าหลังตเองนั้นเป็นพี่เบิ้มเจรญกว่าประเทศเพื่อนบ้าน และรับเอาวะธีคิดแบบเจ้าอาณานิคมมาใข้ ด้วยการทำตัวเป็นเจ้าอาณานิคม้อยในกาติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านอีกด้วย เช่น กรณีปราสาทพระวิหารเป็นสงครามวัฒนธรรมที่ถูกใช้เพื่อประโยชน์ทางการเมืองภายใของทั้งไทยและกัมพูชา แต่ส่วนกรณีของไทยนั้นเป็นชตินิยมไร้คลาสกว่าของกัมพูชาตรงที่ยังยึดมั่นถื่อมั่นว่าปราสามพระวิหารและดินแดนที่ตั้งนั้นเป็นของไทยในวาทกรรมชาตินิยมทั้งๆ ที่ปราสามแท่งนี้สมควรเรียกว่า "เปรี๊ยะวิฌฮีย" ตามชาวกัมพูชานับตั้งแต่ศาลโลกตัดสินให้เป็นของกัมพูชาตั้งแต่ พ.ศ. 2505 แล้ว..
               
กรณีอียู เรื่องการสร้างเขตเศรษฐกิจเสรีและตลดร่วมยุโรปที่ทำให้เกิดการข้ามพรมแดนของทุน เรงงาน การบริการ และการค้า โดยเแพาะในส่วนที่ต้องการบูรณาการประเทสสมาชิกในยุโรปตะวนันออก เช่น โปแลนด์ให้เป็นส่วนหนึ่งของอียูนั้น อียูในฐานะองค์กรบูรณาการภูมิภาคกลายเป็นเอเย่นต์ของความเปลี่ยนแปลงด้วยการให้ทุนผ่านนโยบายภูมิภาค ที่ทำให้ประเทศสมาชิกดั้งเดิมอย่างเยอรมนีซึ่งมฐานะทางเศรษฐกิจดีกว่าต้องรอิร่ิมสร้างโครงการร่วมมือข้ามพรมแดน
                ในแง่นี้ สันติภาพและความก้าวหน้าของอาเวียนเป็นส่ิงที่ประเทสสมาชิกของอาเซียนต้องใส่ใมากว่าการใช้ชื่ออาเซียนเพื่อผลประทโยชน์และการยอมรับในประเทศด้วยการใช้ศิลป์วาทะแต่เพียงอย่งเดียวประเทศที่มีเศรษฐกิจดีกว่าและมีปัญหาชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ประเทศไทย อาต้องพิจารณาว่าจะเป็นเอเย่นต์ของความเปลี่ยนแปลงในการสร้างความร่วมมือข้ามพรมแดนกับประเทศเพื่อบ้านในด้านต่างๆ เพิ่มขึ้นอย่างไร
                นักวิชาการด้านมรดกวัฒนธรรมและมดกโลกเสนอสิ่งที่น่าสนใจว่า แรงจูงใและผลประโยชน์ที่ประเทสต่างๆ ได้รับจากการเสนอชื่อมรดกวัฒนธรรมเพื่อกระต้นการท่องเที่ยวและเศรากิจได้น้นเนื่องจกอียุเองดำเนินนโยบายหลายอย่างที่กระตุ้นให้เกิดทิศทางดังกล่าวด้วยกระบวนการที่ทำให้มรดกวัฒนธรรมที่ติดกับกรอบของประวัติศาสตร์ชาติและความเป็นมรดกแห่งชาติ ให้มีความหมายและความสำคัญในฐานะมรดกยุโรปและมรดกโลก ซึ่งเป็นการท้าทายอาเซียนให้เร่งปรับตัวในการลงมือสร้างการบูรณาการอาเวียนบนพื้นฐานของวัฒนธรรมอย่างแท้จริง... (บทความ "มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดนข้อคิดจากสหภาพยุโรปถึงอาเซียน, มรกต เจวินดา ไมรเออร์, คณะสังคมศาสตร์ ม.ศรีนคริทร์วิโรฒ)
             

วันศุกร์ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2560

ASEAN & Disaster

                - สึนามิ แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547  เป็นแผ่นดินไหวใต้ทะเลเกิดขึ้นเมื่อเวลา 7.58 น. ตามเวลาในประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 ธันวาม พ.ศ. 2547 ศูนย์กลางอยู่ลึกลงไปในมหาสมุทรอินเดียใกล้ด้านตะวันตกของตอนเหนือเกาะสุมาตร ประเทศอินโดนีเซีย แรงสันสะเทือนจากแผ่นดินไหว ทำให้เกิดความเสียหายบนเกาะสุมาตรา และยังรับรู้ได้ในภาคใต้ของประเทศไทย
              แผ่นดินไหวเกิดจากการยุบตัวของเปลือกโลกได้มหาสมุทรอินเดีย กระตุ้นให้เกิดคลื่อนสึนามิสูงราว 30 เมตร เข้าทาวทำลายบ้านเรื่อนตามแนวชาวฝังดดยรอบมหาสุทรอินเดีย ประมาณการว่าีผู้เสียชีวิตจากแผ่นดินไหวครั้งนี้ใน 14 ประเทสมากว่า 230,000 คน นับเป็นหนึงในภัยพิบัติทางธรรมชาิครั้งร้ายแรทีสุดในประวัติศาสตร์ ประเทศที่ได้รับความเสียหายมากที่สุดได้แก่ประเทศอินโดนีเซย รองลงมาคือ ประเทศศรีลังกา ประเทศอินเดีย และประเทศไทย ตามลำดับ
               ความรุนแรงของแผ่นดินไหวอยู่ระหว่งแมกนิจูด 9.1-9.3 ตามมาตราโมเมต์ ทำให้แผ่นดินไหวครั้งนี้นับเป็นแผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงเป็นอันดับที่สามตามที่เคยวัดได้จากเครื่องัดแผ่นดินไหว นอกากนี้ยังถือว่าเป็นแผ่นดินไหวที่มีคาบเวลายาวนานที่สุด โดยการสังเกตคางเวลาอยู่ที่ประมาณ 8.3-10 นาที ส่งผลให้แผ่นดินทั่วทั้งผืนโลกเคลื่อนตัวไปถึง 1 เซนติเมตร แลุยังเป็นตัวกะุร้ให้เกิดแผ่นดินไหวในจุดอื่นๆ ของโลกอีกด้วย
                - พายุนาร์กิส หรือพายุหมุนนาร์กิสอันมีความรุนแรงระดับสูง ระดับความรุนแรง : 01B. กำหนดโดยศูนย์ความร่วมมือระหว่างกองทัพเรือและกองทัพอากาสแห่งสหรัฐอเมริกาเพื่อการเตือนภัยไต้ฝุ่น เป็นพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงระดับสูง ซึ่งกระทำให้เกิดภาวะแผ่นดินถล่ม และภาวะมหันตภัย ในประเทศพม่า เมื่อวันที่ 2 พฤษภาค 2551 ส่งผลให้ชาวพม่าเสียชีวิตมากกว่า 130,000 คน ทั้งนี้ เมื่อ พ.ศ. 2549 พายุหมุนมาชา ก็ได้ก่อให้เกิดภาวะเช่นเดียวกันในประเทศพม่า
         
 พายุหมุนนาร์กิสเป็นพายุที่อุบัติขึ้นเป็นลูกแรกในบรรดาที่จะบังเกิดในฤดูพายุกระหน่ำมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ประจำปี 2551
             พายุหมุนนาร์กิสเร่ิมตั้งเค้าเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2551 ณ อ่าวเบงกอล ตอนกลาง ในระยะเริ่มแรกพายุหมุนนาร์กิสเคลื่อนตัวไปททางตะวันตกเฉียงเหนือโดยช้า สภาพเกื้อหนุนในบริเวณดังกล่าวส่งผลให้พายุมีกำลังรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ดี บรรยากาศแห้งแล้งใวันที่ 29 เมษายน 2551 เป็นเหตุให้พายุอ่อนกำลังลง และเปลี่ยนทิศทางไปยังภาตะวันออกของโลก ซึ่งพายุได้ทวีความรุนแรงโดยมีความรเร็วลมสูงสุดอย่างน้อย 165 กิโลเมตรต่อหนึ่งชั่วโมง และต่อมาศูนย์ความร่วมมือระหวางกองทัพเรือและกองทัพอากาศแห่งสหรัฐอเมริกาเพื่อการเตือนภัยใต้ฝุ่นแถลงว่า ความเร็วสูงสุดของพายุหมุนนี้จะทวีเป็นสองร้อยสิบห้ากิโลเมตรต่อหนึ่งชั่วโมง
            หลังจากที่พายุหมุนนาร์กิสขึ้นฝั่งที่เขตอิรวดี ประเทศพม่า โดยมีกำลังลมใกล้เคียงกับความเร็วลมสูงสุด และพัดผ่านนครย่างกุ้งแล้ง ก็ได้อ่อนตัวลงตามลำดับและสลายตัวไป ณ บริเวณขายแดนไทยกับพม่า
              - วิกฤตมหาอุทกภัย 2554 ภัยพิบัติในครั้งนั้นส่งผลกระทบต่อประทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้มากถึง 6 ประเทศ และยังมีความร้ายแรงทากที่สุดในรอบ 50 ปี ของไทย วิกฤติครั้งนี้ก็แสดงให้เห็นถึงความร่วมมือและการช่วยเหลือวึ่งกันและกันของสมาชิกอาเซียน ดังจะเห็นได้จากการที่สาชิกอาเซียนส่งความช่วยเหลือห้กันและกัน ทั้งทีบางประเทศก็ตกอยู่ในฐนะผู้ประสบภัย แต่ก็ยังส่งความช่วยเหลือให้แก่ประเทศอื่น เช่น ลาวและพม่าที่มระดับการพัฒนาทางเศราฐกิจช้ากว่าไทยและตกอยุ่ในาสถานะผู้ประสบภัยก็ยังให้ความช่วยเหลือแก่ไทย นอกจากนี้อาเซียนยังมีบทบามในการบรรเทาสถานการณ์ดดยส่งทีมประเมินสถานการณเคลื่อนที่เร็วฉุกเฉินอาเซียน ลงพื้นที่เพื่อประเมินสถานการณ์ภัยพิบัติน้ำท่วมในไทย เมื่อวันที่ 15  ตุลาคม 2011 ซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 5 คน จากบรูไน อินโดนีเซียน มาเลเซีย  และสิงคโปร์ทำงานร่วมกับฝ่ายไทย 3 คน พร้อมกบมอบชาวสารผ่านองค์กรสำรองข่าวฉุกเฉินของอาเวยนบวกสาม อย่างไรก็ตาม หกยังไม่มีการร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมให้ครอบคลุมมากว่านี้ ปัญหาอุทกภัยก็จะกลายเป็นอุปสรรคตอการพัฒนาของสมาชิกอาเวียน โดยเฉพาะกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม และจะกลายเป็นอุปสรรต่อการสร้างประชาคมอาเซียนตอไป

                        - http//th.wikipedia.org/..แผ่นดินไหวและคลื่อนซึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547
                        - http//th.wikipedia.org/..เหตุการณ์พายุหมุนนาร์กิส_ พ.ศ.2551
                        - aseanwatch.org/.. อาเซียนกับวิกฤตมหาอุทกภัย 2554

วันพฤหัสบดีที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2560

Asian Ministerial Conference on Disaster Risk

             รัฐมนตรีที่รับผิดชอบด้านการจัดการภัยพิบัติขออาเซียนเข้าประชุมร่วมกับผุ้แทนจากสำนักงานเลขาธิการอาเซียนและผู้บริหารศูนย์ประสานงานด้านมนุษยธรรมของอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซียนระหว่างวันที่ 11-13 ตุลาคม 2559 โดยตั้งเป้าพัฒนาอาเซียนให้เป็นประชาคมที่พร้อมตั้งรับกับภับพิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
            ที่ประชุมได้หารือถึงแนวทางขยายความร่วมมือด้านการจัดการภัยพิบัติกับประเทศคู้เจรจาของอาเซยน นอกจากนี้ยังยืนยันจะยกระดับความพร้อมและการตอบสองต่อภัยพิบัติของอาเซียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
            ที่ประชุมยังได้ลงนามในเอกสารสำคัญหลายฉบับ อาทิ แผนงานร่วมในการตอบโต้ภัยพิบัติของอาเซียน ASEAN Joint Disaster Responses Plan แนวทางการประเมินความเประบางและความเสี่ยงของอาเซียน นอกจากนี้ยังยืนยันจะยกระดับความพร้อมและการตอบสนองต่อภัยพิบัติของอาเซียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
           ที่ประชุมยังได้ลงนามในเอกสารสำคัญหลายฉบับ อาทิ แผนงานร่วมในการตอบโต้ภัยพิบัติของอาเซียน ASEAN Risk and Vulnerability Assessmert Guidelines  เป็นต้น
            การประชุมครั้งนี้เป็นผลสืบเนื่องจากการลงนามในปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยอาเซียนร่วมใจเป็นหนึ่งเดี่ยวในการตอบโต้ภัยพิบัติ ASEAN Declaration on One ASEAN One Response ในที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 28 เมื่อเดือนกันยายน 2559 เพื่อผลักดันความร่วมมือด้านภัพิัติในระดับระหว่างภูมิภาค รัฐมนตรีอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติยังรับรองแถลงการณ์ร่วในการประชุมระัระดับรัฐมนตรีแห่งเอเชียว่าด้วยการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ Asian Ministerial Conference on Disaster Risk ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 3-4 พฤศจิกายน 2559 ณ ประเทศอินเดีย แถลงการณ์ดังกล่วจะตอกย้ำว่าอาเซียนให้ความสนับสนุนการดำเนินงานตากรอบเซนได Sendai Framwork เพื่อลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558-2573...(aseanwatch/..อาเซียนมุ่งมั่นสร้างประชาคมที่พร้อมตั้งรับภัยพิบัติ)
          สาระสำคัญ กรอบการดำเนินงานเซนไดเพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558-2573
          จุดมุ่งหมาย เพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและลดการสูญเสียชีวิต วิถีชีวิต และสุขภาพตลอดจนความสูญเสียต่อสินทรัพย์ทางเศราฐกิจ กายภาพ สังคม และสภาพแวดล้อม ของบุคคล ธุรกิจ ชุมชน และประเทศอย่างเป็นรูปธรรม
          เป้าหมาย เพื่อป้องกันไม่ห้เกิดความเสี่ยงใหม่และลดควาเสี่ยงที่อยุ่เดิม ด้วยมาตรการทางเศาฐกิจ โครงสร้าง กฎหมาย สุขภาพ วัฒนธรรม การศึกษา สภาพแวดล้ม เทคโนโลยี การเมือง รวมถึงมาตรการเชิงสถาบัน ที่มีการบูรณากากรและลดความเหลือมล้ำ เพื่อป้องกัน และทำให้ควาล่อแหลมและเปราะบางต่อภัยพิบัติลดน้อยลง ตลอดจนช่วยให้มีการเตรียมความพร้อมสำหรับการเผชิญเหตุและฟื้นฟูที่ดียิ่งขึ้น อันนำไปสู่ความสามารถที่จะรับมือและฟื้นคืนกลับได้ในะยะเวลาที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
          พันธกิจ
          - เข้าใจความเสี่ยงจากภัยพิบัติ หมายถึง นโยบายและมาตรการในการบริหารจัดการความเาี่ยงจากภับพิบัติจะต้องจัดทำขึ้นจากฐานความเข้าใจเรื่องความเสี่ยงจากภัยพิบัติในทุกมิติของความเสี่ยง ประกอบด้วย ความเปราะบาง ศักยภาพ ความล่อแหลมของบุคคลและสินทรัพย์ ลักษณะของภัย และสภาพแวดล้อม ทังนี้ ความรู้ต่อความเสี่ยงภัยพิบัติดังกล่าวจะมผลอย่างมากในการทำการประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติดังกล่าวจะมีผลอย่างมากในการทำการประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติก่อนเกิดภัยพิบัติการป้องกันและลดผลกระทบจากภัยพิบัติ และในการพัฒนาและดำเนินมาตรการเตรียมความพร้อมและเผชิญเหตุภัยพิบัติให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
     
  - เสริมสร้งศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติ หมายถึง ศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติในระดับชาติ ภูมภาค และโลก มีความสำคัญอย่างยิ่งยวดต่อการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้น จึงจำเป็นท่จะต้องมีการกำหนดวิสัยทัศน์ แผนงาน สมรรถนะที่ต้องการ แนวทางการปฏิบัติงาน และการประสานงานทั้งภายในและระหว่างภาคส่วนต่างๆ ให้ชัดเจน ตลอดจนต้องส่งเสริมให้กลุ่มผุ้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่วข้องเข้ามามีส่วนร่วมด้วย การเสริมสร้างศักยภาพในการบริหารและจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติเืพ่อดำเนินมาตรการป้องกัน ลดผลกระทบเตรียมความพร้อม เผชิญเหตุ ฟื้นฟู และบูณะจึงมีความจำเป็นและส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือและหุ้นสวนระหว่างกลไกและองค์กรต่างๆ ในอันท่จะขับเคลื่อนเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและการพัฒนาที่ยั่งยืน
         - ลงทุนในด้านการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติเพื้อให้พร้อมรับมือและฟื้นคืกลับได้ในระยะเวลาที่รวดเร็วและมีประสิทะิภาพ หมายถึง การลงทุนของรัฐและเอกชน การป้องกันและลดควมเสี่ยงจกถับพิบัติโดยมาตรการเชิงโครงสร้าง และไม่ใช้เชิงโครงสร้างมีควาสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนเศราฐกจ สังคม สุขภาพ และวัฒนธรรมของบุคคล ชุมชน ประเทศและสินทรัพย์ รวมทั้งสภาพแวดล้อมให้พร้อมรับมือและพื้นคืนกลับได้โดยเร็วเื่อเกิดภัยพิบัติ ทั้งนี้ การลงทุนดังกล่วยังเป็นแรงขับเคลื่อนให้ เกิดการพัฒนานวัตกรรม การเจริญเติบโต และการสร้างงานได้ ซึ่งมาตรการดังกล่าวนับได้วามีความคุ้มค่าต่อการลงทนุ และส่งผลให้การรักาชีวิต ป้องกัน และลดความสูญเสียเกิดผลเป็นรูปธรม อักทั้งยังช่วยให้การบูรณะฟื้นฟูภายหลังเกิดภัยพิบัติมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นด้วย
          - พัฒนาศักยภาพในการเตียมความพร้อมเผชิญเหตุภัยพิบัติที่ีประสทิะิภาพ ตลอดจนการฟื้นสภาพและซ่อสร้างที่ดีกว่าเดิมในช่วงของการบูรณะฟื้นฟูภายหลังเหตุภัยพิบัติ หมายถึง ความเสี่ยงจากถัยพิบัิตที่เพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึงรวมถึงการที่ประชาชนและสิทรัพย์มีความล่อแหลมที่จะได้รับผลกระทบจากถัยพิบัติเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับบทเรียนจากถัยพิบัติท่เกิดขึ้นในอดีต เป็นัวบงชี้ถึงความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาความพร้อมในการเผชิญเหตุภัยพิบัติ รับมือต่อสถานกาณ์ภัยต่างๆ ที่อาเจเกิดขึ้น ผนวกมาตรการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติในการเตรียมความพร้อมรับมือภับพิลัติ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวจะช่วยพัฒนาศักยภาพให้พร้อมสำหรับการเผชญเหตุ และการฟื้นฟูที่มีประสทิธิภาพสิ่งสำคัญอีกประการ คือ การพัฒนาภาวะผู้นำในกลุ่มสตรีและผุ้พิการให้มีส่วนร่วมในการผลักดันและส่งเสริมความสเมอภาคหญิงชาย และมาตการในการเปชิญเหตุ บูรณะฟื้นฟูที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้นอกจากนี้ ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นได้แสดงให้เห็นว่า ในช่วงของการฟื้นฟูบูรณะที่มีการวางแนล่วงหน้ามาแล้วนั้นถือเป็นโอกาสสำคัญที่จะทำการฟื้นสภพและซ่อมสร้างให้ดีหว่เดิ ด้วยการบูรณาการมาตรการลดความเสี่ยงจากถัยพิบัติไว้ในมารการการพัฒนา เพื่อทำให้ประเทศและชุมชนมีความสามารถในการรับมือและฟื้นคืกลับได้โดยเร็วได้ทุกครั้งที่เกิดภัยพิบัติ
             กลุ่มเป้าหมาย ระดับชาติ, ระดับท้องถิ่น, ระดับภูมิภาค, ระดับโลก, กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประกอบด้วย( ภาคประชาสังคม อาสาสมัคร .., ภาควิชาการ วิทยาศาสตร์ งานวิจัย, ภาคธุรกิิจ สมาคมวิชาชีพและสถาบันการเงิน, สื่อมวลชน), องค์การระหว่างประเทศ
         
 ตัวชี้วัดระดับโลก การดำเนินงานของประเทศสมาชิกและภาคีเคื่อข่ายจะนำมาพิจารณาถึงความสำเร็จในภาพรวมการดำเนินงานของโลก ประกอบด้วบ 7 ตัวชี้วัด ดังนี้
            - อัตราการเสียชีวิตจากภัยพิบัติ ของโลกลดลงอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พงศ. 2573 โดยค่าเฉลี่ยการเสียชีวิตจากภัยพิบัติต่ออัตราการเสียชีวิตของประชากรโลก 1 แสนคน ระหว่างปี พ.ศ. 2563-2573 จะต้องน้อยกว่าค่าเฉลี่ยระหว่งปี 2548-2558
            - จำนวนผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติของโลกลดลงอย่างเป็นรูปธรรมภายในปี พ.ศ. 2573 โดยค่าเฉลี่ยของผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติต่อประชากรโลก 1 แสนคน ระหว่างปี พ.ศ. 2563-2573 จะต้องน้อยกว่าาค่าเฉลี่ยระหว่างปี 2548-2558
            - ความสูญเสียทางเศราฐกิจที่เกิดจาภัยพิบัติโดยตรงลดลงเมื่อเที่ยบกับผลิตภัณฑ์รวมประชาชาติของโลก ภายใปี พ.ศ. 2573
             - สาธารณูปดภคที่สำคัญ และยริการสาธารณะพื้นฐาน ได้แก่สถานพยาบาลและสถานศึกษาได้รับความเสียหายจากภัยพิบัติลดลงอย่างเป็นรูปธรรม จากการพัฒนาวมพร้อมในการับมือและฟื้นกลับได้อย่างรวดเร็วเมื่อเกิดภัยพิบัติ ภายในปี พ.ศ. 2573
             - จำนวนประเทศที่มียุทธศาสตร์ลดความเสี่ยงภัยพิบัติในระดบชาติและระดับ้องถ่ินเพ่ิมขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พ.ศ. 2563
             - มีการยกระดับการให้คววาม่วยเหลือระหว่างประเทศแก่ประเทศกำลังพัฒนา ด้วยการให้การสนับสนุการดำนเนิการตากรอบนี้ในระดับชาติที่เพีงพอและยั่งยื ภายในปี พ.ศ. 2573
              - ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าและข้อมูลความเสี่ยงภัยพิบัติเพ่ิมมากขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี พ.ศ. 2573...( pdf.Sendai Framwork for Disaster Risk Rduction 2015-2030)

วันพุธที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

National Institute for Emergency Medicine

               สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ(สพฉ.) เป็นสถาบันที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉินปี พ.ศ. 2551 เพื่อเป็นองค์กรรับผิดชอบการบริหารจัดการ การประสานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ และเอกชน รวมถึงการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถ่ินให้เข้ามามีบทบาในการบริหารจัดการการจัดบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ทั้งนี้เหตุปลดังกล่วได้ปรากฎในส่วนของหมายเหตุ : เหตุผลประกอบในการประกาศใช้พระราชบัญญัติ

               ใน พ.ศ. 2536 กระทรวงสาธารณะสุขได้รับความช่วยเหลือทางเทคนิคจาก องค์การของญี่ปุ่น JICA ในการจัดตั้งศูนย์อุบัติเหตุ ณ โรงพยาบาลขอนแก่น ซึ่งครอบคลุการให้บริการช่วยเหลือก่อนถึงโรงพยาบาล ด้วย ต่อมา พ.ศ. 2537 โรงพยาบาลวชิรพยาบาลได้เปิดให้บริการรถพยาบาลฉุกเฉินโดยใช้ชื่อว่า SMART ตามแผนป้องกันอุบัติภัยของกรุงเทพมหานคร และ พ.ศ. 2538 กระทรวงสาธารณสุขได้เปิดตัวต้นแบบระบบรักษาพยาบาลก่อนถึงโรงพยาบาล ณ โรงพยาลาลราชวิถีในชื่อ "ศูนย์กู้ชีพนเรนทร์" โดยภายหลัง โรงพยาบาลนพรัตนราชธานีและโรงพยาบาลเลิดสิน ได้เข้าร่วมเครือข่ายให้บริการด้วยต่อมากระทรวงสาะารณสุขได้จัดตั้งสำนึกงานระบบบริการการแพทย์ฉุุกเฉิน ขึ้นเป็นหน่วยงานในสำนักงาปลัดกระทรวงสาธาณสุขและดำเนินงานการแพทย์ฉุกเฉินมาอย่างต่อเนื่อง หนวยงาน/องค์กรทั้งหลายท่กล่าวมานี้จึงเป็นตัวกำเนิดที่มาของ "สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ" ทำหน้าที่พัฒนางานการแพทย์ฉุกเฉินมาจนมีความก้าวหน้า และผลงานเป็นที่ประจักษ์ในวงกว้าง
              การขยายบทบาทมาเป็นสถบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ซึ่งเป็นองค์กรของรัฐที่มฐานะเป็นนิติบุคคลในกำกับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ก็เพื่อให้มีรูปแบบการบริหารจัดการที่มีความคล่องตัวและสามารถบริหารงานตามนโยบายการบริหารงานของคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้การแพทย์ฉุกเฉินของประเทศไทย สามารถก้าวหระโดไป ส่งผลให้ผู้ป่วยฉึกเฉินได้รบการุ้มรองสิทธิในการเข้าถึงระบบการแพทย์แุกเฉินอย่งทั่วถึง เท่าเที่ยม มีคุณภาพมาตรฐาน ตามเจตนารมณ์จองพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ได้อย่างแท้จริง..www.niems.go.th.."สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ(สพฉ.), ประวัติองค์กร)
               ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีสถิติผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตมากที่สุดในโลก จากเหตุภัยพิบัติธรรมชาติ สึนามิภาคใต้ แผ่นดินไหวรุนแรงภาคเหนือ เหตุภัยหนาว น้ำท่วม และภัยพิบัติที่เกิดจาการกระทำของมนุษย์ โดยเฉพาะเหตุการณ์ ตึกถล่ม สารเคมีรั่วไหลและ อุบัติเหตุหมู่บนท้องถนน เช่น รถตกเขา รถตกเหว รถพลิกคว่ำ รถชนกัน ไฟไหม้รถ รถแก๊สระเบิด ฯลฯ อุบัติเหตุทางน้ำ เรื่อล่ม แพแตก โป๊ะลม ไฟไหม้เรือ เรือชนตอม่อ...
               สาเหตุหนึ่งที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตเพราะการข่วยเหลือของหน่วยงานหลัก รวมถึงกู้ชีพ กู้ภัย เข้าไปในที่เกิดเหตุล่าช้า การช่วยเหลือเป็นไปด้วยความยากลำบาก ลำเลียงผู้บาดเจ็บออกไ่ทัน ทำงานไม่เป็นระบบ ทำให้เกิดเหตุการณ์ซ้ำซ้อนในจุดเกิดเหตุขึ้นอีก นำไปสู่การสูญเสียชีวิตของผู้ประสบภับและผู้เข้าไปช่วยเหลือในที่สุด
               สพฉ. ได้รับมอบหมายจาก รัฐมนตรีสาธารณสุข 10 ประเทศอาเซียน ให้เป็น ศูนย์กลางการเรียนรู้เพิ่มศักยภาพ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ หลังปรากฎ ตัวเลขผู้เสียชีวิตในไทย หลังเกิดเหตุ มากถึงร้อยละ 40 ด้วยเหตุผลดังกล่าว สพฉ.และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย จัดประชุมวิชาการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน สถานการณ์ภัยพิบัตินานาชาติในไทย เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 22-25 มิถุนายน 2558
              การจัดประชุมวิชาการดังกล่าวมีกิจกรรมน่าสนใจ คือ การแข่งขันแรลลี่ช่วยเหลือผุ้ป่วยฉุกเฉินจากเหตุสาธารณภัยในอาเซียน ภายใต้คอนเซ็ปต์ โดยรูปแบบของกิจกรรมจะมีการจำลองเหตุการณ์เสมือนจริง 4 ฐาน คือ สถานการณ์น้ำท่วมรุนแรง ในโรงพยาบาล
ต้องลำเลียงผุ้ป่วยออกามาให้ทันท่วงท่ หนึ่งในนั้นมีผุ้้ป่วยท้องแก่ใกล้คลอด รวมถึงฐานปฏิบัติช่วยเหลือเหตุ สารเคมีรั่วไหลในโรงงานอุตสาหกรรมขนดใหญ่ ... บรรยากาศเป็นไปด้วยความสามัคคี พร้อมเพรียงเป็นหนึ่งเดี่ย ทุกทีมต่างทำงานแข่งกับเวลา โดยไม่รู้มาก่อนว่า จะต้องเผชิญเหตุการณ์เฉพาะหน้าอย่างไรบ้างโดยสรุปผลลัพธ์ที่ได้ตรงตามเป้าหมายการจัดการคือ การทำงานร่วมกันนันเอง...
            การฝึกประชุมเชิงวิชาการการแพทย์ฉุกเฉินอาเซยนละการซ้อมรับสถานการณ์จริงครั้งนี้ มีคณะทำงานแพทย์ฉุกเฉินญี่ปุ่นร่วมสังเกตุการร์ด้วยในฐานะผู้ฝึกสอนพร้อมประเมินคะแนนมาตรฐานช่วยเหลือผุ้ประสบภัยพิบัติของไทยว่า อยู่ที่ระดับ 2-3 ใน 5 ระดับ เพราะขาดประสบการณฺ
            ทัตสุโอะ โอโนะ เลขาธิการหน่วยแพทย์รอบรับสาธารณภัย กระทรวงสุขภาพ แรงงานและสัสดิการประเทศญี่ปุ่น ให้เหตุผลว่า การแพทย์ฉุกเฉินไทยยังอ่อนซ้อม ต้องฝึกบ่อยๆ ให้เกิดความชำนาญ แม้จะยังไม่เกิดเหตุก็ตาม เมื่อเกิดเกตุจริงจะสามารถทำงานได้เลย หลายคนยังขาดประสบการณ์ แต่ยังไมาสายเกินไป  ถ้าจะเริ่มต้นในตอนนี้เพราะไทยน่าเป็นห่วย เรื่องภัยพิบัติธรรมชาติที่ไม่คาดคิด เช่น เหตุสึนามิในอดีต เหตุน้ำท่วมครั้งใหญ่ และเหตุแผ่นดินไหว...www.komchadluek.net/..ยกระดับการแพทย์ฉุกเฉินไทย สู่ศูนย์กลางช่วยภัยพิบัติอาเซียน)

วันอังคารที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

AHA Center

              ASEAN coordinating  Centre for Humanittarian ศูนย์ประสานงานเพื่อการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมเกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ AHA Center เป็นองค์กรระหว่างรัฐบาลที่มีเป้าหมายเพื่อำนวนความสะดวกในการประสานงานระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับสหประชาชาติแลองค์การระหว่างประเทศในการจัดการภัยพิบัติและตอบสนองฉุกเฉินในภูมิภาคอาเซียน
              ศูนย์ประสานงานอาเซียนเพื่อการช่วบเหลือด้านมนุษยธรรมเกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ เป็ฯองค์กรระหว่างรัฐบาลที่มีเป้าหมายเพื่อำนวยความสะดวกในการประสานงานนระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับสหประชาชาติแบะองค์การระหว่างประเทศในการจัดการภัยพิบัติและการตอบสนองฉุกเฉินในภูมิภาคอาเซียน ศูนย์ฯ ก่อตั้งขึ้นโดยประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ เมื่อวันที่ 17 พศจิกายน พ.ศ. 2554 โดยผ่านการลงนามในข้อตกลงจัดตั้งศูนย์ประสานงานอาเซียนเพื่อช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมในการจัดการในบาหลี อินโดนีเซีย  ข้อตกลงดังกล่าวได้ลงนามดดยรัฐมนตรีต่างประทเศอาเซียนซึ่งได้รับการเห็นจากประมุขแห่งรัฐอาเซียน  ศูนย์อาเซียนถูกควบคุมโดยสมาชิกขงอคณะกรรมาธิการอาเซียนว่าด้วยการจัดการภัยพิบัติ ACDM ประกอบด้วยประมุขแห่งสำนักงานบริหารจัดการภัยพิบัติแห่งชาติ ซึ่งเชื่อมโยงกับประเทศสมาชิกอาเซียน เป็นเาภาพโดยรัฐบาลอินโดนีเซีย  AHA Centerให้บริการแก่ประเทศสามชิกจากสำนักงานในกรุงจาการ์ต้า
             เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ีในภูมิภาคที่มีภัยพิบัติมากทีสุดแห่งปนึ่งของโลกและภัยธรรมชาติเกือบทุกประเภทรวมทั้งศึนามิ แผ่นดินหว น้ำท่วม พายุไต้ฝุ่น พายุไซโคล ภัยแล้ง แผ่นดินถล่ม และภูเขาไฟระเบิด ภัยพิบัติที่สำคัญที่อาเซียนประสบคือ สึนามิในมหาสมุทรอินเดียว และพายุไซโคลนนากิส
             นับตั้งแต่เร่ิมจัดตั้งอาเซียนประเทศสมาชิกได้หารือเกี่ยวกับความร่วมมือในการจัดการภัยพิบัติ และตัดสินใจจัดตังคณะกรรมการอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติ ACDM และ ในปี 2548 รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนได้ลงนามในข้อตกลงการจัดการภัยพิบัติและการตอบสนองฉุกเฉิน AADMER ในเวยงจันทน์สปป.ลาว มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้กลไกที่มีประสทิะภาพในการลดการสูญเสยจากภัยพิบัติในชีวิตและทรัพย์สินทางเศราฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างมีประสิทธิภาพและเพื่อร่วมกันตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉินด้วยการร่วมมือกันในระดับประเทศและความร่วมมือในระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น
            AADMER ได้มอบหมายจัดตั้งศูนย์ประสานงานอาเซียนเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมเกี่ยวกับการจัดการภัยำิบลัติ เพื่อเป็นกลไกในการดำเนินงาน ศูนย์อาเซียนได้รบการจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 โดยการลงนามในข้อตกลงจัดตั้งศูนย์อาเซียนโดยรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนซึ่งได้รับการเห็นจากประมุขอาเซียนในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 19 ที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย..(ahacenter.org/history/..ประวัติศาสตร์/ศูนย์ AHA Center)
            อาเซียนตื่นตัวรับภัยพิบัติ ร่วมพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ตั้งศูนย์ AHA Center  ประสานความช่วยเหลือ เชื่อมข้อมูลระหว่างอาเซียน ขณะที่ไทยเตียมทีมแพทย์เคลื่อที่เร็วพร้อมรับมือ ด้านพม่าเล็งพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ชูไทยเป็นต้นแบบที่ดี ด้านผุ้เชี่ยวชาญจากญี่ป่นุย้ำต้องเน้นพัฒนาศักยภาบุคลากร นำระบบมาใช้ให้เหมาะกับสภาวะประเทศ
         
ที่สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ได้มีการจัดการประชุมแลกเปลี่ยนระหว่าง สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่ง (สพฉ.) และทีม Japan International Cooperation Agency (JICA) ซึ่งประกอบไปด้วยทีมแพทย์ผุ้เชียวชาญจากประเทศญปุ่นและประเทศพม่าที่เข้ารวมแลกเปลี่ยนการทำงานกันในครั้งนี้ด้วย เพื่อร่วมกันพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินในไทย รวมทั้งการแพทย์ฉุกเฉินในอาเซีน ดดยเฉพาะประเด็นเรื่องการเตีรยมรับมือกับภับพิบัติที่จะเกิดข้น
            นพ. ประจักษวิช เล็นาค รองเลขาธิการถาบันการแพทย์ฉุกเฉิืนแห่งชาติ (สพฉ.) กบ่าวว่า ในปัจจุบันภัยพิบัติเป็นสิ่งที่ทุกประเทศตระหนัก และในระดับอาเซียนก็เชนกัน จึงีการ่่วงมกันพัฒนาและประยุกต์ใช้ความร่วมมือจากข้อตกลงอาเซียน เพื่อเตียมพร้อมรบมือภัยพิบัติไรือที่เรียกว่า AADMER โดยจัดตั้งหน่วยงานกลาง คือ AHA Center  หรือ ศูนย์ประสานงานสำหรับการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมการจัดการภัยพิบัติ ตั้งอยู่ที่สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ดดยมีวัตพุประสงค์เพื้ออำนวยความสะดวกในการประสานงาน เพื่อรวบรวมข้อมูล่ข่าวสาร ติดตามสถานกาณณ์ภัยพิบัติต่างๆ และประสานความช่วยเหลือระหว่งกันของประเทศอาเวียน สำหรับประเทศไทยเครียมความพร้อมโดยพัฒนาทีมแพทย์ฉุกเฉินเคลื่อนที่เร็วในการรับมือภัยพิบัติ อบรมเพ่ิมทักษะควมรู้ จัดหาอุปกรณ์ที่จำเป้น เพื่อการช่วยเหลอตัวเอง และพร้อมให้ความช่วยเหลือเมื่อมีการ้องของด้วย
         
รองเลขาธิการสพฉ. กล่าวต่อถึงการเตียมรับมือภับยพิบัติในประเทศไทยว่า ปัจจุบันประเทศไทยตระหนักและเตรียมพร้อมมากขึ้น ดดยมีการพัฒนาทีมผุ้ปฏิบัติการให้มีความพร้อม และได้พัฒนาทีมผู้ปฏิบัติการแุกเฉินเคลื่อนที่เร็วขึ้น ซึ่งได้นำจุดดี จุดเด่น ของทีมลักษระเดียวกันของประเทศต่างๆ มาปรับใช้ ทั้งในเรื่องความคล่องตัวในการช่วยเหลือ จำนวนผุ้เชี่ยวชาญในทีม เป็นนต้น นอกจากนี้ สพฉ. ยังเล็งเห็นว่าระบบบัญชาการในภาวะภัยพิบัติหรือ ICS จะทำให้การทำงาน การสั่งการ การประสานระหว่างกันดียิ่งขึ้น รวมทั้งยังจัดให้มีซ้อมการเผชิญเหตุภัยพิบัติอย่างสมำ่เสมอเพื่อเป็นการเตยมพร้อมให้ผุ้ปฏิบัติและเพื่อให้เกิดความชำนาญการหากต้องเผชิญกับสถานการณ์ภัยพิบัติจริง
            ขณะที่ผุ้เชียวชาญระบบการแพทย์ฉุกเฉินจากประเทศพม่า Dr. Toe Thiri แพทย์จากโรงพยาบาลย่างกุ้ง กล่าวว่าถึงแม้ที่พม่าจะมีการพัฒนาระบบขชองการักษาพยาบาลให้ดีขึ้นตามลำดับแล้ว แต่ทุกๆ
โรงพยาบาลก็จะมีข้อจำกัด คือมีจำนวนของบุคลากรที่มีควาเมเชี่ยวชาญในจำนวนที่จำกัด โดยโรงพยาบาลหนึ่งแห่งจะมีรถที่คอยรับส่งผุ้ป่วยเพียงแค่หนึ่งคัน ซึ่งสิ่งที่เราขาดเป็นอย่างมากคือการฝึกอบรมบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญในเรื่องของการช่วยเหลือชีวิตผู้คนในสถานกาณ์ฉุกเฉิน ทั้งนี้ก่อนที่เราจะมาดูงานที่ประเทศไทยเราได้ไปดูงานที่ประเทศญ่ีปุ่นมาแล้ว ซึ่งระบบการแพทย์ฉุกเฉินประเทญีปุ่่นนั้นจตะมีความแตกต่างจากประเทศไทยอยู่มาพอสมควร แต่สำหรับพม่าระบบการแพทย์ฉุกเฉินในประเทศไทย่าจะเป็นต้นแบบที่ดี เพราะมีปัจจับยและสภาวะแวดล้อมหลายด้านที่ใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ สิ่งที่ประทับใจกับการทำงานของสพฉ. และระบบการแพทย์ฉุกเฉินไทยคือความมุ่งมั่นใน การทำงานเพื่อที่จะช่วยเหลือประชาชนที่ประสบเหตุภัยพิบัติ โดยเริ่มจากการจัดตั้งหน่วยงเล็กๆ ลงไป ในพื้นที่ และหน่วยเล็กๆ เหล่านั้นสามารถปรับเปลี่ยนการทำงานให้ขยายใหญ่ขึ้นและประสานการทำงานกับหลายฝ่ายเพื่อช่วยเหลือประชาชนในประเทศตนเองได้ นอกจากนี้ การที่องคกรที่
ทำงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินนั้นแยกออกมาเป็นองค์กรอิสระและทำงานโดยไม่ต้องอยู่ภายใต้ระบบมาก ทำงานด้วยความเป็นอิสระ ก็จะยิ่งทำให้การช่วยเหลือคนเป็นไปอย่างคล่องตัว ซึ่งต่างกับพม่าก่อนที่จะทำการช่ยเหลือผุ้คนได้เราต้องปรึกษากันกับหลายหน่วยงาน ซึ่งประเด็นนี้เราจะนำไปปับปรุงและนำเสนอให้เกิดการพัฒนาในประเทศของเราต่อไป           
         ด้าน Mr. Makato Yamasahita Director General, JICA Headquater ผุ้เชี่ยวชาญจากประเศญี่ปุ่นกล่าวแนะนำถึงการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินในประเทศไทยและอาเซียนว่าสิ่งสำคัญของการพัฒนาคือต้องพัฒนาคุณภาพของบุคลากรให้มีศักยภาพมาก ซึ่งเมื่อพร้อมมากก็จะยิ่งช่วยชีวิตผุ้ป่วยได้มาก อย่างไรก็ตามในการพัฒนาเรื่องการแพทย์ฉุกเฉินเราไม่ควรจะเปรียบเทียบว่าระบบการแพทย์ฉุกเฉินประเทศใดพัฒนากว่ากัน เพราะสิ่งสำคัญที่สุดคือการปรับระบบให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมและสภาวะในประเทศนั้นๆ เพื่อการพัฒนาที่มีประสิทธิภาพ..(thaiemsinfo.com/..อาเซียนตื่นตัวรับภับพิบัติ ร่วมพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน)
               
         
             

วันจันทร์ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

Disaster

            ภัยพิบัติ ตามคำจำกัดความของ Webster's New Encyclopedic Dictionnary, 1994 หมายถึงภัยำิบัติที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันยากที่จะคดกาณณืได้ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาพดั้งเดิม ทำความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ขณะที่นิยามขอ Center for Research on the Epidemiology of Disasters ซึ่งเป็นหน่วยงานที่จัดทำฐานข้อมูบเืองภัยพิบัติให้คึำนิยาม ว่า หมายถึง สถานการณ์หรือเกตุกาณณ์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างใหญ่หลวงเป็นความสูญเสีย และความทุกข์ยากของมนุษย์ เกิดโดยไม่คาดคิด หรือเกิดขึ้นอย่างกะทันหัน เกิดความสามารถขงอท้องถ่ินที่จะแก้ไช ต่องระดมความช่วยเหลือภายนอกในระดัาติหรือนานาชาติ ซึ่งในพ.ศ. 2550 CRED กับหน่วยงสรที่เกี่ยวข้อง ได้ร่วมกันจัดทำคำจำกัดความที่เป็นมารตฐานซึงเบื้องต้นมีการแบ่งภัยพิบชัรออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ภัยพิับัิตทางะรรมชาติ และภ-ัยพิบัติทางเทคโนโลยี ซึ่งภัยพิบัติแต่ละประเทเภทยังมีการแบ่งบ่อยลงไปเป็นประเภทต่างๆ 
          - ภัยพิบัติทางธรรมชาติ แบ่งเป็น Biological disaster เช่น โรคระบาด(แมลง,ไวรัส,แบคที่เรียฯลฯ),  Geophysical disaster เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินเลื่อน, Climatogical disater เช่น ภัยแล้ง ไฟป่า อุึณหภูมิสูง-ต่ำผิดปกติ (คลื่นความร้อน, หิมะถล่ม), Hydrological disaster เช่น น้ำท่วม และ Meteorological disaster เช่น พายุชนิดต่างๆ โดยบางครั้งมีการรวมภัยพิบัติ เข้าด้วยกันและเรียกว่า Hydro-meteorological disaster
           3 ภัยพิบัติทางเทคโนโลยี เป็นภัยที่เกิดจาเทคโนโลนี เช่น อุบัติเหตุในอุตสาหกรรม (แก๊ซร่วม ระเบิดฯลฯ) การขนส่ง (อุบัติเหตุทางอากาศ ทางถนน ฯลฯ) อื่นๆ เช่น ตึกถล่ม ไฟไหม้
           ขณะที่ประเทศไทยให้ความหมายของ ภัยพิบัติทางธรราชาติ ว่าหมายถึง ภัยอนตรายต่าง ที่เกิดขึ้นตามะรรมชาต ิลแมีลผปลระทบต่อชีวิต ความเป็นอยู่ของมนุษย์ โดยแบ่งประเภทตามลักษณะการเกิดออกเป็น วาตภัย อุทกภัย แผ่นดินไหว พายุฝนฟ้าคะนอง ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินถลฃ่น อัคคีภัย ภัยแล้ง และไฟป่า... 
            ความร่วมมือด้านการเตือนภัยและการจัดการต้านภัยพิบัติ ความเสียหายที่เกิดจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ เมื่อเกิดขึ้นแล้วล้วนเป็นสิ่งที่ทุกประเทศต้องการหาทางป้องกันและลดความสูญเสียให้มากที่สุด องค์การสหประชาชมติได้ประกาศให้วันพุธที่สองของเดือนตะลาคมชของทุกปีเป็นวันรณรงค์ลดภัยพิบัติสากล จากที่ประชุมใหญ่ของสหประชาชาติในปี พ.ศ. 2532 เพื่อให้เป็นการเตื่อนและเฝ้าระวังภัยพิบัติประจำปี หลังจากทีการกำหนดให้พ.ศ. 2533-2542 เป็นทศวรรษสากลแห่งการลดภัยพิบัติการประชุมสหประชาชาติเมื่อปี พ.ศ. 2544 ยังให้คงวันรณรงค์ลดภัยพิบัติสากลต่อไปเพื่อเป็นเครื่องมือในการกระตุ้นให้ทั่วโลกเกิดความตระหนักในการร่วมมือกันป้องกันและละความเสียหายจากภัยพิบัติ โดยกำหนดประเด็นในการรณรงค์ทุกๆ 2 ปี  โดยประเด็นประจำ พ.ศ. 2549-2550 คือการลดภัยพิบัติเร่ิมจากโรงเรียน และประเด็นรณงค์ประจำปี 2551-2552 คือ โรงพยาบาลปลอดภัยทางภัยพิบัติ
           ยังมีการตั้งหน่วยงานต่างๆ และมีความรวมมือระหวาประเทศเพื่อร่วมกันหาทางป้องกันและแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติ หน่วยงานและโครงการของสหประชาชาติที่เกี่ยวข้องกับถภัยพิบัติ คือ โครงการยุทธศาสตร์นานาชาติเพื่อการลดภัยพิบัติแก่งสหประชาชาิ ทำหน้าที่ส่งเสริม ประสานงานระหว่างประเทศ และสนอแนะแนวทางในการลดภัยพิบัติที่มีประสิทธิภาพภายใต้แนวทางสหประชาชาติ รวมทั้งการดำเนินการตามกรอบ Hyogo Framework For Action (ค.ศ. 2005-2015) หน่วยงานื่อนที่เกี่ยวข้องกับการให้ควมช่วยเหลือผุ้ประสบภับคือ UN (OCHA), World Program,UNICEF,UNHCR
              ในภูมิภาคเอเชีย ได้มีการจัดตังองค์กรหน่วยงานต่างๆ เพื่อร่วมมือกันระหว่างประเทศต่างๆ ในภูมิภาค และที่อื่นๆ เช่น 
               - ศูนย์ลดภัยพิบัติแก่งเอชียน ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2541 ประกอบด้วยสมาชิกจาก 27 ประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เป็นศูนย์กลางการส่งเสริมความร่วมมือระหวา่งประเทศในการลบดภัยพิบัติ 2. สงสเริมการแลกเปลี่ยนความรู้ และผุ้เชี่ยวชาญด้านการลดภัยพิบัติ 3. รวบรวม บริการข้อมูลด้านภัยพิบัติ 4. ศึกษาวิจัย ด้านการลดภัยพิบัติ ศูนย์นี้มีที่ตั้งสำนักงานอยู่ที่เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น
                - ศูนย์เครียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติแห่งเอชีย จัดตั้งขึ้นดดยคำแนะนำของ UN เมื่อพ.ศ. 2529 ปัจจุบันมีคณะกรรมการอำนยการ 21 คน จาก 15 ประเทศ มีวัตถุปรสงค์เพื่อให้คำปรึกษานการเตือนภัย และบรรเท่าภัยพิบัติในภูมิภาคสำนักงานตั้งอยุ่ที่สถาบัน Asian Institute of Techonogy กรุงเทพฯ ประเทศไทย
               
- คณะกรรมการพายุใต้ฝุ่น ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2511 เพื่อส่งเสริมและร่วมมือระหวางประเทศสมาชิก 14 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันความเสียหายที่เกิดจากพายุใต้ฝุ่น ำนักงานตั้งอยุ่ที่มาเก๊า ประเทศจีน
                - คณะกรรมการอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติ ตั้งขึ้นเมพื่อ พ.ศ. 2511 
                การป้องกันภัยพิบัติ
                แม้เหตุการณ์ภัยพิบัติหลายประเภทจะยากต่อการป้องกัน และไม่สามารถคาดเดาเวลาที่จะเกิดขึ้นได้อย่างแน่นอน เมื่อเกิดความสูญเสียขึ้นจจึงส่งผลกระทบต่อชีวิต ทรัพย์สินเป็นวงกว้าง แต่การเตือนภัยพอย่างเป็นระบบ มีการให้ความรู้แก่ประชาชนและการฝึกซ้อมเพื่อเตียมรับภัยพิบัติเวลาเกิดเหตุย่อมช่วยลดความสูญเสียได้มาก รวมทั้งการวางมาตรการให้ความช่วยเหลืออย่างทันท่วงทมี่ก็สามารถขช่วยบรรรเทาความเสนียหาย และฟื้นฟูผุ้ประสบภัยให้กลับคือสู่สภาพปกติได้โดยเร็ว
                การให้ความรุ้ปละการเตียมรับมือภัยพิบัติ ประเทศญี่ป่นุเ้กิดแผ่นดินไหวมากที่สุดในโลก รัฐบาลให้ความสำคัญกับการให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับแผ่นดินไหวและการเอาตัวรอดเมื่อเิดเหตุ โดยมีการสอนจั้งแต่เด็ก มีการสอบในชั้นเรียนทั้งภาคทฤษฎีและภาพปฏิบัติ ดดยเรียนรู้เกี่ยวกับสาเหตุการเกิดแผ่นดินไหว เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังแผ่นดินไหว เช่น ดินถล่ม คลื่นยักษ์ ฯลฯ และวิธีการเอาตัวรอดเมื่อเกิดแผ่นดินไหวโดยีการฝึกซ้อมอย่างจริงัง ญี่ป่นุมีศูนบ์แผ่นดินไหวที่ให้ความรู้เรื่องปผ่นดินไหว รวมทั้งคนต่างชาติที่เข้าไปเรียนหรือทำงานในประเทศี่ป่นุ จะได้รับข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการเอาตัวรอดเมื่อเกิดแผ่นดินไหว ผุ้ที่เป้นเรียนและนักศึกษายังต้องเข้าเรียนและรับการฝึกทักษะการเอาตัวรอดที่ศูนย์แผ่นดินไหวของญี่ป่นุด้วย
               การเรียนรู้จากความรู้พื้นล้าน มีการาบรวมบทเรียนจากความรุ้ทีีมีการสืบทอดจากคนรุ่นก่อนๆ เช่น ในประเทศอินเดียมีการใช้วัสดุในทองถ่ิ แฃละสร้างย้านเป็ฯรูปทรงกลม ซึ่งทำให้ลดแรงกระทบจากลมพายุ การปลูกไม่ไผ่ ญ้าแฝก เพื่อลดการพังทลายของดินเป็นความรู้ที่ชาวบ้านหลายพื้นที่ใช้กันอยู่การสร้างแนวปะทะเคลื่นนทะเลเพื่อลอแรงปะทะของคลื่น เป็นความรู้ที่สืบทอดกันมาแต่สมัยโบราณของญี่ปุ่น การสังเกตการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเลโดยผ่านเรืองเล่าสืบทอดกันมาของชาวมอแกนทางภาคใต้ของไทยเป็นเทคนิคที่ทำให้สามารถช่วยชวิตชาวมอแกนในหมู่เกาะสุรินทร์และนักท่องเที่ยวจำนวนมากจากเหตุการณ์สึนามิ
                แม้ปัจจุบัน วิทยาการสมัยใหม่สามารถช่วยให้มนุษย์เรียนรุ้ภัยพิบัติได้มากขึ้น แต่ยังเกินความสามารถของมนุษย์ในการเอเชนะภัยพิบัติเหล่านั้น ผลกระทบที่เกิดขึ้นนอกจากการสูญเสียชีิวติทรัพย์สินภัยพิบัติทางะรรมชาติทำให้คนจำนวนมากต้องอยพจากถ่ินที่อยู่ เพราะสูญเสียที่อยู่อาเศัยสูญเสียที่ดินประกอบอาชีพ ทำให้วิถีชิวิตเปลี่ยนแปลงไป การป้องกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้นถัยพิบัติที่คาดเาดเวลาที่จะเกิดขึ้นไม่ได้ การเตรียมพร้อมในกรเผชิญกับภัยพิบัติ ตั้งแต่การมีระบบเตือนภัยอย่างเป้นทากงารและไม่เป็นทางการ ให้ข้อมูลให้ความรู้แก่ประชาชนทุกระับ ทังจากความรู้สมัยใหม่หรือความรู้จากพื้นบ้าน ดดยเฉพาะในการใส่ในบทเรียนการศึกษา รวมทังการฝึกว้อมให้สามารถปฏิบัติตัวได้เวลาเกิดเหตุจริง ย่อมเป็นประโยชน์ในการลดความสูญเสียได้อย่างมากเช่นเดียวกับการให้ความสำคัญกับมาตรการให้ความช่วยเหลืออย่างทันท่วงที ล้วนเป็นสิ่งจำเป็นที่จะช่วยลดความสูญเสีย และบรรเทาความทุกข์จากผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติทั้งหลายได้มาก ดังบทเรียนที่เรียนรุ้ได้จากเหตุการณ์ภัยพิบัติในประเทศเอเชียในปีที่ผ่านมา..
                        file : //... ความมั่นคงอาเซียน (สถานการณ์อาเซียน)/ภัยพิบัติ/ บทความ "ภัยพิบัติทางธรรมชาติในเอเซียน..ผลกระทบและบทเรียน" เปรมใจ..
            

Official vote counting...(3)

                    แม้คะแนนอย่างเป็นทางการจะยังไม่ออกมา แต่แฮร์ริสก็ยอมรับความพ่ายแพ้ แต่ยืนกรานว่าการต่อสู้ จะดำเนินต่อไป             รองป...