AHA Center

              ASEAN coordinating  Centre for Humanittarian ศูนย์ประสานงานเพื่อการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมเกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ AHA Center เป็นองค์กรระหว่างรัฐบาลที่มีเป้าหมายเพื่อำนวนความสะดวกในการประสานงานระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับสหประชาชาติแลองค์การระหว่างประเทศในการจัดการภัยพิบัติและตอบสนองฉุกเฉินในภูมิภาคอาเซียน
              ศูนย์ประสานงานอาเซียนเพื่อการช่วบเหลือด้านมนุษยธรรมเกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ เป็ฯองค์กรระหว่างรัฐบาลที่มีเป้าหมายเพื่อำนวยความสะดวกในการประสานงานนระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับสหประชาชาติแบะองค์การระหว่างประเทศในการจัดการภัยพิบัติและการตอบสนองฉุกเฉินในภูมิภาคอาเซียน ศูนย์ฯ ก่อตั้งขึ้นโดยประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ เมื่อวันที่ 17 พศจิกายน พ.ศ. 2554 โดยผ่านการลงนามในข้อตกลงจัดตั้งศูนย์ประสานงานอาเซียนเพื่อช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมในการจัดการในบาหลี อินโดนีเซีย  ข้อตกลงดังกล่าวได้ลงนามดดยรัฐมนตรีต่างประทเศอาเซียนซึ่งได้รับการเห็นจากประมุขแห่งรัฐอาเซียน  ศูนย์อาเซียนถูกควบคุมโดยสมาชิกขงอคณะกรรมาธิการอาเซียนว่าด้วยการจัดการภัยพิบัติ ACDM ประกอบด้วยประมุขแห่งสำนักงานบริหารจัดการภัยพิบัติแห่งชาติ ซึ่งเชื่อมโยงกับประเทศสมาชิกอาเซียน เป็นเาภาพโดยรัฐบาลอินโดนีเซีย  AHA Centerให้บริการแก่ประเทศสามชิกจากสำนักงานในกรุงจาการ์ต้า
             เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ีในภูมิภาคที่มีภัยพิบัติมากทีสุดแห่งปนึ่งของโลกและภัยธรรมชาติเกือบทุกประเภทรวมทั้งศึนามิ แผ่นดินหว น้ำท่วม พายุไต้ฝุ่น พายุไซโคล ภัยแล้ง แผ่นดินถล่ม และภูเขาไฟระเบิด ภัยพิบัติที่สำคัญที่อาเซียนประสบคือ สึนามิในมหาสมุทรอินเดียว และพายุไซโคลนนากิส
             นับตั้งแต่เร่ิมจัดตั้งอาเซียนประเทศสมาชิกได้หารือเกี่ยวกับความร่วมมือในการจัดการภัยพิบัติ และตัดสินใจจัดตังคณะกรรมการอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติ ACDM และ ในปี 2548 รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนได้ลงนามในข้อตกลงการจัดการภัยพิบัติและการตอบสนองฉุกเฉิน AADMER ในเวยงจันทน์สปป.ลาว มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้กลไกที่มีประสทิะภาพในการลดการสูญเสยจากภัยพิบัติในชีวิตและทรัพย์สินทางเศราฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างมีประสิทธิภาพและเพื่อร่วมกันตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉินด้วยการร่วมมือกันในระดับประเทศและความร่วมมือในระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น
            AADMER ได้มอบหมายจัดตั้งศูนย์ประสานงานอาเซียนเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมเกี่ยวกับการจัดการภัยำิบลัติ เพื่อเป็นกลไกในการดำเนินงาน ศูนย์อาเซียนได้รบการจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 โดยการลงนามในข้อตกลงจัดตั้งศูนย์อาเซียนโดยรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนซึ่งได้รับการเห็นจากประมุขอาเซียนในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 19 ที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย..(ahacenter.org/history/..ประวัติศาสตร์/ศูนย์ AHA Center)
            อาเซียนตื่นตัวรับภัยพิบัติ ร่วมพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ตั้งศูนย์ AHA Center  ประสานความช่วยเหลือ เชื่อมข้อมูลระหว่างอาเซียน ขณะที่ไทยเตียมทีมแพทย์เคลื่อที่เร็วพร้อมรับมือ ด้านพม่าเล็งพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ชูไทยเป็นต้นแบบที่ดี ด้านผุ้เชี่ยวชาญจากญี่ป่นุย้ำต้องเน้นพัฒนาศักยภาบุคลากร นำระบบมาใช้ให้เหมาะกับสภาวะประเทศ
         
ที่สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ได้มีการจัดการประชุมแลกเปลี่ยนระหว่าง สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่ง (สพฉ.) และทีม Japan International Cooperation Agency (JICA) ซึ่งประกอบไปด้วยทีมแพทย์ผุ้เชียวชาญจากประเทศญปุ่นและประเทศพม่าที่เข้ารวมแลกเปลี่ยนการทำงานกันในครั้งนี้ด้วย เพื่อร่วมกันพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินในไทย รวมทั้งการแพทย์ฉุกเฉินในอาเซีน ดดยเฉพาะประเด็นเรื่องการเตีรยมรับมือกับภับพิบัติที่จะเกิดข้น
            นพ. ประจักษวิช เล็นาค รองเลขาธิการถาบันการแพทย์ฉุกเฉิืนแห่งชาติ (สพฉ.) กบ่าวว่า ในปัจจุบันภัยพิบัติเป็นสิ่งที่ทุกประเทศตระหนัก และในระดับอาเซียนก็เชนกัน จึงีการ่่วงมกันพัฒนาและประยุกต์ใช้ความร่วมมือจากข้อตกลงอาเซียน เพื่อเตียมพร้อมรบมือภัยพิบัติไรือที่เรียกว่า AADMER โดยจัดตั้งหน่วยงานกลาง คือ AHA Center  หรือ ศูนย์ประสานงานสำหรับการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมการจัดการภัยพิบัติ ตั้งอยู่ที่สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ดดยมีวัตพุประสงค์เพื้ออำนวยความสะดวกในการประสานงาน เพื่อรวบรวมข้อมูล่ข่าวสาร ติดตามสถานกาณณ์ภัยพิบัติต่างๆ และประสานความช่วยเหลือระหว่งกันของประเทศอาเวียน สำหรับประเทศไทยเครียมความพร้อมโดยพัฒนาทีมแพทย์ฉุกเฉินเคลื่อนที่เร็วในการรับมือภัยพิบัติ อบรมเพ่ิมทักษะควมรู้ จัดหาอุปกรณ์ที่จำเป้น เพื่อการช่วยเหลอตัวเอง และพร้อมให้ความช่วยเหลือเมื่อมีการ้องของด้วย
         
รองเลขาธิการสพฉ. กล่าวต่อถึงการเตียมรับมือภับยพิบัติในประเทศไทยว่า ปัจจุบันประเทศไทยตระหนักและเตรียมพร้อมมากขึ้น ดดยมีการพัฒนาทีมผุ้ปฏิบัติการให้มีความพร้อม และได้พัฒนาทีมผู้ปฏิบัติการแุกเฉินเคลื่อนที่เร็วขึ้น ซึ่งได้นำจุดดี จุดเด่น ของทีมลักษระเดียวกันของประเทศต่างๆ มาปรับใช้ ทั้งในเรื่องความคล่องตัวในการช่วยเหลือ จำนวนผุ้เชี่ยวชาญในทีม เป็นนต้น นอกจากนี้ สพฉ. ยังเล็งเห็นว่าระบบบัญชาการในภาวะภัยพิบัติหรือ ICS จะทำให้การทำงาน การสั่งการ การประสานระหว่างกันดียิ่งขึ้น รวมทั้งยังจัดให้มีซ้อมการเผชิญเหตุภัยพิบัติอย่างสมำ่เสมอเพื่อเป็นการเตยมพร้อมให้ผุ้ปฏิบัติและเพื่อให้เกิดความชำนาญการหากต้องเผชิญกับสถานการณ์ภัยพิบัติจริง
            ขณะที่ผุ้เชียวชาญระบบการแพทย์ฉุกเฉินจากประเทศพม่า Dr. Toe Thiri แพทย์จากโรงพยาบาลย่างกุ้ง กล่าวว่าถึงแม้ที่พม่าจะมีการพัฒนาระบบขชองการักษาพยาบาลให้ดีขึ้นตามลำดับแล้ว แต่ทุกๆ
โรงพยาบาลก็จะมีข้อจำกัด คือมีจำนวนของบุคลากรที่มีควาเมเชี่ยวชาญในจำนวนที่จำกัด โดยโรงพยาบาลหนึ่งแห่งจะมีรถที่คอยรับส่งผุ้ป่วยเพียงแค่หนึ่งคัน ซึ่งสิ่งที่เราขาดเป็นอย่างมากคือการฝึกอบรมบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญในเรื่องของการช่วยเหลือชีวิตผู้คนในสถานกาณ์ฉุกเฉิน ทั้งนี้ก่อนที่เราจะมาดูงานที่ประเทศไทยเราได้ไปดูงานที่ประเทศญ่ีปุ่นมาแล้ว ซึ่งระบบการแพทย์ฉุกเฉินประเทญีปุ่่นนั้นจตะมีความแตกต่างจากประเทศไทยอยู่มาพอสมควร แต่สำหรับพม่าระบบการแพทย์ฉุกเฉินในประเทศไทย่าจะเป็นต้นแบบที่ดี เพราะมีปัจจับยและสภาวะแวดล้อมหลายด้านที่ใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ สิ่งที่ประทับใจกับการทำงานของสพฉ. และระบบการแพทย์ฉุกเฉินไทยคือความมุ่งมั่นใน การทำงานเพื่อที่จะช่วยเหลือประชาชนที่ประสบเหตุภัยพิบัติ โดยเริ่มจากการจัดตั้งหน่วยงเล็กๆ ลงไป ในพื้นที่ และหน่วยเล็กๆ เหล่านั้นสามารถปรับเปลี่ยนการทำงานให้ขยายใหญ่ขึ้นและประสานการทำงานกับหลายฝ่ายเพื่อช่วยเหลือประชาชนในประเทศตนเองได้ นอกจากนี้ การที่องคกรที่
ทำงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินนั้นแยกออกมาเป็นองค์กรอิสระและทำงานโดยไม่ต้องอยู่ภายใต้ระบบมาก ทำงานด้วยความเป็นอิสระ ก็จะยิ่งทำให้การช่วยเหลือคนเป็นไปอย่างคล่องตัว ซึ่งต่างกับพม่าก่อนที่จะทำการช่ยเหลือผุ้คนได้เราต้องปรึกษากันกับหลายหน่วยงาน ซึ่งประเด็นนี้เราจะนำไปปับปรุงและนำเสนอให้เกิดการพัฒนาในประเทศของเราต่อไป           
         ด้าน Mr. Makato Yamasahita Director General, JICA Headquater ผุ้เชี่ยวชาญจากประเศญี่ปุ่นกล่าวแนะนำถึงการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินในประเทศไทยและอาเซียนว่าสิ่งสำคัญของการพัฒนาคือต้องพัฒนาคุณภาพของบุคลากรให้มีศักยภาพมาก ซึ่งเมื่อพร้อมมากก็จะยิ่งช่วยชีวิตผุ้ป่วยได้มาก อย่างไรก็ตามในการพัฒนาเรื่องการแพทย์ฉุกเฉินเราไม่ควรจะเปรียบเทียบว่าระบบการแพทย์ฉุกเฉินประเทศใดพัฒนากว่ากัน เพราะสิ่งสำคัญที่สุดคือการปรับระบบให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมและสภาวะในประเทศนั้นๆ เพื่อการพัฒนาที่มีประสิทธิภาพ..(thaiemsinfo.com/..อาเซียนตื่นตัวรับภับพิบัติ ร่วมพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน)
               
         
             

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)