ASEAN & Disaster

                - สึนามิ แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547  เป็นแผ่นดินไหวใต้ทะเลเกิดขึ้นเมื่อเวลา 7.58 น. ตามเวลาในประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 ธันวาม พ.ศ. 2547 ศูนย์กลางอยู่ลึกลงไปในมหาสมุทรอินเดียใกล้ด้านตะวันตกของตอนเหนือเกาะสุมาตร ประเทศอินโดนีเซีย แรงสันสะเทือนจากแผ่นดินไหว ทำให้เกิดความเสียหายบนเกาะสุมาตรา และยังรับรู้ได้ในภาคใต้ของประเทศไทย
              แผ่นดินไหวเกิดจากการยุบตัวของเปลือกโลกได้มหาสมุทรอินเดีย กระตุ้นให้เกิดคลื่อนสึนามิสูงราว 30 เมตร เข้าทาวทำลายบ้านเรื่อนตามแนวชาวฝังดดยรอบมหาสุทรอินเดีย ประมาณการว่าีผู้เสียชีวิตจากแผ่นดินไหวครั้งนี้ใน 14 ประเทสมากว่า 230,000 คน นับเป็นหนึงในภัยพิบัติทางธรรมชาิครั้งร้ายแรทีสุดในประวัติศาสตร์ ประเทศที่ได้รับความเสียหายมากที่สุดได้แก่ประเทศอินโดนีเซย รองลงมาคือ ประเทศศรีลังกา ประเทศอินเดีย และประเทศไทย ตามลำดับ
               ความรุนแรงของแผ่นดินไหวอยู่ระหว่งแมกนิจูด 9.1-9.3 ตามมาตราโมเมต์ ทำให้แผ่นดินไหวครั้งนี้นับเป็นแผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงเป็นอันดับที่สามตามที่เคยวัดได้จากเครื่องัดแผ่นดินไหว นอกากนี้ยังถือว่าเป็นแผ่นดินไหวที่มีคาบเวลายาวนานที่สุด โดยการสังเกตคางเวลาอยู่ที่ประมาณ 8.3-10 นาที ส่งผลให้แผ่นดินทั่วทั้งผืนโลกเคลื่อนตัวไปถึง 1 เซนติเมตร แลุยังเป็นตัวกะุร้ให้เกิดแผ่นดินไหวในจุดอื่นๆ ของโลกอีกด้วย
                - พายุนาร์กิส หรือพายุหมุนนาร์กิสอันมีความรุนแรงระดับสูง ระดับความรุนแรง : 01B. กำหนดโดยศูนย์ความร่วมมือระหว่างกองทัพเรือและกองทัพอากาสแห่งสหรัฐอเมริกาเพื่อการเตือนภัยไต้ฝุ่น เป็นพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงระดับสูง ซึ่งกระทำให้เกิดภาวะแผ่นดินถล่ม และภาวะมหันตภัย ในประเทศพม่า เมื่อวันที่ 2 พฤษภาค 2551 ส่งผลให้ชาวพม่าเสียชีวิตมากกว่า 130,000 คน ทั้งนี้ เมื่อ พ.ศ. 2549 พายุหมุนมาชา ก็ได้ก่อให้เกิดภาวะเช่นเดียวกันในประเทศพม่า
         
 พายุหมุนนาร์กิสเป็นพายุที่อุบัติขึ้นเป็นลูกแรกในบรรดาที่จะบังเกิดในฤดูพายุกระหน่ำมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ประจำปี 2551
             พายุหมุนนาร์กิสเร่ิมตั้งเค้าเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2551 ณ อ่าวเบงกอล ตอนกลาง ในระยะเริ่มแรกพายุหมุนนาร์กิสเคลื่อนตัวไปททางตะวันตกเฉียงเหนือโดยช้า สภาพเกื้อหนุนในบริเวณดังกล่าวส่งผลให้พายุมีกำลังรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ดี บรรยากาศแห้งแล้งใวันที่ 29 เมษายน 2551 เป็นเหตุให้พายุอ่อนกำลังลง และเปลี่ยนทิศทางไปยังภาตะวันออกของโลก ซึ่งพายุได้ทวีความรุนแรงโดยมีความรเร็วลมสูงสุดอย่างน้อย 165 กิโลเมตรต่อหนึ่งชั่วโมง และต่อมาศูนย์ความร่วมมือระหวางกองทัพเรือและกองทัพอากาศแห่งสหรัฐอเมริกาเพื่อการเตือนภัยใต้ฝุ่นแถลงว่า ความเร็วสูงสุดของพายุหมุนนี้จะทวีเป็นสองร้อยสิบห้ากิโลเมตรต่อหนึ่งชั่วโมง
            หลังจากที่พายุหมุนนาร์กิสขึ้นฝั่งที่เขตอิรวดี ประเทศพม่า โดยมีกำลังลมใกล้เคียงกับความเร็วลมสูงสุด และพัดผ่านนครย่างกุ้งแล้ง ก็ได้อ่อนตัวลงตามลำดับและสลายตัวไป ณ บริเวณขายแดนไทยกับพม่า
              - วิกฤตมหาอุทกภัย 2554 ภัยพิบัติในครั้งนั้นส่งผลกระทบต่อประทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้มากถึง 6 ประเทศ และยังมีความร้ายแรงทากที่สุดในรอบ 50 ปี ของไทย วิกฤติครั้งนี้ก็แสดงให้เห็นถึงความร่วมมือและการช่วยเหลือวึ่งกันและกันของสมาชิกอาเซียน ดังจะเห็นได้จากการที่สาชิกอาเซียนส่งความช่วยเหลือห้กันและกัน ทั้งทีบางประเทศก็ตกอยู่ในฐนะผู้ประสบภัย แต่ก็ยังส่งความช่วยเหลือให้แก่ประเทศอื่น เช่น ลาวและพม่าที่มระดับการพัฒนาทางเศราฐกิจช้ากว่าไทยและตกอยุ่ในาสถานะผู้ประสบภัยก็ยังให้ความช่วยเหลือแก่ไทย นอกจากนี้อาเซียนยังมีบทบามในการบรรเทาสถานการณ์ดดยส่งทีมประเมินสถานการณเคลื่อนที่เร็วฉุกเฉินอาเซียน ลงพื้นที่เพื่อประเมินสถานการณ์ภัยพิบัติน้ำท่วมในไทย เมื่อวันที่ 15  ตุลาคม 2011 ซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 5 คน จากบรูไน อินโดนีเซียน มาเลเซีย  และสิงคโปร์ทำงานร่วมกับฝ่ายไทย 3 คน พร้อมกบมอบชาวสารผ่านองค์กรสำรองข่าวฉุกเฉินของอาเวยนบวกสาม อย่างไรก็ตาม หกยังไม่มีการร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมให้ครอบคลุมมากว่านี้ ปัญหาอุทกภัยก็จะกลายเป็นอุปสรรคตอการพัฒนาของสมาชิกอาเวียน โดยเฉพาะกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม และจะกลายเป็นอุปสรรต่อการสร้างประชาคมอาเซียนตอไป

                        - http//th.wikipedia.org/..แผ่นดินไหวและคลื่อนซึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547
                        - http//th.wikipedia.org/..เหตุการณ์พายุหมุนนาร์กิส_ พ.ศ.2551
                        - aseanwatch.org/.. อาเซียนกับวิกฤตมหาอุทกภัย 2554

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)