Cross Cultural heritage II

              อียูเป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่าการสร้างเขตการค้าเสรีไม่เป็นเรื่องเศรษฐกิจเท่านั้น การบูรณาการที่เร่ิมจากทางเศาฐกิจนั้น ต่อมาพัฒนาการจะเกี่ยวพันกับภาคส่วนอื่นๆ ของสังคมอย่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นร้านสังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม ด้วยกระบวนการทีเรยกว่า spill - over และการเกิดเขตการค้าเสรีนี้เองจะทำให้เขตแดนและปัญหาทีเกี่ยวเนื่องกับเขตแดน รวมทั้งปัญหาเกี่ยวกับวัฒนธรรมด้วย
              สร้างองค์ความรู้ด้านต่างๆ ให้มีลักษระข้ามพรมแดน
              - มรดกโลกและมรวัฒนธรม คือ วิถะของกรสร้างความร่วมมือข้ามพรมแดนทุกระดับ
                นักวิชาการด้านมรกดวัฒนธรรมและมรดกโลกชี้ให้เห็นว่าการเสนอชื่อขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกของประเทศกำลังพัฒนา เป็นเพียงการทำเพื่อผลประโยชน์ภายในหรือของประเทสนั้นๆ แต่ กลุ่มประเทศอียูสามารถสร้างมรดกวัฒนธรมและสร้างอุตหกรรมมดกวัฒนธรรมเพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยและศรษฐกิจได้ โดยการท่อียูดำเนินนโยบยหลายอย่างที่กระตุ้มให้เกิดทิศทางดงกลาวด้วยกระบวนการที่เรียกว่า "Europeanization of Heritage" ที่ทำให้มรดกวัฒนธรรมที่ติดกับกรอบประวัติศาสตร์ชาติและความเป้นมรดกแห่งชาติ ให้มีความหมายและความสำคัญใฐนะมรดกยุโรป และมรดกโลก
              - เขตแดน พรมแดน โอกาสหรือความขัดแย้ง การก้าวไปสู่เขตเศราฐกิจเสรีอาเซียนต้องเกี่ยวพันกับเรื่องเขตแดนพรมแดน และการไร้พรมแดนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จกกรณีของอียูชี้ให้เห้นว่า
               1. การที่ประเทศสมาชิกมีเขตแดนที่ชัดเจนและมหลาหลยวิธีใการกำหนดเขตแดน และมีการัดการดูแลเกี่่ยวกับเขตแดนที่เป็นระบบด้วยการมีคณะกรรมการที่เกิดจากการร่วมมือกับประเทศเพื่อบ้านในการปักปันและดูแลเรื่องเขตแดน ที่มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในหลยด้านทำงนอย่างบูรณาการ โดยไม่ได้เน้นเรื่องความมันคงเหนือควมร่วมมือทางเศราฐกิจและการอยู่รวมกันอย่างสัติ และปราศจกอคติชาตินิยม ช่วยส่งเสริมการดำเนินงานเพื่อสร้างเขตการต้าเสรี และตลดร่วมยุโรปแบบไร้พรมแดน
               2. การส่งเสริมให้เห็นควมสำคัญของพรมแดนในฐานะที่เป้นที่มาแห่งโอกาสทั้งทางเศาฐกิจ และการศึกษา วัฒนธรมเหนือมของอียู ชี้ให้เห็นว่าองค์การที่เป้นการบูรณาการระดับภูมิภาคนั้นมีความสำคัญยอย่างย่ิงในการนำควมเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกมาสู่ภูมิภาค ดังนั้นอาเซียนซึ่งเป็นกระบวนการบูรณาการภูมิภาคเช่น กันคงต้องให้ความสำคัญกับประเด็นนี้
               3. ปัจจุบันในสหภาพยุโรปมีหน่วยงานสองหน่วยงานที่พยายามสร้างฐนข้อมูลอิเลดทรอนิกส์เกี่ยวกับเขตแดน พรมแดนในสหภาพยุโรปทั้งส่วนที่เกี่ยวกับความเป็นมาในประวัติศาตร์ กฎหมาย และอื่นๆ เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงหากเกิดความสับสนในกาบริหารงาของหน่วยงานรัฐบาลในประเทศต่างๆ และามบริเวณชาแดน รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับช่วยในกรวงแผนสร้างความร่วมมือข้ามพรมแดน ไม่ว่าจะเป็นด้าสาธารณสุขหรือการช่วยเหลือเกี่ยวกับสาธารณภัย
               การสร้างฐนข้อมูลที่มีความโปร่งใส รวมทั้งการทำให้ฐานข้อมูลด้านต่างๆ เกี่ยวกับเขตแดนและเนื้อที่เปิดเผยต่อสธารณชนอย่างกว้างขวงเป็นอีกหนทางหน่งที่ทำให้เขตแดนไม่ใช่เรื่องศักดิ์สิทธิ์และไม่ถูกนำไปใช้เพื่อผลประโยชน์ทางการเมืองของนักการเมือง
             
 - ภาษา ความทรงจำ ประวัติศาสตร์และการสร้างคนรุ่นใหม่สำหรับอาเซียน
                 คนรุ่นสงครามโลกครั้งี่ 2 ในยุโรปเป็นคนรุ่นที่ต้องการให้เกิดการบูรณาการทางการเมืองและเศรษฐกิจที่เกิดการข้ามพรมแดนใภาคส่วนต่างๆ ของสังคม เพื่อให้เกิดสันติภาพที่ถาวร ครุ่นต่อๆ มาได้รับการสร้างให้มความเป็นยุโรปด้วยการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมของเพือ้าน ด้วยการที่อียูสร้างโรงเรียนและสร้างโครงการแลกเปลี่ยน ที่ทำให้นักเรียนนกศึกษาทั่วยุโรปเดินทางไปศกึกษาและเรียนภาษาของประเทศเพื่อนบ้าน นอกจากนี้มีการสร้างสภาบันการศึกาาวิจัยะดับสูง ที่ฟลอเรซื อิตาลี สร้าง่มาตรฐานทางการศึกษาของสหภาพยุโรปที่ทำให้เกิดการสร้างการวิจัยแลการศึกษาที่เข้แข็ง นักเรียน นิสิตนักศึกษาสามารถย้ายไปเรียนตามสถานศึกษาในประเทศเพือบ้านในอียูได้ะดวกขึ้น
                  อียูจริงจังกับการสร้้างมาตรฐาความรู้ทางภาษาภายใอียูเอง ซึ่งสิ่งเหล่านี้ยังไม่เกิดใอาเซียน ส่วนประเทศไทยการสอนภาษาไทยเป็นภษาต่างประเทศ เกิดขึ้นอย่างไม่เป็นระบบนัก มีโรงเรียนเอกชนหน่วยงาสังกัดอฝค์กรคริสตจักรในประเทศไทย โรเรียนเอกชน ละคณะมุษยศาสร์ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ รวมทั้งที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ เร่ิมทำไปบ้างแล้ว รวมทั้งสร้งมาตรฐานการวัดความรู้ภาษาไทยของชาวต่างชาติ แต่โดยภาพรวมยังเป็นแขนงการเรียนภาที่ยังไม่เป็นระบบเนื่องจากขาดพจนานุกรมที่มีคุณภาพ ขาดการพัฒนาการเรียนการสอนท่เป้นระบบ และขาดตำราเรียน
                  บาดแผลที่ฝังในความทรงจำทางสังคมและทางประวัติศาสตร์เป็นสิ่งที่ประเทศสมาชิกอียูดูเหมือนจะก้าวข้าไปได้ แต่ใอาเวียนเองเรื่องนี้ยังเป็นเรื่งอที่ต้องสร้างองค์ความรู้ใหม่ โดยเฉพาะในประเทศไทยที่การสอประวัติศาต์ไทยยังคงมีลักษณะปิดตัวเอง ไม่มองพัฒนการสังคมว่าไทยเป็สวนหนึ่งของสังคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสังคมโลก การเปิดประเด็นการศึกษาประวัติศาตร์ไทยนอกเหนือประวัติศาสตร์ชาติและการักชาติยังอยู่นสภาวะที่ต้องบุกเิกต่อไป แลสภาพสงคมที่เสรีภาพทางวิชกรและเสรีภาพทางการแสดงความคิดเห็นไม่เปิดกว้างการสร้างความรู้ประวัติศสตร์อืนๆ นอกเหนือจกประวัติศาสตร์บาดแผนเป็นเรื่องที่ยังท้าทายประเทไทยและอาเซียนไปพร้อมๆ กัน
                การเตรียมความพร้อมในการสร้างความร่วมมือ
                - ด้านมรกดวัฒนธรมและความร่วมมือข้ามพรมแดนอื่นๆ
                   ประสบการณ์จากอียูชีว่าการสร้างความร่วมือด้านพรมแดนในเชิงปฏิบัตินั้นเกี่ยวพันกับสองเรื่องใหญ่ คือ การประสางาและทำงานร่วมกันของหย่วยงาของรฐบาลระหว่างประเทศและมใช้เวลานาน ประเทศในสหภาพยุโรปบางประเทศมีท้งที่เป็แบบกระจายอำนาจให้กับรัฐบาลท้องถ่ิน เช่น เยอรมนี และมีทั้งที่เป็นลักษณะแบบรวมศูนย์ เช่น โปแลนด์ การมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของหน่วยงานรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับความร่วมมือข้ามพรมแดนที่ต้องการทำั้นเป็นส่ิงสำคัญเนหื่องจกช่ยลดระยะยเวลในการดำเนินงาร และสามารถสร้างความเขาใจใการทำงานร่วมกันได้ดียิ่งขึน
                  อีกประการหนึ่งคือ การ่วมมือข้ามพรมแดนที่เกิดภายใต้กรอบโครงของการบูรณาการระดับภูมิภาอย่างอียูนั้น การปกครองที่มีลักษณะกระจาอำนาการตัดินใจเกี่ยวกับกิจการท้องถ่นให้กับรัฐบาลท้องถ่ินนัถือเป็นหัจจัยเชิงบวกที่ทำให้ควาทร่วมือเกิดขึ้นได้และมีความรวดเร้ซ รวมทั้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้คนในท้องถ่ินมากกว่าการปกครองที่มีการรวมศูนย์ แตประเทศที่มีการปกครองแบบรวมศูนย์นี้สามารถเป็นปัจจัยเชิงบวกได้เช่นกัน หากรัฐบาของประเทศนั้นมีวิสัยทัศน์และมีความจริงใจในการสร้างความรวมมือข้ามพมแดนเพื่อให้ประเทศของตนได้รับประโยชน์อย่งเต็มที่จากากรบูรณาการภุมิภาค
                   
                            มรดกวัฒนธรรมข้ามพรมแดน ข้อคิดจกสหภาพยุโรปถึงอาเซียน, มรกต เจวจินดา ไมยเออร์, คณะสังคมศาตร์ ม.ศรีนครินทรวิโรฒ.
           

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Chanson de Roland

City of God (St. Augustine)

Republik Indonesia I (The Kingdom)