National Institute for Emergency Medicine

               สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ(สพฉ.) เป็นสถาบันที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉินปี พ.ศ. 2551 เพื่อเป็นองค์กรรับผิดชอบการบริหารจัดการ การประสานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ และเอกชน รวมถึงการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถ่ินให้เข้ามามีบทบาในการบริหารจัดการการจัดบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ทั้งนี้เหตุปลดังกล่วได้ปรากฎในส่วนของหมายเหตุ : เหตุผลประกอบในการประกาศใช้พระราชบัญญัติ

               ใน พ.ศ. 2536 กระทรวงสาธารณะสุขได้รับความช่วยเหลือทางเทคนิคจาก องค์การของญี่ปุ่น JICA ในการจัดตั้งศูนย์อุบัติเหตุ ณ โรงพยาบาลขอนแก่น ซึ่งครอบคลุการให้บริการช่วยเหลือก่อนถึงโรงพยาบาล ด้วย ต่อมา พ.ศ. 2537 โรงพยาบาลวชิรพยาบาลได้เปิดให้บริการรถพยาบาลฉุกเฉินโดยใช้ชื่อว่า SMART ตามแผนป้องกันอุบัติภัยของกรุงเทพมหานคร และ พ.ศ. 2538 กระทรวงสาธารณสุขได้เปิดตัวต้นแบบระบบรักษาพยาบาลก่อนถึงโรงพยาบาล ณ โรงพยาลาลราชวิถีในชื่อ "ศูนย์กู้ชีพนเรนทร์" โดยภายหลัง โรงพยาบาลนพรัตนราชธานีและโรงพยาบาลเลิดสิน ได้เข้าร่วมเครือข่ายให้บริการด้วยต่อมากระทรวงสาะารณสุขได้จัดตั้งสำนึกงานระบบบริการการแพทย์ฉุุกเฉิน ขึ้นเป็นหน่วยงานในสำนักงาปลัดกระทรวงสาธาณสุขและดำเนินงานการแพทย์ฉุกเฉินมาอย่างต่อเนื่อง หนวยงาน/องค์กรทั้งหลายท่กล่าวมานี้จึงเป็นตัวกำเนิดที่มาของ "สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ" ทำหน้าที่พัฒนางานการแพทย์ฉุกเฉินมาจนมีความก้าวหน้า และผลงานเป็นที่ประจักษ์ในวงกว้าง
              การขยายบทบาทมาเป็นสถบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ซึ่งเป็นองค์กรของรัฐที่มฐานะเป็นนิติบุคคลในกำกับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ก็เพื่อให้มีรูปแบบการบริหารจัดการที่มีความคล่องตัวและสามารถบริหารงานตามนโยบายการบริหารงานของคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้การแพทย์ฉุกเฉินของประเทศไทย สามารถก้าวหระโดไป ส่งผลให้ผู้ป่วยฉึกเฉินได้รบการุ้มรองสิทธิในการเข้าถึงระบบการแพทย์แุกเฉินอย่งทั่วถึง เท่าเที่ยม มีคุณภาพมาตรฐาน ตามเจตนารมณ์จองพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ได้อย่างแท้จริง..www.niems.go.th.."สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ(สพฉ.), ประวัติองค์กร)
               ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีสถิติผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตมากที่สุดในโลก จากเหตุภัยพิบัติธรรมชาติ สึนามิภาคใต้ แผ่นดินไหวรุนแรงภาคเหนือ เหตุภัยหนาว น้ำท่วม และภัยพิบัติที่เกิดจาการกระทำของมนุษย์ โดยเฉพาะเหตุการณ์ ตึกถล่ม สารเคมีรั่วไหลและ อุบัติเหตุหมู่บนท้องถนน เช่น รถตกเขา รถตกเหว รถพลิกคว่ำ รถชนกัน ไฟไหม้รถ รถแก๊สระเบิด ฯลฯ อุบัติเหตุทางน้ำ เรื่อล่ม แพแตก โป๊ะลม ไฟไหม้เรือ เรือชนตอม่อ...
               สาเหตุหนึ่งที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตเพราะการข่วยเหลือของหน่วยงานหลัก รวมถึงกู้ชีพ กู้ภัย เข้าไปในที่เกิดเหตุล่าช้า การช่วยเหลือเป็นไปด้วยความยากลำบาก ลำเลียงผู้บาดเจ็บออกไ่ทัน ทำงานไม่เป็นระบบ ทำให้เกิดเหตุการณ์ซ้ำซ้อนในจุดเกิดเหตุขึ้นอีก นำไปสู่การสูญเสียชีวิตของผู้ประสบภับและผู้เข้าไปช่วยเหลือในที่สุด
               สพฉ. ได้รับมอบหมายจาก รัฐมนตรีสาธารณสุข 10 ประเทศอาเซียน ให้เป็น ศูนย์กลางการเรียนรู้เพิ่มศักยภาพ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ หลังปรากฎ ตัวเลขผู้เสียชีวิตในไทย หลังเกิดเหตุ มากถึงร้อยละ 40 ด้วยเหตุผลดังกล่าว สพฉ.และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย จัดประชุมวิชาการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน สถานการณ์ภัยพิบัตินานาชาติในไทย เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 22-25 มิถุนายน 2558
              การจัดประชุมวิชาการดังกล่าวมีกิจกรรมน่าสนใจ คือ การแข่งขันแรลลี่ช่วยเหลือผุ้ป่วยฉุกเฉินจากเหตุสาธารณภัยในอาเซียน ภายใต้คอนเซ็ปต์ โดยรูปแบบของกิจกรรมจะมีการจำลองเหตุการณ์เสมือนจริง 4 ฐาน คือ สถานการณ์น้ำท่วมรุนแรง ในโรงพยาบาล
ต้องลำเลียงผุ้ป่วยออกามาให้ทันท่วงท่ หนึ่งในนั้นมีผุ้้ป่วยท้องแก่ใกล้คลอด รวมถึงฐานปฏิบัติช่วยเหลือเหตุ สารเคมีรั่วไหลในโรงงานอุตสาหกรรมขนดใหญ่ ... บรรยากาศเป็นไปด้วยความสามัคคี พร้อมเพรียงเป็นหนึ่งเดี่ย ทุกทีมต่างทำงานแข่งกับเวลา โดยไม่รู้มาก่อนว่า จะต้องเผชิญเหตุการณ์เฉพาะหน้าอย่างไรบ้างโดยสรุปผลลัพธ์ที่ได้ตรงตามเป้าหมายการจัดการคือ การทำงานร่วมกันนันเอง...
            การฝึกประชุมเชิงวิชาการการแพทย์ฉุกเฉินอาเซยนละการซ้อมรับสถานการณ์จริงครั้งนี้ มีคณะทำงานแพทย์ฉุกเฉินญี่ปุ่นร่วมสังเกตุการร์ด้วยในฐานะผู้ฝึกสอนพร้อมประเมินคะแนนมาตรฐานช่วยเหลือผุ้ประสบภัยพิบัติของไทยว่า อยู่ที่ระดับ 2-3 ใน 5 ระดับ เพราะขาดประสบการณฺ
            ทัตสุโอะ โอโนะ เลขาธิการหน่วยแพทย์รอบรับสาธารณภัย กระทรวงสุขภาพ แรงงานและสัสดิการประเทศญี่ปุ่น ให้เหตุผลว่า การแพทย์ฉุกเฉินไทยยังอ่อนซ้อม ต้องฝึกบ่อยๆ ให้เกิดความชำนาญ แม้จะยังไม่เกิดเหตุก็ตาม เมื่อเกิดเกตุจริงจะสามารถทำงานได้เลย หลายคนยังขาดประสบการณ์ แต่ยังไมาสายเกินไป  ถ้าจะเริ่มต้นในตอนนี้เพราะไทยน่าเป็นห่วย เรื่องภัยพิบัติธรรมชาติที่ไม่คาดคิด เช่น เหตุสึนามิในอดีต เหตุน้ำท่วมครั้งใหญ่ และเหตุแผ่นดินไหว...www.komchadluek.net/..ยกระดับการแพทย์ฉุกเฉินไทย สู่ศูนย์กลางช่วยภัยพิบัติอาเซียน)

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)